SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
บทเรียนที่๒
วัฒนธรรม ประเพณี ตำบลนำงแล
วัฒนธรรม ประเพณี ตำบลนำงแล
 วิถีชีวิตของตำบลนำงแลมี 2 กลุ่มใหญ่ คือ วิถีชีวิตชำวพื้นเมือง และวิถีชีวิตชนเผ่ำ (ลำหู่ อำ
ข่ำ) โดยภำพรวม วิถีชีวิตของชำวพื้นเมือง ยังดำเนินชีวิตตำมแบบล้ำนนำ ยังคงมีกำรสืบ
ทอด อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีงำม ตลอดปี เช่นกัน ประเพณีสืบชะตำแม่น้ำนำงแล
บวงสรวงผำลำดรอยวัว อันเป็นตำนำน ต้นกำเนิดของตำบลนำงแล โดยจัดขึ้นในวันแรม 8
ค่ำ เดือน 8 เหนือ (รำวเดือนพฤษภำคม) มีกิจกรรมกำรขอฝน จุดบ้องไฟ ซึ่งเกิดจำกควำม
เชื่อดั้งเดิม ให้ทุกปีมีฝนฟ้ ำตกต้องตำมฤดูกำล เดิมมีแต่ประเพณีผำลำดรอยวัว ยังไม่มีกำร
สืบชะตำแม่น้ำนำงแล เพิ่งมำเริ่มเมือปี 2548 โดยแกนนำของสภำวัฒนธรรมตำบล นำยบุญ
ส่ง มะโนยศ นำยดวงดี ปริมำและนำยไพรทิพย์ ปริมำ ซึ่งได้ไปศึกษำดูงำนกำรสืบชะตำ
แม่น้ำจัน อ.แม่จัน จ.เชียงรำย และได้ของบประมำณเพิ่มเติมไปยังอบต.นำงแล ซึ่งแต่เดิม
สนับสนุนแต่ประเพณีผำลำดรอยวัว ไม่มีกำรสืบชะตำแม่น้ำนำงแล
 พิธีบวงสรวง ผำลำดรอยวัว จะเริ่มก่อน
วันงำน 1 หนึ่ง คิอ ต้องมีกำรบนบำน
สำนกล่ำวเจ้ำแม่นำงแล ด้วยเครื่องลวง
สรวง ได้แก่ หัวหมู ไก่ อำหำรคำว
หวำน โดยแม่น้ำนำงแล ถือเป็นแม่น้ำที่
มีคุณประโยชน์ต่อชำวตำบลนำงแลมำก
เพรำะไหลผ่ำนกว่ำ 10 หมู่บ้ำน ได้แก่
หมู่ที่ 1-9 , หมู่ที่ 11 หมู่ที่ 14 มีจุดกักน้ำ
3 จุด ได้แก่ อ่ำงเก็บน้ำหนองป่ำยำง ป่ำ
รวก – ป่ำอ้อ ร่องปลำค้ำว
 วัตถุประสงค์ของกำรจัดงำน
1. เพื่อเป็นกำรระลึกถึงคุณของแม่น้ำที่ให้ประโยชน์ต่อชุมชนตลอดปี
2. เพื่ออนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมให้ผู้มีส่วนใช้น้ำได้ตระหนักถึง
ควำมสำคัญและประโยชน์ของน้ำ ตลอดจนเพื่อคืนควำมสมดุลให้แก่ระบบนิเวศป่ำ
ไม้และแม่น้ำ
3. เพื่อสืบทอดและรักษำขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่นและภูมิปัญญำ ในกำร
อนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม แบบผสมผสำนคนกับธรรมชำติ
4. เพิ่มควำมรัก สำมัคคีในหมู่ชุมชนท้องถิ่น
 พิธีสืบชะตำแม่น้ำนำงแล วันแรก
ช่วงเช้ำ ผู้ใช้น้ำทุกหมู่บ้ำนใน
ตำบลร่วมกันพัฒนำลำน้ำนำงแล
พิธี เชิญพระอุปคุต พิธีเชิญเทพย
ดำ(ขึ้นท้ำวทั้งสี่) พิธีบนบำน เจ้ำ
แม่นำงแล
 วันที่สอง ขบวนแห่ ของประชำชนทุกหมู่เหล่ำ โดยเริ่มตั้งขบวน ณ ลำนหนองป่ำยำง
ขบวนแห่ประกอบไปด้วยเครื่องสักกำระ ไทยทำน ละเครื่องเซ่นไหว้ประกอบพิธีสืบ
ชะตำโดยพ่ออำจำรย์ มีกำรรำถวำยแม่พระคงคำ ประธำนกล่ำวโองกำรเชิญน้ำ ตักน้ำ
ขบวนแห่เชิญน้ำเข้ำสู่พิธี พระสงฆ์จำนวน 9 รูป สวดสืบชะตำ ประธำนพร้อม
ผู้ร่วมงำนปล่อยสัตว์น้ำ สัตว์บก พระสงฆ์สวดชัยมงคล ถวำยไทยทำนแด่พระสงฆ์
พระสงฆ์อนุโมทนำ ถวำยภัตตำหำรเพลแด่พระสงฆ์ ผู้ร่วมงำนรับประทำนอำหำร
ร่วมกัน ช่วงบ่ำย มีกำรแสดงมหรสพ มีกำรแข่งขันบั้งไฟ มีกำรมอบเงินรำงวัลแก่ผู้
ชนะเลิศ รองชนะเลิศ และชมเชย
 นอกจำก ประเพณีผำลำดรอยวัว และพิธีสืบชะตำแม่น้ำนำงแลข้ำงต้นแล้ว ตำบลนำงแล
ยังสืบทอดประเพณีอันดีงำมอื่นๆอีกเช่น ประเพณีเลี้ยงผีขุนน้ำ ซึ่งจะทำพิธีในวันถัดมำ
จำกพิธีสืบชะตำแม่น้ำนำงแล ผู้ประกอบพิธี คือ ผู้เฒ่ำผู้แก่และชำวนำผู้ใช้น้ำในตำบล
นำเครื่องเซ่นไหว้มำถวำนเพื่อให้มีน้ำใช้ตลอดฤดูกำลทำนำ
 ประเพณี เลี้ยงผีปู่ย่ำ จะจัดช่วงขึ้น 9 ค่ำเดือน 9 เหนือ รำวเดือนพฤษภำคม โดยแต่ละ
ครอบครัว บ้ำนต้นตระกูล จะมีผู้สืบทอดผีเรือน เป็นผู้ประกอบพิธี โดยมีลูกหลำน ของ
ตระกูลนั้นๆเข้ำร่วมพิธี โดยกำรนำไก่จำนวน 1 คู่ พร้อมข่ำวสุก ดอกไม้ธูปเทียน มำ
เซ่นไหว้บวงสรวงหน้ำศำลผีปู่ย่ำ
 ประเพณีรดน้ำดำหัวปี๋ใหม่เมือง ช่วงวันที่
13-15 เมษำยน ของทุกปี หรือ รำวเดือน 7
เหนือ ซึ่งเป็นประเพณีของชำวล้ำนนำที่สืบ
ทอดกันมำ เพื่อแสดงให้เห็นถึงควำม
กตัญญูรู้คุณรู้จักสูมำคำรวะญำติผู้ใหญ่ ซึ่ง
ลูกหลำนจะเตรียมดอกไม้ธูปเทียน น้ำขมิ้น
ส้มป่ อยไปรดน้ำดำหัวผู้สูงอำยุหรือญำติ
ผู้ใหญ่ โดยส่วนใหญ่จะไปหลังจำกกำรไป
ทำบุญในวันที่ 15 เมษำยน (วันพญำวัน)
นับเป็นจำรีตประเพณีที่สำคัญของชำว
ล้ำนนำ โดยช่วงนี้ลูกหลำนจะกลับมำเยี่ยม
บ้ำนครอบครัวอยู่พร้อมหน้ำ ส่งเสริมควำม
รัก ควำมอบอุ่นในหมู่เครือญำติได้เป็น
อย่ำงดี
 อนึ่ง บ้ำนลิไข่ ซึ่งเป็นหมู่บ้ำนบริวำนของ
หมู่ที่ 7 บ้ำนนำงแลใน มีชนเผ่ำลำหู่ และ
เผ่ำอำข่ำ ซึ่งมีอยู่ประมำณ 80 ครอบครัว
ประชำกรประมำณ 220 คน มีประเพณีของ
ชำวลำหู่ที่สำคัญ คือ ประเพณีกินวอ(ขึ้นปี
ใหม่) ซึ่งองค์กำรบริหำรส่วนตำบลนำงแล
ได้ให้กำรสนับสนุน กำรจัดงำนประเพณี
ของชำวพื้นเมืองและชนเผ่ำตลอดปี
การจัดประเพณี พิธีกรรมประจาปี ของตาบลนางแล
เดือน ประเพณี รายละเอียด
7(เหนือ)
พฤษภาคม
สงกรำนต์รดน้ำดำหัว -ถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ของชำวล้ำนนำมี 4 วัน ได้แก่ วัน
สังขำรล่อง(วันที่ 13) วันเนำ(วันที่ 14)วันพญำวัน(วันที่
15)วันปำกปี(วันที่ 16)
สืบชะตำหมู่บ้ำน คือ กำรต่อชะตำให้หมู่บ้ำนมีอำยุยืนนำน นิยมทำในช่วง
ปีใหม่สงกรำนต์ หรือทำเมื่อเกิดเรื่องร้ำยเรื่องที่ไม่ดีไม่
เป็นมงคลกับหมู่บ้ำน
8(เหนือ)
พฤษภาคม
ผำลำดรอยวัว กำรสังเวยเซ่นไหว้ผีแห่งต้นน้ำลำธำร ก่อนที่จะเข้ำสู่ฤดู
ทำนำ ชำวบ้ำนที่มีส่วนใช้น้ำจำกต้นน้ำเดียวกัน แม่น้ำ
นำงแล จะประกอบพิธีกรรมบวงสรวง เจ้ำแม่นำงแล และ
เลี้ยงผีขุนน้ำ ณ ผำลำดรอยวัว เพื่อให้ผีขุนน้ำได้ช่วยดูแล
ให้มีน้ำหล่อเลี้ยงข้ำวกล้ำตลอดฤดูทำนำ ช่วยให้ข้ำวอุดม
สมบูรณ์ และอย่ำได้เกิดภัยใดๆ ในกำรทำนำ
จิบอกไฟ ก่อนที่จะมีกำรทำนำ จะจุดบั้งไฟ เพื่อบูชำเทวดำที่ชื่อ
ปัชชุน คือเทวดำแห่งฝน เพื่อเป็นกำรขอฝนให้ตกต้อง
ตำมฤดูกำล เชื่อว่ำฝันจะตกหรือตกมำกตกน้อยขึ้นอยู่
กับเทวดำองค์นี้
8(เหนือ)
พฤษภาคม
เลี้ยงผีปู่ย่ำ มีกำรนำเครื่องสักกำระ เช่น ไก่ เหล้ำ หรือข้ำว ปลำ
อำหำร ไปสังเวยแก่ผีปู่ย่ำที่หอหรือศำลประจำตระกูล
เพื่อผีปู่ย่ำจะได้คุ้มครองให้ลูกหลำน อยู่ดี มีสุขตลอดไป
10(เหนือ)
กรกฏาคม
ถวำยเทียนเข้ำพรรษำ ชำวบ้ำนจะนำขี้ผึ้งมำรวมกัน แล้วช่วยกันทำเทียนถวำย
เป็นเทียนประจำพรรษำ เพื่อจุดเป็นพุทธบูชำ ธรรมบูชำ
สังฆบูชำ นิยมถวำยช่วงเข้ำพรรษำ เพรำะพระสงฆ์ต้อง
อยู่จำพรรษำในวัด ต้องใช้แสงสว่ำงในกำรทำวัตรสวด
มนต์และศึกษำพระธรรมวินัยทุกคืน
11(เหนือ)
สิงหาคม
ประเพณีโล้ชิงช้ำ(อำข่ำ) จัดขึ้นประมำณปลำยเดือนสิงหำคมถึงต้นกันยำยน
เป็นงำนฉลองผลิตผล ทำงกำรเกษตรและถือได้ว่ำ
เป็นสัญลักษณ์ ประเพณีของผู้หญิง
12(เหนือ)
กันยายน
สิบสองเป็ง เป็นประเพณีทำนหำคนตำย ถือกันว่ำช่วง วันขึ้น 1ค่ำ
ถึงวันแรก 14ค่ำ เดือน 12 เหนือ เชื่อว่ำ เป็นช่วงที่
พญำยมรำชได้ปล่อยวิญญำณผู้ตำยกลับมำสู่เมือง
มนุษย์เพื่อมำขอรับส่วนบุญจำกญำติพี่น้องลูกหลำน
ตำนก๋วยสลำก กำรตำนก๋วยสลำก หรือ สลำกภัตร จะเริ่มในรำววัน
เพ็ญเดือน 12 เหนือและสิ้นสุดเอำในเดือน เกี๋ยงดับ
(เดือนตุลำคม) มีกำรเรียน “เส้นสลำก” ผู้เป็นเจ้ำของ
ก๋วยสลำก จะต้องเอำใบลำนหรือ กระดำษมำตัดเป็น
แผ่นยำวๆ จำรึกชื่อเจ้ำของไว้และบอกด้วยว่ำอุทิศ
ส่วนกุศลนั้นให้ใครบ้ำง
1(เกี๋ยง)
ตุลำคม
ออกพรรษำ
เทศน์มหำชำติ
ชำวบ้ำนจะเตรียมข้ำวปลำอำหำรตั้งแต่วันขึ้น 14ค่ำ
เพื่อนำไปทำนขัยข้ำวอุทิศให้ญำติที่ล่วงลับไปและ
ทุกคนจะต้องเอำข้ำวปลำอำหำรไปทำบุญรวมกันที่
วัด เพรำะเชื่อกันว่ำเมื่อเข้ำพรรษำแล้วก็ต้องไปออก
พรรษำ
นอกจำกนี้ ยังมีประเพณีเทศน์มหำชำติ หมำยถึง
กำรฟังพระธรรมเทศนำเรื่องใหญ่หรือเรื่องสำคัญ
โดยธรรมหลวงที่มักใช้เทศน์ คือ กัณฑ์ เวสสันดร
ชำดก อันเป็นพระชำติสุดท้ำยของพระโพธิสัตว์
ก่อนจะได้มำ ประสูติแล้ว ตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้ำ
ในชำติต่อมำ ซึ่งมีทั้งหมด 13 กัณฑ์
2(ยี่)
พฤศจิกายน
ยี่เป็ง(ลอยกระทง) มีกำรประดับประดำวัดวำอำรำมบ้ำนเรือน ด้วย
ประทีปโคมไฟ โคมระย้ำ ทำอุบะดอกไม้ไปถวำยวัด
ทำซุ้มประตูป่ำด้วยต้นกล้วย อ้อยก้ำนมะพร้ำว เตรียม
ข้ำวปลำอำหำร และขนมต่ำงๆ ไปทำบุญบำงแห่งมี
พิธีกวนข้ำวมธุปำยำสหรือบ้ำงเรียน ข้ำวพระเจ้ำ
หลวง ถวำยเป็นพุทธบูชำในตอนเช้ำมืดของวันเพ็ญ
เดือน 12
3(เหนือ)
ธันวาคม
ปีใหม่ลูกข่ำง(อำข่ำ) ปีใหม่ลูกข่ำง ถือเป็นประเพณีของผู้ชำย จะมีกำรทำ
ลูกข่ำงมำแข่งตีกัน เพื่อฉลอง กำรเปลี่ยนแปลงวัยที่มี
อำยุมำกขึ้น
4(เหนือ)
มกราคม
ตำนข้ำวใหม่ เมื่อนำข้ำวเปลือกจำกทุ่งนำขึ้นเก็บในยุ้งฉำงแล้วชำวบ้ำน
จะตำข้ำวที่ได้จำกกำรเก็บเกี่ยวในปีนั้นไปทำบุญถวำย
พระสงฆ์ที่วัด พร้อมทั้งอำหำรใส่กรวยดอกไม้ธูปเทียน น้ำ
สำหรับกรวด หมำกพลู เมี่ยง บุหรี่ ข้ำวเหนียวนึ่ง แกงหรือ
ข้ำวจี่ ข้ำวหลำม
-เผ่ำลำหู่ ก็มีประเพณีตำนข้ำวใหม่ เช่นกัน โดยแต่ละบ้ำน
จะนำผลผลิต ที่เพำะปลูกไว้ในไร่นั้นๆ นำมำทำอำหำรแล้ว
มำนั่งกินด้วยกัน ส่วนมำกจะจัดในช่วง ตุลำคม –
พฤศจิกำยน
กินวอ(ปีใหม่ ลำหู่) ชำวลำหู่ เชื่อกันว่ำเป็นกำรบูชำสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเป็นกำร
บูชำเทวรำชอื่อซำที่ได้ช่วยดลบันดำลให้พวกเขำมีผลผลิต
จำกไร่ สวน ไว้สำหรับบริโภคตลอดปี และช่วยปกปัก
รักษำให้พวกเขำอยู่เย็นเป็นสุขตลอดไป
 อนึ่ง วัฒนธรรมประเพณีข้ำงต้น ล้วนมำจำกควำมเชื่อ ควำมศรัทธำใน 2 เรื่องที่
เกี่ยวข้องกับควำมเชื่อเรื่องผีและควำมเชื่อทำงพระพุทธศำสนำ ซึ่งนำย อุดม เรืองศรี ได้
อธิบำยไว้
 1.ความเชื่อเรื่องผี ควำมเชื่อเรื่องผีนี้มีมำนำนแล้ว นอกจำกจะเชื่อเรื่องวิญญำณหลัง
ควำมตำยแล้ว ยังเชื่อในเรื่องผีว่ำมีอยู่ 2 ประเภท คือ ผีดี และผีร้ำย ผีดี คือ ผีที่ถูกเรียกว่ำ
“ผีปู่ย่ำ” ผีบ้ำนผีเมือง (ผีที่คอยดูแลรักษำบ้ำนเมือง) ผีเสื้อวัด (อำรักษ์วัด) ผีครอบครัว
และชุมชน จึงได้รับกำรปกป้ องดูแลรักษำ ส่วนผีร้ำยนั้น มักหมำยถึงผีที่เป็นวิญญำณ
เร่ร่อนตำมที่ต่ำงๆ ตำยแล้วไม่ได้ไปผุดเกิด ซึ่งอำจทำร้ำยผู้คนให้เกิดควำมเจ็บป่วยได้
โดยเฉพำะผู้ที่ไม่ล่วงเกินโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ ทั้งนี้ หำกมีกำรล่วงเกินผีทั้ง 2 ประเภท
แล้ว จะต้องไหว้ผีหรือเลี้ยงผี คือกำรเซ่นไหว้ด้วยข้ำวปลำอำหำรตำมที่มีกำรกำหนดกัน
ไว้เช่น เซ่นด้วยเหล้ำ 1 ไห ไก่ 1 คู่ เป็นต้น
 2.ความเชื่อทางพุทธศาสนา เช่น ควำมเชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว
ควำมเชื่อบำป บุญคุณโทษ ควำมเชื่อเรื่องชำติภพ ควำมเชื่อเรื่องนรกสวรรค์ เป็นต้น
โดยมีกำรผสมผสำนควำมเชื่อแบบศำสนำพรำหมณ์รวมอยู่ด้วย เช่น ควำมเชื่อเรื่องเทพ
เทวดำ พระอินทร์ พระพรหมท้ำวจตุโลกบำลผู้รักษำทิศทั้งสี่ เป็นต้น ซึ่งเห็นได้จำกเมื่อ
มีกำรประกอบพิธีกรรมใดๆก็ตำมเมื่อมีกำรกล่ำวถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์แล้ว
มักจะมีกล่ำวถึงเทพเทวดำต่ำงๆด้วย

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (17)

Establiment 1
Establiment 1Establiment 1
Establiment 1
 
Lisseth mariana agudelo mantilla
Lisseth mariana agudelo mantillaLisseth mariana agudelo mantilla
Lisseth mariana agudelo mantilla
 
Fundamento Hardware - Aula 006
Fundamento Hardware - Aula 006Fundamento Hardware - Aula 006
Fundamento Hardware - Aula 006
 
1
11
1
 
Sociales 5 ap
Sociales 5 apSociales 5 ap
Sociales 5 ap
 
Glenda orduz actividad1_mapa_c
Glenda orduz actividad1_mapa_cGlenda orduz actividad1_mapa_c
Glenda orduz actividad1_mapa_c
 
013 tessalonicenses 2º
013 tessalonicenses 2º013 tessalonicenses 2º
013 tessalonicenses 2º
 
Apresentação slides interagindo com as ti cs leni
Apresentação slides interagindo com as ti cs leniApresentação slides interagindo com as ti cs leni
Apresentação slides interagindo com as ti cs leni
 
Expressionismo
ExpressionismoExpressionismo
Expressionismo
 
Processadores de rede (2)
Processadores de rede (2)Processadores de rede (2)
Processadores de rede (2)
 
Sem título 1
Sem título 1Sem título 1
Sem título 1
 
004 joao
004 joao004 joao
004 joao
 
019 tiago
019 tiago019 tiago
019 tiago
 
Task 2
Task 2Task 2
Task 2
 
Presentación de Luz Anexo 3
Presentación de Luz Anexo 3Presentación de Luz Anexo 3
Presentación de Luz Anexo 3
 
Professor de aee
Professor de aeeProfessor de aee
Professor de aee
 
BPM Made Easy - 2. Tornar o BPM fácil e acessível
BPM Made Easy - 2. Tornar o BPM fácil e acessívelBPM Made Easy - 2. Tornar o BPM fácil e acessível
BPM Made Easy - 2. Tornar o BPM fácil e acessível
 

Similar to บทเรียนที่๒

โครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคโครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคWalk4Fun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคWalk4Fun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคWalk4Fun
 
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...tie_weeraphon
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...tie_weeraphon
 
บทเรียนที่๑
บทเรียนที่๑บทเรียนที่๑
บทเรียนที่๑jutby
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกweeraboon wisartsakul
 
ประเพณี สงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์ประเพณี สงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์rungthiphotmail
 
ประเพณี สงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์ประเพณี สงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์rungthiphotmail
 
ประเพณี สงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์ประเพณี สงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์rungthiphotmail
 
ตำนานวันแม่
ตำนานวันแม่ตำนานวันแม่
ตำนานวันแม่niralai
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนThammasat University
 
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์Maname Wispy Lbe
 

Similar to บทเรียนที่๒ (20)

Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
โครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคโครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาค
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
 
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
 
บทเรียนที่๑
บทเรียนที่๑บทเรียนที่๑
บทเรียนที่๑
 
ฮารีรายอ
ฮารีรายอฮารีรายอ
ฮารีรายอ
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรก
 
ประเพณี สงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์ประเพณี สงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์
 
ประเพณี สงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์ประเพณี สงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์
 
ประเพณี สงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์ประเพณี สงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์
 
ตำนานวันแม่
ตำนานวันแม่ตำนานวันแม่
ตำนานวันแม่
 
Heet+sib+song
Heet+sib+songHeet+sib+song
Heet+sib+song
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
 
4
44
4
 
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
 

บทเรียนที่๒

  • 2. วัฒนธรรม ประเพณี ตำบลนำงแล  วิถีชีวิตของตำบลนำงแลมี 2 กลุ่มใหญ่ คือ วิถีชีวิตชำวพื้นเมือง และวิถีชีวิตชนเผ่ำ (ลำหู่ อำ ข่ำ) โดยภำพรวม วิถีชีวิตของชำวพื้นเมือง ยังดำเนินชีวิตตำมแบบล้ำนนำ ยังคงมีกำรสืบ ทอด อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีงำม ตลอดปี เช่นกัน ประเพณีสืบชะตำแม่น้ำนำงแล บวงสรวงผำลำดรอยวัว อันเป็นตำนำน ต้นกำเนิดของตำบลนำงแล โดยจัดขึ้นในวันแรม 8 ค่ำ เดือน 8 เหนือ (รำวเดือนพฤษภำคม) มีกิจกรรมกำรขอฝน จุดบ้องไฟ ซึ่งเกิดจำกควำม เชื่อดั้งเดิม ให้ทุกปีมีฝนฟ้ ำตกต้องตำมฤดูกำล เดิมมีแต่ประเพณีผำลำดรอยวัว ยังไม่มีกำร สืบชะตำแม่น้ำนำงแล เพิ่งมำเริ่มเมือปี 2548 โดยแกนนำของสภำวัฒนธรรมตำบล นำยบุญ ส่ง มะโนยศ นำยดวงดี ปริมำและนำยไพรทิพย์ ปริมำ ซึ่งได้ไปศึกษำดูงำนกำรสืบชะตำ แม่น้ำจัน อ.แม่จัน จ.เชียงรำย และได้ของบประมำณเพิ่มเติมไปยังอบต.นำงแล ซึ่งแต่เดิม สนับสนุนแต่ประเพณีผำลำดรอยวัว ไม่มีกำรสืบชะตำแม่น้ำนำงแล
  • 3.  พิธีบวงสรวง ผำลำดรอยวัว จะเริ่มก่อน วันงำน 1 หนึ่ง คิอ ต้องมีกำรบนบำน สำนกล่ำวเจ้ำแม่นำงแล ด้วยเครื่องลวง สรวง ได้แก่ หัวหมู ไก่ อำหำรคำว หวำน โดยแม่น้ำนำงแล ถือเป็นแม่น้ำที่ มีคุณประโยชน์ต่อชำวตำบลนำงแลมำก เพรำะไหลผ่ำนกว่ำ 10 หมู่บ้ำน ได้แก่ หมู่ที่ 1-9 , หมู่ที่ 11 หมู่ที่ 14 มีจุดกักน้ำ 3 จุด ได้แก่ อ่ำงเก็บน้ำหนองป่ำยำง ป่ำ รวก – ป่ำอ้อ ร่องปลำค้ำว
  • 4.  วัตถุประสงค์ของกำรจัดงำน 1. เพื่อเป็นกำรระลึกถึงคุณของแม่น้ำที่ให้ประโยชน์ต่อชุมชนตลอดปี 2. เพื่ออนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมให้ผู้มีส่วนใช้น้ำได้ตระหนักถึง ควำมสำคัญและประโยชน์ของน้ำ ตลอดจนเพื่อคืนควำมสมดุลให้แก่ระบบนิเวศป่ำ ไม้และแม่น้ำ 3. เพื่อสืบทอดและรักษำขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่นและภูมิปัญญำ ในกำร อนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม แบบผสมผสำนคนกับธรรมชำติ 4. เพิ่มควำมรัก สำมัคคีในหมู่ชุมชนท้องถิ่น
  • 5.  พิธีสืบชะตำแม่น้ำนำงแล วันแรก ช่วงเช้ำ ผู้ใช้น้ำทุกหมู่บ้ำนใน ตำบลร่วมกันพัฒนำลำน้ำนำงแล พิธี เชิญพระอุปคุต พิธีเชิญเทพย ดำ(ขึ้นท้ำวทั้งสี่) พิธีบนบำน เจ้ำ แม่นำงแล
  • 6.  วันที่สอง ขบวนแห่ ของประชำชนทุกหมู่เหล่ำ โดยเริ่มตั้งขบวน ณ ลำนหนองป่ำยำง ขบวนแห่ประกอบไปด้วยเครื่องสักกำระ ไทยทำน ละเครื่องเซ่นไหว้ประกอบพิธีสืบ ชะตำโดยพ่ออำจำรย์ มีกำรรำถวำยแม่พระคงคำ ประธำนกล่ำวโองกำรเชิญน้ำ ตักน้ำ ขบวนแห่เชิญน้ำเข้ำสู่พิธี พระสงฆ์จำนวน 9 รูป สวดสืบชะตำ ประธำนพร้อม ผู้ร่วมงำนปล่อยสัตว์น้ำ สัตว์บก พระสงฆ์สวดชัยมงคล ถวำยไทยทำนแด่พระสงฆ์ พระสงฆ์อนุโมทนำ ถวำยภัตตำหำรเพลแด่พระสงฆ์ ผู้ร่วมงำนรับประทำนอำหำร ร่วมกัน ช่วงบ่ำย มีกำรแสดงมหรสพ มีกำรแข่งขันบั้งไฟ มีกำรมอบเงินรำงวัลแก่ผู้ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ และชมเชย
  • 7.  นอกจำก ประเพณีผำลำดรอยวัว และพิธีสืบชะตำแม่น้ำนำงแลข้ำงต้นแล้ว ตำบลนำงแล ยังสืบทอดประเพณีอันดีงำมอื่นๆอีกเช่น ประเพณีเลี้ยงผีขุนน้ำ ซึ่งจะทำพิธีในวันถัดมำ จำกพิธีสืบชะตำแม่น้ำนำงแล ผู้ประกอบพิธี คือ ผู้เฒ่ำผู้แก่และชำวนำผู้ใช้น้ำในตำบล นำเครื่องเซ่นไหว้มำถวำนเพื่อให้มีน้ำใช้ตลอดฤดูกำลทำนำ  ประเพณี เลี้ยงผีปู่ย่ำ จะจัดช่วงขึ้น 9 ค่ำเดือน 9 เหนือ รำวเดือนพฤษภำคม โดยแต่ละ ครอบครัว บ้ำนต้นตระกูล จะมีผู้สืบทอดผีเรือน เป็นผู้ประกอบพิธี โดยมีลูกหลำน ของ ตระกูลนั้นๆเข้ำร่วมพิธี โดยกำรนำไก่จำนวน 1 คู่ พร้อมข่ำวสุก ดอกไม้ธูปเทียน มำ เซ่นไหว้บวงสรวงหน้ำศำลผีปู่ย่ำ
  • 8.  ประเพณีรดน้ำดำหัวปี๋ใหม่เมือง ช่วงวันที่ 13-15 เมษำยน ของทุกปี หรือ รำวเดือน 7 เหนือ ซึ่งเป็นประเพณีของชำวล้ำนนำที่สืบ ทอดกันมำ เพื่อแสดงให้เห็นถึงควำม กตัญญูรู้คุณรู้จักสูมำคำรวะญำติผู้ใหญ่ ซึ่ง ลูกหลำนจะเตรียมดอกไม้ธูปเทียน น้ำขมิ้น ส้มป่ อยไปรดน้ำดำหัวผู้สูงอำยุหรือญำติ ผู้ใหญ่ โดยส่วนใหญ่จะไปหลังจำกกำรไป ทำบุญในวันที่ 15 เมษำยน (วันพญำวัน) นับเป็นจำรีตประเพณีที่สำคัญของชำว ล้ำนนำ โดยช่วงนี้ลูกหลำนจะกลับมำเยี่ยม บ้ำนครอบครัวอยู่พร้อมหน้ำ ส่งเสริมควำม รัก ควำมอบอุ่นในหมู่เครือญำติได้เป็น อย่ำงดี
  • 9.  อนึ่ง บ้ำนลิไข่ ซึ่งเป็นหมู่บ้ำนบริวำนของ หมู่ที่ 7 บ้ำนนำงแลใน มีชนเผ่ำลำหู่ และ เผ่ำอำข่ำ ซึ่งมีอยู่ประมำณ 80 ครอบครัว ประชำกรประมำณ 220 คน มีประเพณีของ ชำวลำหู่ที่สำคัญ คือ ประเพณีกินวอ(ขึ้นปี ใหม่) ซึ่งองค์กำรบริหำรส่วนตำบลนำงแล ได้ให้กำรสนับสนุน กำรจัดงำนประเพณี ของชำวพื้นเมืองและชนเผ่ำตลอดปี
  • 10. การจัดประเพณี พิธีกรรมประจาปี ของตาบลนางแล เดือน ประเพณี รายละเอียด 7(เหนือ) พฤษภาคม สงกรำนต์รดน้ำดำหัว -ถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ของชำวล้ำนนำมี 4 วัน ได้แก่ วัน สังขำรล่อง(วันที่ 13) วันเนำ(วันที่ 14)วันพญำวัน(วันที่ 15)วันปำกปี(วันที่ 16) สืบชะตำหมู่บ้ำน คือ กำรต่อชะตำให้หมู่บ้ำนมีอำยุยืนนำน นิยมทำในช่วง ปีใหม่สงกรำนต์ หรือทำเมื่อเกิดเรื่องร้ำยเรื่องที่ไม่ดีไม่ เป็นมงคลกับหมู่บ้ำน 8(เหนือ) พฤษภาคม ผำลำดรอยวัว กำรสังเวยเซ่นไหว้ผีแห่งต้นน้ำลำธำร ก่อนที่จะเข้ำสู่ฤดู ทำนำ ชำวบ้ำนที่มีส่วนใช้น้ำจำกต้นน้ำเดียวกัน แม่น้ำ นำงแล จะประกอบพิธีกรรมบวงสรวง เจ้ำแม่นำงแล และ เลี้ยงผีขุนน้ำ ณ ผำลำดรอยวัว เพื่อให้ผีขุนน้ำได้ช่วยดูแล ให้มีน้ำหล่อเลี้ยงข้ำวกล้ำตลอดฤดูทำนำ ช่วยให้ข้ำวอุดม สมบูรณ์ และอย่ำได้เกิดภัยใดๆ ในกำรทำนำ
  • 11. จิบอกไฟ ก่อนที่จะมีกำรทำนำ จะจุดบั้งไฟ เพื่อบูชำเทวดำที่ชื่อ ปัชชุน คือเทวดำแห่งฝน เพื่อเป็นกำรขอฝนให้ตกต้อง ตำมฤดูกำล เชื่อว่ำฝันจะตกหรือตกมำกตกน้อยขึ้นอยู่ กับเทวดำองค์นี้ 8(เหนือ) พฤษภาคม เลี้ยงผีปู่ย่ำ มีกำรนำเครื่องสักกำระ เช่น ไก่ เหล้ำ หรือข้ำว ปลำ อำหำร ไปสังเวยแก่ผีปู่ย่ำที่หอหรือศำลประจำตระกูล เพื่อผีปู่ย่ำจะได้คุ้มครองให้ลูกหลำน อยู่ดี มีสุขตลอดไป 10(เหนือ) กรกฏาคม ถวำยเทียนเข้ำพรรษำ ชำวบ้ำนจะนำขี้ผึ้งมำรวมกัน แล้วช่วยกันทำเทียนถวำย เป็นเทียนประจำพรรษำ เพื่อจุดเป็นพุทธบูชำ ธรรมบูชำ สังฆบูชำ นิยมถวำยช่วงเข้ำพรรษำ เพรำะพระสงฆ์ต้อง อยู่จำพรรษำในวัด ต้องใช้แสงสว่ำงในกำรทำวัตรสวด มนต์และศึกษำพระธรรมวินัยทุกคืน
  • 12. 11(เหนือ) สิงหาคม ประเพณีโล้ชิงช้ำ(อำข่ำ) จัดขึ้นประมำณปลำยเดือนสิงหำคมถึงต้นกันยำยน เป็นงำนฉลองผลิตผล ทำงกำรเกษตรและถือได้ว่ำ เป็นสัญลักษณ์ ประเพณีของผู้หญิง 12(เหนือ) กันยายน สิบสองเป็ง เป็นประเพณีทำนหำคนตำย ถือกันว่ำช่วง วันขึ้น 1ค่ำ ถึงวันแรก 14ค่ำ เดือน 12 เหนือ เชื่อว่ำ เป็นช่วงที่ พญำยมรำชได้ปล่อยวิญญำณผู้ตำยกลับมำสู่เมือง มนุษย์เพื่อมำขอรับส่วนบุญจำกญำติพี่น้องลูกหลำน ตำนก๋วยสลำก กำรตำนก๋วยสลำก หรือ สลำกภัตร จะเริ่มในรำววัน เพ็ญเดือน 12 เหนือและสิ้นสุดเอำในเดือน เกี๋ยงดับ (เดือนตุลำคม) มีกำรเรียน “เส้นสลำก” ผู้เป็นเจ้ำของ ก๋วยสลำก จะต้องเอำใบลำนหรือ กระดำษมำตัดเป็น แผ่นยำวๆ จำรึกชื่อเจ้ำของไว้และบอกด้วยว่ำอุทิศ ส่วนกุศลนั้นให้ใครบ้ำง
  • 13. 1(เกี๋ยง) ตุลำคม ออกพรรษำ เทศน์มหำชำติ ชำวบ้ำนจะเตรียมข้ำวปลำอำหำรตั้งแต่วันขึ้น 14ค่ำ เพื่อนำไปทำนขัยข้ำวอุทิศให้ญำติที่ล่วงลับไปและ ทุกคนจะต้องเอำข้ำวปลำอำหำรไปทำบุญรวมกันที่ วัด เพรำะเชื่อกันว่ำเมื่อเข้ำพรรษำแล้วก็ต้องไปออก พรรษำ นอกจำกนี้ ยังมีประเพณีเทศน์มหำชำติ หมำยถึง กำรฟังพระธรรมเทศนำเรื่องใหญ่หรือเรื่องสำคัญ โดยธรรมหลวงที่มักใช้เทศน์ คือ กัณฑ์ เวสสันดร ชำดก อันเป็นพระชำติสุดท้ำยของพระโพธิสัตว์ ก่อนจะได้มำ ประสูติแล้ว ตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้ำ ในชำติต่อมำ ซึ่งมีทั้งหมด 13 กัณฑ์
  • 14. 2(ยี่) พฤศจิกายน ยี่เป็ง(ลอยกระทง) มีกำรประดับประดำวัดวำอำรำมบ้ำนเรือน ด้วย ประทีปโคมไฟ โคมระย้ำ ทำอุบะดอกไม้ไปถวำยวัด ทำซุ้มประตูป่ำด้วยต้นกล้วย อ้อยก้ำนมะพร้ำว เตรียม ข้ำวปลำอำหำร และขนมต่ำงๆ ไปทำบุญบำงแห่งมี พิธีกวนข้ำวมธุปำยำสหรือบ้ำงเรียน ข้ำวพระเจ้ำ หลวง ถวำยเป็นพุทธบูชำในตอนเช้ำมืดของวันเพ็ญ เดือน 12 3(เหนือ) ธันวาคม ปีใหม่ลูกข่ำง(อำข่ำ) ปีใหม่ลูกข่ำง ถือเป็นประเพณีของผู้ชำย จะมีกำรทำ ลูกข่ำงมำแข่งตีกัน เพื่อฉลอง กำรเปลี่ยนแปลงวัยที่มี อำยุมำกขึ้น
  • 15. 4(เหนือ) มกราคม ตำนข้ำวใหม่ เมื่อนำข้ำวเปลือกจำกทุ่งนำขึ้นเก็บในยุ้งฉำงแล้วชำวบ้ำน จะตำข้ำวที่ได้จำกกำรเก็บเกี่ยวในปีนั้นไปทำบุญถวำย พระสงฆ์ที่วัด พร้อมทั้งอำหำรใส่กรวยดอกไม้ธูปเทียน น้ำ สำหรับกรวด หมำกพลู เมี่ยง บุหรี่ ข้ำวเหนียวนึ่ง แกงหรือ ข้ำวจี่ ข้ำวหลำม -เผ่ำลำหู่ ก็มีประเพณีตำนข้ำวใหม่ เช่นกัน โดยแต่ละบ้ำน จะนำผลผลิต ที่เพำะปลูกไว้ในไร่นั้นๆ นำมำทำอำหำรแล้ว มำนั่งกินด้วยกัน ส่วนมำกจะจัดในช่วง ตุลำคม – พฤศจิกำยน กินวอ(ปีใหม่ ลำหู่) ชำวลำหู่ เชื่อกันว่ำเป็นกำรบูชำสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเป็นกำร บูชำเทวรำชอื่อซำที่ได้ช่วยดลบันดำลให้พวกเขำมีผลผลิต จำกไร่ สวน ไว้สำหรับบริโภคตลอดปี และช่วยปกปัก รักษำให้พวกเขำอยู่เย็นเป็นสุขตลอดไป
  • 16.  อนึ่ง วัฒนธรรมประเพณีข้ำงต้น ล้วนมำจำกควำมเชื่อ ควำมศรัทธำใน 2 เรื่องที่ เกี่ยวข้องกับควำมเชื่อเรื่องผีและควำมเชื่อทำงพระพุทธศำสนำ ซึ่งนำย อุดม เรืองศรี ได้ อธิบำยไว้  1.ความเชื่อเรื่องผี ควำมเชื่อเรื่องผีนี้มีมำนำนแล้ว นอกจำกจะเชื่อเรื่องวิญญำณหลัง ควำมตำยแล้ว ยังเชื่อในเรื่องผีว่ำมีอยู่ 2 ประเภท คือ ผีดี และผีร้ำย ผีดี คือ ผีที่ถูกเรียกว่ำ “ผีปู่ย่ำ” ผีบ้ำนผีเมือง (ผีที่คอยดูแลรักษำบ้ำนเมือง) ผีเสื้อวัด (อำรักษ์วัด) ผีครอบครัว และชุมชน จึงได้รับกำรปกป้ องดูแลรักษำ ส่วนผีร้ำยนั้น มักหมำยถึงผีที่เป็นวิญญำณ เร่ร่อนตำมที่ต่ำงๆ ตำยแล้วไม่ได้ไปผุดเกิด ซึ่งอำจทำร้ำยผู้คนให้เกิดควำมเจ็บป่วยได้ โดยเฉพำะผู้ที่ไม่ล่วงเกินโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ ทั้งนี้ หำกมีกำรล่วงเกินผีทั้ง 2 ประเภท แล้ว จะต้องไหว้ผีหรือเลี้ยงผี คือกำรเซ่นไหว้ด้วยข้ำวปลำอำหำรตำมที่มีกำรกำหนดกัน ไว้เช่น เซ่นด้วยเหล้ำ 1 ไห ไก่ 1 คู่ เป็นต้น
  • 17.  2.ความเชื่อทางพุทธศาสนา เช่น ควำมเชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ควำมเชื่อบำป บุญคุณโทษ ควำมเชื่อเรื่องชำติภพ ควำมเชื่อเรื่องนรกสวรรค์ เป็นต้น โดยมีกำรผสมผสำนควำมเชื่อแบบศำสนำพรำหมณ์รวมอยู่ด้วย เช่น ควำมเชื่อเรื่องเทพ เทวดำ พระอินทร์ พระพรหมท้ำวจตุโลกบำลผู้รักษำทิศทั้งสี่ เป็นต้น ซึ่งเห็นได้จำกเมื่อ มีกำรประกอบพิธีกรรมใดๆก็ตำมเมื่อมีกำรกล่ำวถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์แล้ว มักจะมีกล่ำวถึงเทพเทวดำต่ำงๆด้วย