SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
Presentation วันลอยกระทง
ประเพณีวนลอยกระทงของแต่ ละภาค
ั
โดย
นางสาว นพรรษมล บุญเพชร
รหัส 5421302216 สาขาวิชา
ออกแบบประยุกต์ศิลป์
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ประวัตความเป็ นมาของวันลอยกระทง
ิ
ประเพณี ลอยกระทงนั้น ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชดว่าเริ่ มตั้งแต่เมื่อใด แต่เชื่อว่าประเพณี น้ ี
ั
ได้สืบต่อกันมายาวนานตั้งแต่สมัยสุ โขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุนรามคําแหง เรี ยกประเพณี ลอย
่
กระทงนี้วา "พิธีจองเปรียญ" หรือ "การลอยพระประทีป" และมีหลักฐานจากศิลาจารึ กหลักที่ 1
กล่าวถึงงานเผาเทียนเล่นไฟว่าเป็ นงานรื่ นเริ งที่ใหญ่ที่สุดของกรุ งสุ โขทัย ทําให้เชื่อกันว่างาน
ดังกล่าวน่าจะเป็ นงานลอยกระทงอย่างแน่นอน
ในสมัยก่อนนั้นพิธีลอยกระทงจะเป็ นการลอยโคม โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
่ ั
เจ้าอยูหว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสันนิษฐานว่า พิธีลอยกระทงเป็ นพิธีของพราหมณ์ จัดขึ้นเพื่อบูชา
เทพเจ้า 3 องค์ คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้นาพระพุทธศาสนาเข้าไป
ํ
เกี่ยวข้อง จึงให้มีการชักโคม เพื่อบูชาพระบรมสารี ริกธาตุ และลอยโคมเพื่อบูชารอยพระบาทของ
พระพุทธเจ้า
ก่อนที่นางนพมาศ หรื อ ท้าวศรี จุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่ วงจะคิดค้นประดิษฐ์กระทง
่
ดอกบัวขึ้นเป็ นคนแรกแทนการลอยโคม ดังปรากฏในหนังสื อนางนพมาศที่วา
"ครั้ นวันเพ็ญเดือน 12 ข้าน้อยได้กระทําโคมลอย คิดตกแต่งให้งามประหลาดกว่าโคมสนม
กํานัลทั้งปวงจึงเลือกผกาเกษรสี ต่าง ๆ มาประดับเป็ นรู ปกระมุทกลีบบานรับแสงจันทร์ใหญ่
ประมาณเท่ากงระแทะ ล้วนแต่พรรณดอกไม้ซอนสี สลับให้เป็ นลวดลาย..."
้
เมื่อสมเด็จพระร่ วงเจ้าได้เสด็จฯ ทางชลมารค ทอดพระเนตรกระทงของนางนพมาศก็ทรง
พอพระราชหฤทัย จึงโปรดให้ถือเป็ นเยียงอย่าง และให้จดประเพณี ลอยกระทงขึ้นเป็ นประจําทุกปี
่
ั
่
โดยให้ใช้กระทงดอกบัวแทนโคมลอย ดังพระราชดํารัสที่วา "ตั้ งแต่น้ ีสืบไปเบื้องหน้า โดยลําดับ
กษัตริ ยในสยามประเทศถึงกาลกําหนดนักขัตฤกษ์วนเพ็ญเดือน 12 ให้ทาโคมลอยเป็ นรู ปดอกบัว
์
ั
ํ
อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเท่ากัลปาวสาน" พิธีลอยกระทงจึงเปลี่ยนรู ปแบบ
ตั้งแต่น้ นเป็ นต้นมา
ั
ประเพณี ลอยกระทงสื บต่อกันเรื่ อยมา จนถึงกรุ งรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น สมัยรัชกาลที่ 1 ถึง
รัชกาลที่ 3 พระบรมวงศานุวงศ์ตลอดจนขุนนางนิยมประดิษฐ์กระทงใหญ่เพื่อประกวดประชันกัน
ซึ่งต้องใช้แรงคนและเงินจํานวนมาก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงเห็นว่ า
เป็ นการสิ้นเปลือง จึงโปรดให้ ยกเลิกการประดิษฐ์ กระทงใหญ่ แข่ งขัน และโปรดให้ พระบรมวงศานุ
วงศ์ ทาเรือลอยประทีปถวายองค์ ละลําแทนกระทงใหญ่ และเรียกชื่อว่ า "เรือลอยประทีป" ต่อมาใน
ํ
รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ได้ทรงฟื้ นฟูพระราชพิธีน้ ีข้ ึนมาอีกครั้ง ปั จจุบนการลอยพระประทีป
ั
่ ั
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงกระทําเป็ นการส่ วนพระองค์ตามพระราชอัธยาศัย
เหตุผลและความเชื่อของการลอยกระทง
สาเหตุที่มีประเพณี ลอยกระทงขึ้นนั้น เกิดจากความเชื่อหลาย ๆ ประการของแต่ละท้องที่ ได้แก่
1.เพือแสดงความสํ านึกถึงบุญคุณของแม่ นําทีให้ เราได้ อาศัยนํากิน นําใช้ ตลอดจนเป็ นการขอ
่
้ ่
้
้
ขมาต่อพระแม่คงคา ที่ได้ทิ้งสิ่ งปฏิกลต่าง ๆ ลงไปในนํ้า อันเป็ นสาเหตุให้แหล่งนํ้าไม่สะอาด
ู
2.เพือเป็ นการสั กการะรอยพระพุทธบาทนัมมทานที เมื่อคราวที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปแสดง
่
ธรรมโปรดในนาคพิภพ และได้ทรงประทับรอยพระบาทไว้บนหาดทรายแม่น้ านัมมทานที ซึ่งเป็ น
ํ
่
แม่น้ าสายหนึ่งอยูในแคว้นทักขิณาบถของประเทศอินเดีย ปั จจุบนเรี ยกว่าแม่น้ าเนรพุทท
ํ
ั
ํ
3.เพือเป็ นการสะเดาะเคราะห์ เพราะการลอยกระทงเปรี ยบเหมือนการลอยความทุกข์ ความ
่
โศกเศร้า โรคภัยไข้เจ็บ และสิ่ งไม่ดีต่าง ๆ ให้ลอยตามแม่น้ าไปกับกระทง คล้ายกับพิธีลอยบาปของ
ํ
พราหมณ์
4.เพือเป็ นการบูชาพระอุปคุต ที่ชาวไทยภาคเหนือให้ความเคารพ ซึ่งบําเพ็ญ
่
่
เพียรบริ กรรมคาถาอยูในท้องทะเลลึกหรื อสะดือทะเล โดยมีตานานเล่าว่าพระ
ํ
อุปคุตเป็ นพระมหาเถระรู ปหนึ่งที่มีอิทธิฤทธิ์มาก สามารถปราบพญามารได้
5.เพือรักษาขนบธรรมเนียมของไทยไว้มให้ สูญหายไปตามกาลเวลา และยัง
่
ิ
เป็ นการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
6.เพือความบันเทิงเริงใจ เนื่องจากการลอยกระทงเป็ นการนัดพบปะสังสรรค์
่
กันในหมู่ผไปร่ วมงาน
ู้
7.เพือส่ งเสริมงานฝี มือและความคิดสร้ างสรรค์ เพราะเมื่อมีเทศกาลลอย
่
กระทง มักจะมีการประกวดกระทงแข่งกัน ทําให้ผเู้ ข้าร่ วมได้เกิดความคิด
แปลกใหม่ และยังรักษาภูมิปัญญาพื้นบ้านไว้อีกด้วย
ประเพณีลอยกระทงในแต่ ละภาค
ภาคเหนือ
จังหวัดเชียงใหม่

ภาคเหนือ จะเรี ยกประเพณี ลอยกระทงว่า "ยีเ่ ป็ ง" อันหมายถึงการทําบุญในวัน
เพ็ญเดือนยี่ (เดือนยีถานับตามล้านนาจะตรงกับเดือนสิ บสองในแบบไทย) โดยชาวเหนือ
่ ้
จะนิยมประดิษฐ์โคมลอย หรื อที่เรี ยกว่า "ว่าวฮม" หรื อ "ว่าวควัน" โดยการใช้ผาบางๆ
้
แล้วสุ มควันข้างใต้ ให้โคมลอยขึ้นไปในอากาศ เพื่อเป็ นการบูชาพระอุปคุตต์ ซึ่งเชื่อกัน
่
ว่าท่านบําเพ็ญบริ กรรมคาถาอยูในท้องทะเลลึก หรื อสะดือทะเล ตรงกับคติของชาวพม่า
จังหวัดตาก

ประเพณี สาย ไหลประทีปพันดวง หรื อ การลอยกระทงสาย ถือเป็ น ประเพณี ของ
ชาวเมืองตากที่นาวิถีชีวตของบรรพชนมาผสมผสานเข้ากับความเชื่อ และหลัก
ํ
ิ
่
ศาสนา ชาวเมืองตากจะมีถ่ินอาศัยอยูบริ เวณริ มฝั่งแม่น้ าปิ ง วิถีชีวตของชาวตากจึงมีความ
ํ
ิ
ผูกพันกับสายนํ้าที่เปรี ยบเสมือนสายโลหิ ตที่หล่อ เลี้ยงชาวเมืองตากมานานหลายชัวอายุคน
่
ก่อให้เกิดประเพณี ที่แสดงออกถึงความกตัญ�ูในคืนวันเพ็ญเดือนสิ บสองชาวเมืองตากได้
จัดให้มีการขึ้น ประเพณี สาย ไหลประทีปพันดวง เกิดจากการร่ วมมือร่ วมใจของชาวบ้าน
ในหมู่บานเป็ นความเชื่อในการจัดทํากระทงนําไปลอย เพื่อบูชารอยพระพุทธบาทของ
้
พระพุทธเจ้า อีกทั้งยังเป็ นการลอยทุกข์โศกโรคภัยให้พนไปจากตนเอง และขอขมาที่ได้
้
อาศัยแม่น้ าและทิ้งของเสี ย ถ่ายเทสิ่ งปฏิกลลงแม่น้ าปิ ง
ํ
ู
ํ
จังหวัดสุ โขทัย

เป็ นอีกหนึ่งจังหวัดที่มีชื่อเสี ยงในเรื่ องประเพณี ลอยกระทง ด้วยความเป็ นจังหวัดต้น
กําเนิดของประเพณี น้ ี โดยการจัดงาน ลอยกระทงเผาเทียนเล่ นไฟ ที่จงหวัดสุ โขทัยถูกฟื้ นฟู
ั
กลับมาอีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ.2520 ซึ่งจําลองบรรยากาศงานมาจากงานลอยกระทงสมัยกรุ ง
สุ โขทัย และหลังจากนั้นก็มีการจัดงานลอยกระทงเผาเทียนเล่นไฟขึ้นที่จงหวัดสุ โขทัยทุก ๆ
ั
ปี มีท้ งการจัดขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุตะไล และไฟพะเนียง
ั
ประเพณีลอยกระทงภาคอีสาน
จังหวัดนครพนม

จังหวัดนครพนม จะตกแต่งเรื อแล้วประดับไฟ เป็ นรู ปต่างๆ เรี ยกว่า
“ไหลเรื อไฟ “โดยเฉพาะที่จงหวัดนครพนม เพราะมีความงดงามและอลังการที่สุด
ั
ในภาคอีสาน
ประเพณีลอยกระทงภาคกลาง
การลอยกระทงของภาคกลางซึ่ งเป็ นที่มาของการลอยกระทงที่นิยมปฏิบติกนทั้งประเทศ
ั ั
นั้น มีหลักฐานว่าในสมัยกรุ งศรี อยุธยาเป็ นราชธานีมีพระราชพิธี “จองเปรี ยงลดชุดลอยโคม”
่
ในสมัยรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุ งรัตนโกสิ นทร์เรี ยกพิธีน้ ีวา “ลอยพระประทีปกระทง” เนื่องจากโปรด
ให้ทาเป็ นกระทงใหญ่ บนแพหยวกกล้วย ตกแต่งอย่างวิจิตรพิศดารประกวดประชันกัน แต่ใน
ํ
รัชกาลต่อมาก็โปรดให้เปลี่ยนกลับเป็ นเรื อลอยพระประทีปแบบสมัยอยุธยา ในสมัยพระสมเด็จ
่ ั
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว รัชกาลที่ ๖ โปรดให้เลิก พิธีน้ ีเสี ยเพราะเห็นว่าเป็ นการสิ้ นเปลือง
กระทงของภาคกลางมี ๒ ประเภทคือ
กระทงแบบพุทธ
เป็ นกระทงที่ประดิษฐ์ดวยวัสดุธรรมชาติ เช่น ใบตอง ใบกระบือ ก้านพลับพลึง ใบโกศล หรื อ
้
่
วัสดุธรรมชาติที่หาได้ตามท้องถิ่นและประดับด้วยดอกไม้สดต่างๆ ภายในกระทงจะตั้งพุมทอง
่
น้อย ถ้ากระทงใหญ่จะใช้ ๓ พุม กระทงเล็กใช้พมเดียวและธูปไม้ระกํา ๑ ดอก เทียน ๑ เล่ม และ
ุ่
วัสดุต่างๆตามความเชื่อของคนในท้องถิ่น
กระทงแบบพราหมณ์
วิธีการทําเช่นเดียวกับการทํากระทงแบบพุทธ จะแตกต่างกัน คือไม่ มีเครื่ องทองน้อย บางท้องถิ่น
จะมีการใส่ หมากพลู เงินเหรี ยญ หรื อตัดเส้นผมเล็บมือ เล็บเท้า เพื่อเป็ นการสะเดาะเคราะห์ไปใน
ตัว เป็ นพิธีความเชื่อของผูที่นบถือศาสนาพรามณ์
้ ั
ประเพณีลอยกระทงของภาคใต้

การลอยกระทงของชาวใต้ส่วนใหญ่นาเอาหยวกมาทําเป็ นแพบรรจุเครื่ องอาหาร
ํ
ํ
แล้วลอยไปแต่มีขอน่าสังเกตคือ การลอยกระทงทางภาคใต้ ไม่ มีกาหนดว่าเป็ น
้
กลางเดือน ๑๒ หรื อเดือน ๑๑ ดังกล่าวแล้ว แต่จะลอยเมื่อมีโรคภัยไข้เจ็บ เพื่อให้หาย
โรคภัยไข้เจ็บที่ตนเป็ นอยู่ เป็ นการลอยเพื่อสะเดาะเคราะห์การตกแต่งเรื อหรื อแพลอย
เคราะห์ จะมีการแทงหยวก เป็ นลวดลายสวยงามประดับด้วยธงทิว ภายในบรรจุดอกไม้
ธูปเทียน เงินและเสบียงต่างๆ ตามความเชื่อของคนในท้องถิ่น
กิจกรรมวันลอยกระทง
ประกวดทํากระทง
ขอบคุณทุกคนทีรับชม
่
พบกันใหม่ โอกาสหน้ าค่ ะ ^^

More Related Content

Viewers also liked

ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทงpakamon
 
เรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงเรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงSasimapornnan
 
เสริมทักษะพัฒนาการอาณาจักรสุโขทัย+568+55t2his p04 f03-1page
เสริมทักษะพัฒนาการอาณาจักรสุโขทัย+568+55t2his p04 f03-1pageเสริมทักษะพัฒนาการอาณาจักรสุโขทัย+568+55t2his p04 f03-1page
เสริมทักษะพัฒนาการอาณาจักรสุโขทัย+568+55t2his p04 f03-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ประวัติการลอยกระทงบับ
ประวัติการลอยกระทงบับประวัติการลอยกระทงบับ
ประวัติการลอยกระทงบับNattapon1990
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Fangky's Chutintorn
 
วันลอยกระทง12 16
วันลอยกระทง12 16วันลอยกระทง12 16
วันลอยกระทง12 16krutitirut
 

Viewers also liked (6)

ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทง
 
เรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงเรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทง
 
เสริมทักษะพัฒนาการอาณาจักรสุโขทัย+568+55t2his p04 f03-1page
เสริมทักษะพัฒนาการอาณาจักรสุโขทัย+568+55t2his p04 f03-1pageเสริมทักษะพัฒนาการอาณาจักรสุโขทัย+568+55t2his p04 f03-1page
เสริมทักษะพัฒนาการอาณาจักรสุโขทัย+568+55t2his p04 f03-1page
 
ประวัติการลอยกระทงบับ
ประวัติการลอยกระทงบับประวัติการลอยกระทงบับ
ประวัติการลอยกระทงบับ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
วันลอยกระทง12 16
วันลอยกระทง12 16วันลอยกระทง12 16
วันลอยกระทง12 16
 

Similar to วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์

ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมsupreedada
 
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทงประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทงPloy Wanida
 
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทงโครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทงSuvimol Lhuangpraditkul
 
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทงโครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทงSuvimol Lhuangpraditkul
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทงโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทงchanaporn sornnuwat
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนThammasat University
 
ไอเอสสส 5 บททท เสร จละ ใหม่ๆๆๆ ทำให้เสร็จ
ไอเอสสส 5 บททท เสร จละ ใหม่ๆๆๆ ทำให้เสร็จไอเอสสส 5 บททท เสร จละ ใหม่ๆๆๆ ทำให้เสร็จ
ไอเอสสส 5 บททท เสร จละ ใหม่ๆๆๆ ทำให้เสร็จSasiyada Promsuban
 
ตำนานบั้งไฟพญานาค
ตำนานบั้งไฟพญานาคตำนานบั้งไฟพญานาค
ตำนานบั้งไฟพญานาคNattacha
 
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...tie_weeraphon
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองThammasat University
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทยbabyoam
 
โครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคโครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคWalk4Fun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคWalk4Fun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคWalk4Fun
 

Similar to วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์ (20)

ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
 
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทงประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
 
หลวงพ่อบ้านแหลม
หลวงพ่อบ้านแหลมหลวงพ่อบ้านแหลม
หลวงพ่อบ้านแหลม
 
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทงโครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
 
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทงโครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
 
The Nice Places (1)
The Nice Places (1)The Nice Places (1)
The Nice Places (1)
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทงโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ไอเอสสส 5 บททท เสร จละ ใหม่ๆๆๆ ทำให้เสร็จ
ไอเอสสส 5 บททท เสร จละ ใหม่ๆๆๆ ทำให้เสร็จไอเอสสส 5 บททท เสร จละ ใหม่ๆๆๆ ทำให้เสร็จ
ไอเอสสส 5 บททท เสร จละ ใหม่ๆๆๆ ทำให้เสร็จ
 
ตำนานบั้งไฟพญานาค
ตำนานบั้งไฟพญานาคตำนานบั้งไฟพญานาค
ตำนานบั้งไฟพญานาค
 
loy krathong Festival
loy krathong  Festivalloy krathong  Festival
loy krathong Festival
 
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากอง
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
 
โครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคโครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาค
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 

วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์

  • 1. Presentation วันลอยกระทง ประเพณีวนลอยกระทงของแต่ ละภาค ั โดย นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 สาขาวิชา ออกแบบประยุกต์ศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • 2. ประวัตความเป็ นมาของวันลอยกระทง ิ ประเพณี ลอยกระทงนั้น ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชดว่าเริ่ มตั้งแต่เมื่อใด แต่เชื่อว่าประเพณี น้ ี ั ได้สืบต่อกันมายาวนานตั้งแต่สมัยสุ โขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุนรามคําแหง เรี ยกประเพณี ลอย ่ กระทงนี้วา "พิธีจองเปรียญ" หรือ "การลอยพระประทีป" และมีหลักฐานจากศิลาจารึ กหลักที่ 1 กล่าวถึงงานเผาเทียนเล่นไฟว่าเป็ นงานรื่ นเริ งที่ใหญ่ที่สุดของกรุ งสุ โขทัย ทําให้เชื่อกันว่างาน ดังกล่าวน่าจะเป็ นงานลอยกระทงอย่างแน่นอน ในสมัยก่อนนั้นพิธีลอยกระทงจะเป็ นการลอยโคม โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ่ ั เจ้าอยูหว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสันนิษฐานว่า พิธีลอยกระทงเป็ นพิธีของพราหมณ์ จัดขึ้นเพื่อบูชา เทพเจ้า 3 องค์ คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้นาพระพุทธศาสนาเข้าไป ํ เกี่ยวข้อง จึงให้มีการชักโคม เพื่อบูชาพระบรมสารี ริกธาตุ และลอยโคมเพื่อบูชารอยพระบาทของ พระพุทธเจ้า ก่อนที่นางนพมาศ หรื อ ท้าวศรี จุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่ วงจะคิดค้นประดิษฐ์กระทง ่ ดอกบัวขึ้นเป็ นคนแรกแทนการลอยโคม ดังปรากฏในหนังสื อนางนพมาศที่วา
  • 3. "ครั้ นวันเพ็ญเดือน 12 ข้าน้อยได้กระทําโคมลอย คิดตกแต่งให้งามประหลาดกว่าโคมสนม กํานัลทั้งปวงจึงเลือกผกาเกษรสี ต่าง ๆ มาประดับเป็ นรู ปกระมุทกลีบบานรับแสงจันทร์ใหญ่ ประมาณเท่ากงระแทะ ล้วนแต่พรรณดอกไม้ซอนสี สลับให้เป็ นลวดลาย..." ้ เมื่อสมเด็จพระร่ วงเจ้าได้เสด็จฯ ทางชลมารค ทอดพระเนตรกระทงของนางนพมาศก็ทรง พอพระราชหฤทัย จึงโปรดให้ถือเป็ นเยียงอย่าง และให้จดประเพณี ลอยกระทงขึ้นเป็ นประจําทุกปี ่ ั ่ โดยให้ใช้กระทงดอกบัวแทนโคมลอย ดังพระราชดํารัสที่วา "ตั้ งแต่น้ ีสืบไปเบื้องหน้า โดยลําดับ กษัตริ ยในสยามประเทศถึงกาลกําหนดนักขัตฤกษ์วนเพ็ญเดือน 12 ให้ทาโคมลอยเป็ นรู ปดอกบัว ์ ั ํ อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเท่ากัลปาวสาน" พิธีลอยกระทงจึงเปลี่ยนรู ปแบบ ตั้งแต่น้ นเป็ นต้นมา ั ประเพณี ลอยกระทงสื บต่อกันเรื่ อยมา จนถึงกรุ งรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น สมัยรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 3 พระบรมวงศานุวงศ์ตลอดจนขุนนางนิยมประดิษฐ์กระทงใหญ่เพื่อประกวดประชันกัน ซึ่งต้องใช้แรงคนและเงินจํานวนมาก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงเห็นว่ า เป็ นการสิ้นเปลือง จึงโปรดให้ ยกเลิกการประดิษฐ์ กระทงใหญ่ แข่ งขัน และโปรดให้ พระบรมวงศานุ วงศ์ ทาเรือลอยประทีปถวายองค์ ละลําแทนกระทงใหญ่ และเรียกชื่อว่ า "เรือลอยประทีป" ต่อมาใน ํ รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ได้ทรงฟื้ นฟูพระราชพิธีน้ ีข้ ึนมาอีกครั้ง ปั จจุบนการลอยพระประทีป ั ่ ั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงกระทําเป็ นการส่ วนพระองค์ตามพระราชอัธยาศัย
  • 4. เหตุผลและความเชื่อของการลอยกระทง สาเหตุที่มีประเพณี ลอยกระทงขึ้นนั้น เกิดจากความเชื่อหลาย ๆ ประการของแต่ละท้องที่ ได้แก่ 1.เพือแสดงความสํ านึกถึงบุญคุณของแม่ นําทีให้ เราได้ อาศัยนํากิน นําใช้ ตลอดจนเป็ นการขอ ่ ้ ่ ้ ้ ขมาต่อพระแม่คงคา ที่ได้ทิ้งสิ่ งปฏิกลต่าง ๆ ลงไปในนํ้า อันเป็ นสาเหตุให้แหล่งนํ้าไม่สะอาด ู 2.เพือเป็ นการสั กการะรอยพระพุทธบาทนัมมทานที เมื่อคราวที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปแสดง ่ ธรรมโปรดในนาคพิภพ และได้ทรงประทับรอยพระบาทไว้บนหาดทรายแม่น้ านัมมทานที ซึ่งเป็ น ํ ่ แม่น้ าสายหนึ่งอยูในแคว้นทักขิณาบถของประเทศอินเดีย ปั จจุบนเรี ยกว่าแม่น้ าเนรพุทท ํ ั ํ 3.เพือเป็ นการสะเดาะเคราะห์ เพราะการลอยกระทงเปรี ยบเหมือนการลอยความทุกข์ ความ ่ โศกเศร้า โรคภัยไข้เจ็บ และสิ่ งไม่ดีต่าง ๆ ให้ลอยตามแม่น้ าไปกับกระทง คล้ายกับพิธีลอยบาปของ ํ พราหมณ์
  • 5. 4.เพือเป็ นการบูชาพระอุปคุต ที่ชาวไทยภาคเหนือให้ความเคารพ ซึ่งบําเพ็ญ ่ ่ เพียรบริ กรรมคาถาอยูในท้องทะเลลึกหรื อสะดือทะเล โดยมีตานานเล่าว่าพระ ํ อุปคุตเป็ นพระมหาเถระรู ปหนึ่งที่มีอิทธิฤทธิ์มาก สามารถปราบพญามารได้ 5.เพือรักษาขนบธรรมเนียมของไทยไว้มให้ สูญหายไปตามกาลเวลา และยัง ่ ิ เป็ นการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ 6.เพือความบันเทิงเริงใจ เนื่องจากการลอยกระทงเป็ นการนัดพบปะสังสรรค์ ่ กันในหมู่ผไปร่ วมงาน ู้ 7.เพือส่ งเสริมงานฝี มือและความคิดสร้ างสรรค์ เพราะเมื่อมีเทศกาลลอย ่ กระทง มักจะมีการประกวดกระทงแข่งกัน ทําให้ผเู้ ข้าร่ วมได้เกิดความคิด แปลกใหม่ และยังรักษาภูมิปัญญาพื้นบ้านไว้อีกด้วย
  • 6. ประเพณีลอยกระทงในแต่ ละภาค ภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเหนือ จะเรี ยกประเพณี ลอยกระทงว่า "ยีเ่ ป็ ง" อันหมายถึงการทําบุญในวัน เพ็ญเดือนยี่ (เดือนยีถานับตามล้านนาจะตรงกับเดือนสิ บสองในแบบไทย) โดยชาวเหนือ ่ ้ จะนิยมประดิษฐ์โคมลอย หรื อที่เรี ยกว่า "ว่าวฮม" หรื อ "ว่าวควัน" โดยการใช้ผาบางๆ ้ แล้วสุ มควันข้างใต้ ให้โคมลอยขึ้นไปในอากาศ เพื่อเป็ นการบูชาพระอุปคุตต์ ซึ่งเชื่อกัน ่ ว่าท่านบําเพ็ญบริ กรรมคาถาอยูในท้องทะเลลึก หรื อสะดือทะเล ตรงกับคติของชาวพม่า
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11. จังหวัดตาก ประเพณี สาย ไหลประทีปพันดวง หรื อ การลอยกระทงสาย ถือเป็ น ประเพณี ของ ชาวเมืองตากที่นาวิถีชีวตของบรรพชนมาผสมผสานเข้ากับความเชื่อ และหลัก ํ ิ ่ ศาสนา ชาวเมืองตากจะมีถ่ินอาศัยอยูบริ เวณริ มฝั่งแม่น้ าปิ ง วิถีชีวตของชาวตากจึงมีความ ํ ิ ผูกพันกับสายนํ้าที่เปรี ยบเสมือนสายโลหิ ตที่หล่อ เลี้ยงชาวเมืองตากมานานหลายชัวอายุคน ่ ก่อให้เกิดประเพณี ที่แสดงออกถึงความกตัญ�ูในคืนวันเพ็ญเดือนสิ บสองชาวเมืองตากได้ จัดให้มีการขึ้น ประเพณี สาย ไหลประทีปพันดวง เกิดจากการร่ วมมือร่ วมใจของชาวบ้าน ในหมู่บานเป็ นความเชื่อในการจัดทํากระทงนําไปลอย เพื่อบูชารอยพระพุทธบาทของ ้ พระพุทธเจ้า อีกทั้งยังเป็ นการลอยทุกข์โศกโรคภัยให้พนไปจากตนเอง และขอขมาที่ได้ ้ อาศัยแม่น้ าและทิ้งของเสี ย ถ่ายเทสิ่ งปฏิกลลงแม่น้ าปิ ง ํ ู ํ
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16. จังหวัดสุ โขทัย เป็ นอีกหนึ่งจังหวัดที่มีชื่อเสี ยงในเรื่ องประเพณี ลอยกระทง ด้วยความเป็ นจังหวัดต้น กําเนิดของประเพณี น้ ี โดยการจัดงาน ลอยกระทงเผาเทียนเล่ นไฟ ที่จงหวัดสุ โขทัยถูกฟื้ นฟู ั กลับมาอีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ.2520 ซึ่งจําลองบรรยากาศงานมาจากงานลอยกระทงสมัยกรุ ง สุ โขทัย และหลังจากนั้นก็มีการจัดงานลอยกระทงเผาเทียนเล่นไฟขึ้นที่จงหวัดสุ โขทัยทุก ๆ ั ปี มีท้ งการจัดขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุตะไล และไฟพะเนียง ั
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20. ประเพณีลอยกระทงภาคอีสาน จังหวัดนครพนม จังหวัดนครพนม จะตกแต่งเรื อแล้วประดับไฟ เป็ นรู ปต่างๆ เรี ยกว่า “ไหลเรื อไฟ “โดยเฉพาะที่จงหวัดนครพนม เพราะมีความงดงามและอลังการที่สุด ั ในภาคอีสาน
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25. ประเพณีลอยกระทงภาคกลาง การลอยกระทงของภาคกลางซึ่ งเป็ นที่มาของการลอยกระทงที่นิยมปฏิบติกนทั้งประเทศ ั ั นั้น มีหลักฐานว่าในสมัยกรุ งศรี อยุธยาเป็ นราชธานีมีพระราชพิธี “จองเปรี ยงลดชุดลอยโคม” ่ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุ งรัตนโกสิ นทร์เรี ยกพิธีน้ ีวา “ลอยพระประทีปกระทง” เนื่องจากโปรด ให้ทาเป็ นกระทงใหญ่ บนแพหยวกกล้วย ตกแต่งอย่างวิจิตรพิศดารประกวดประชันกัน แต่ใน ํ รัชกาลต่อมาก็โปรดให้เปลี่ยนกลับเป็ นเรื อลอยพระประทีปแบบสมัยอยุธยา ในสมัยพระสมเด็จ ่ ั พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว รัชกาลที่ ๖ โปรดให้เลิก พิธีน้ ีเสี ยเพราะเห็นว่าเป็ นการสิ้ นเปลือง กระทงของภาคกลางมี ๒ ประเภทคือ กระทงแบบพุทธ เป็ นกระทงที่ประดิษฐ์ดวยวัสดุธรรมชาติ เช่น ใบตอง ใบกระบือ ก้านพลับพลึง ใบโกศล หรื อ ้ ่ วัสดุธรรมชาติที่หาได้ตามท้องถิ่นและประดับด้วยดอกไม้สดต่างๆ ภายในกระทงจะตั้งพุมทอง ่ น้อย ถ้ากระทงใหญ่จะใช้ ๓ พุม กระทงเล็กใช้พมเดียวและธูปไม้ระกํา ๑ ดอก เทียน ๑ เล่ม และ ุ่ วัสดุต่างๆตามความเชื่อของคนในท้องถิ่น กระทงแบบพราหมณ์ วิธีการทําเช่นเดียวกับการทํากระทงแบบพุทธ จะแตกต่างกัน คือไม่ มีเครื่ องทองน้อย บางท้องถิ่น จะมีการใส่ หมากพลู เงินเหรี ยญ หรื อตัดเส้นผมเล็บมือ เล็บเท้า เพื่อเป็ นการสะเดาะเคราะห์ไปใน ตัว เป็ นพิธีความเชื่อของผูที่นบถือศาสนาพรามณ์ ้ ั
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30. ประเพณีลอยกระทงของภาคใต้ การลอยกระทงของชาวใต้ส่วนใหญ่นาเอาหยวกมาทําเป็ นแพบรรจุเครื่ องอาหาร ํ ํ แล้วลอยไปแต่มีขอน่าสังเกตคือ การลอยกระทงทางภาคใต้ ไม่ มีกาหนดว่าเป็ น ้ กลางเดือน ๑๒ หรื อเดือน ๑๑ ดังกล่าวแล้ว แต่จะลอยเมื่อมีโรคภัยไข้เจ็บ เพื่อให้หาย โรคภัยไข้เจ็บที่ตนเป็ นอยู่ เป็ นการลอยเพื่อสะเดาะเคราะห์การตกแต่งเรื อหรื อแพลอย เคราะห์ จะมีการแทงหยวก เป็ นลวดลายสวยงามประดับด้วยธงทิว ภายในบรรจุดอกไม้ ธูปเทียน เงินและเสบียงต่างๆ ตามความเชื่อของคนในท้องถิ่น
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 36.
  • 37.