SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
1
บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจและความสําเร็จในการ
ประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการประเภทธุรกิจร้านยาคุณภาพในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
จันทิมา จตุพรเสถียรกุล
บทคัดย่อ
การวิจัยครังนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาลักษณะ ความสัมพันธ์ และสมการทํานายของความ
สําเร็จในการประกอบการด้วยบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนิน
ธุรกิจ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพในเขตกรุงเทพและปริมณฑล จํานวน 33 ราย
เครืองมือทีใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความ
ชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ และความสําเร็จในการประกอบธุรกิจ สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
คือ ค่าความถี ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์แบบสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลสรุปได้ดังนี
1. ผู้ประกอบการส่วนมากเป็นเพศหญิง (60.6%) อายุ 41 – 60 ปี (30.30%) จบการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี (69.7%) ก่อตังกิจการเอง (90.9%) ใช้เงินลงทุนในการเริมต้นธุรกิจ 1แสน– 1ล้านบาท (75.75%)
มีการวางแผนธุรกิจ (81.8%)โดยระยะเวลาของแผนธุรกิจน้อยกว่าหรือเท่ากับ1 ปี(81.48%) ประสบการณ์
ในการบริหาร ความชํานาญในวิชาชีพอยู่ในระดับค่อนข้างตํา ใช้กลยุทธ์ด้านการวางแผนอย่างสมบูรณ์อยู่
ในระดับสูง กลยุทธ์ด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ การแสวงหาโอกาสและการตังรับอยู่ในระดับค่อนข้าง
สูง บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความเป็นตัวของตัวเอง ความมีนวัตกรรม ความสมําเสมอและใฝ่ใจใน
การเรียนรู้ และใฝ่ใจในความสําเร็จ อยู่ในระดับค่อนข้างสูง ส่วนด้านความก้าวร้าวในการแข่งขันและกล้า
เสียงอยู่ในระดับปานกลาง และมีความสําเร็จในการประกอบธุรกิจอยู่ในระดับสูง
2. ผลพบความสัมพันธ์ทางบวก ดังนี
2.1 บุคลิกด้านความมีนวัตกรรมกับความสําเร็จในการประกอบธุรกิจ
2.2 บุคลิกด้านความมีนวัตกรรมกับกลยุทธ์ด้านการวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์
2.3 บุคลิกด้านความมีนวัตกรรมกับกลยุทธ์ด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ
2.4 บุคลิกด้านความมีนวัตกรรมกับกลยุทธ์ด้านด้านการแสวงหาโอกาส
2.5 บุคลิกด้านความกล้าเสียงกับกลยุทธ์ด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ
2.6 บุคลิกด้านความก้าวร้าวในการแข่งขันกับกลยุทธ์ด้านการตังรับ
2.7 กลยุทธ์ด้านการวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์กับความสําเร็จในการประกอบธุรกิจ
นอกจากนียังพบความสัมพันธ์ทางลบระหว่างบุคลิกด้านความสมําเสมอและใฝ่ใจในการเรียนรู้ กับ
กลยุทธ์ด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ
2
3. ผลการหาสมการทํานายพบว่าบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมเท่านันที
สามารถทํานายความสําเร็จในการประกอบธุรกิจได้14.9 %
บทนํา
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมนับเป็นองค์ประกอบทีสําคัญของระบบเศรษฐกิจโดยมีจํานวนถึง
ประมาณร้อยละ 99 ของธุรกิจทังหมดวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจึงมีบทบาทสําคัญในการเป็นฐาน
รากการพัฒนาทียังยืนเป็นกลไกหลักในการฟืนฟูและเสริมสร้างความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจรวมทังเป็น
กลไกในการแก้ไขปัญหาความยากจนข้อมูลทียืนยันถึงบทบาททางเศรษฐกิจไทยทีสําคัญดังกล่าวได้แก่การ
ก่อให้เกิดการจ้างงานคิดเป็นสัดส่วนถึงกว่าร้อยละ 77 ของการจ้างงานรวมของประเทศบทบาทในการสร้าง
มูลค่าเพิมเฉลียประมาณร้อยละ 39 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศและมีมูลค่าการส่งออกโดยตรง
คิดเป็นสัดส่วนกว่าร้อยละ 29 ของมูลค่าการส่งออกรวมและยืนยันได้ด้วยตัวเลขจํานวนวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อมในปี 2549 ซึงมีจํานวน2,274,525 ราย คิดเป็นร้อยละ99.5 ของจํานวนวิสาหกิจทังประเทศ
และมีการขยายตัวเพิมขึนจากปีทีผ่านมาร้อยละ 1.6 (สํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม,
ออนไลน์, 2554)
ผู้ประกอบการเป็นผู้มีบทบาทสําคัญต่อการดําเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ผู้ประกอบการ คือ บุคคลทีจัดองค์กรและรับผลของความเสียงทางธุรกิจหรือกิจการ บุคคลทีจะเป็น
ผู้ประกอบการ เนืองจากความต้องการความสําเร็จหวังผลกําไรจากการดําเนินงานและความเจริญเติบโต
ทางธุรกิจ เนืองจากสาเหตุดังกล่าวส่งผลให้ผู้ประกอบการพัฒนาทังทางด้านความคิดและพฤติกรรม มีการ
ริเริมปรับเปลียนแนวทางในการจัดการธุรกิจ ( Mergginson, Byrd, and Megginson, 2003, p.11) อย่างไรก็
ตามการจัดการจะประสบความสําเร็จหรือไม่นัน ขึนอยู่กับประสบการณ์และความสามารถในการจัดการ
ของผู้ประกอบการ (Siropolis, 1994)
เฟรเซอ(Frese, 2000) อดีตนายกสมาคมจิตวิทยาประยุกต์นานาชาติ (International Association of
Applied Psychology : IAAP) ได้ทําการศึกษารวบรวมบุคลิกภาพผู้ประกอบการและได้แบ่งบุคลิกภาพ
ผู้ประกอบการไว้6 ลักษณะ คือ ความเป็นตัวของตนเอง (Autonomy Orientation) ความมีนวัตกรรม
(Innovativeness Orientation) ความกล้าเสียง (Risk Taking Orientation) ความแกร่งในการแข่งขัน
(Competitive Aggressiveness Orientation) ความสมําเสมอและความใฝ่ใจในการเรียนรู้ (Stability and
Learning Orientation) และความใฝ่ใจในความสําเร็จ (Achievement Orientation) โดยมีเคราส์ (Krauss,
2005) นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน จากมหาวิทยาลัย Giessen ได้นําแนวคิดนีไปศึกษากับผู้ประกอบการใน
แอฟริกาใต้พบว่าบุคลิกของผู้ประกอบการทัง 6 ประเภท มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดําเนินงานทาง
ธุรกิจ ดังนันจึงเห็นว่าคุณลักษณะของผู้ประกอบการ มีบทบาทสําคัญยิงต่อความสําเร็จของผู้ประกอบการ
3
นอกจากคุณลักษณะของผู้ประกอบการทีก่อให้เกิดความสําเร็จในการดําเนินกิจการแล้ว ยังพบว่า
ภูมิความรู้ความชํานาญ หรือ Human Capital ซึงประกอบไปด้วยระดับการศึกษา ประสบการณ์ในธุรกิจและ
ประสบการณ์ในการบริหาร มีความสําคัญอย่างยิงต่อการเริมต้นดําเนินกิจการ(Rose, Kumer and Yen, 2006
, online) ซึงในปัจจุบันถือว่าเป็นทรัพยากรทีสําคัญของธุรกิจชนิดหนึง นอกเหนือไปจากทรัพยากรทุนทีเป็น
วัตถุสิงของ(Physical Capital Resources) ซึงหมายถึงทรัพยากรทีเป็นสิงของเครืองจักร อุปกรณ์ต่างๆ
โรงงาน รวมถึงเงินทุนของธุรกิจ และทรัพยากรทีเป็นทุนองค์กร (Organization CapitalResources)โดยผล
การศึกษากับผู้ประกอบการในประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่าระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับการเริมต้น
ดําเนินธุรกิจ (Marshell and Oliver, 2005, online) และงานวิจัยทีทําการศึกษาในผู้ประกอบการธุรกิจขนาด
ย่อมในอุตสาหกรรมแม่พิมพ์เหล็กและพลาสติกในประเทศไทยสนับสนุนว่าประสบการณ์ในการบริหารมี
ความสัมพันธ์กับความสําเร็จของธุรกิจ (รณรงค์ศรีจันทรนนท์, 2544)
ในการดําเนินธุรกิจให้ประสบความสําเร็จได้หรือไม่นัน มีปัจจัยทีมีส่วนเกียวข้องอยู่หลายปัจจัย แต่
ปัจจัยหนึงทีมีความสําคัญอย่างมากในการดําเนินธุรกิจให้ประสบความสําเร็จนัน คือ กลยุทธ์ ถือเป็นตัว
ขับเคลือนธุรกิจ เนืองจากองค์กรต้องอาศัยกลยุทธ์เป็นตัวสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันด้านธุรกิจ โดย
กลยุทธ์จะนําเสนอถึงแนวทางทีสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้ในสถานการณ์ทีมีความไม่แน่นอน (Frese,
2000, p.12) ในโลกปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยกลยุทธ์ในเชิงจิตวิทยาทีมักมุ่งเน้นไปทีกลยุทธ์ในการดําเนินงาน
(Strategic Process) ซึงเกียวข้องกับการตัดสินใจกําหนดกลยุทธ์และนํากลยุทธ์ไปใช้ปฏิบัติ โดยกลยุทธ์ใน
การดําเนินงานสามารถจําแนกตามลักษณะการวางแผนและการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ในอนาคตได้4
รูปแบบด้วยกัน ได้แก่ กลยุทธ์การวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์ กลยุทธ์การวางแผนเฉพาะสิงสําคัญกล
ยุทธ์การแสวงหาโอกาสและกลยุทธ์การตังรับ ซึงในแต่ละประเภทก็จะเลือกใช้กลยุทธ์ทีแตกต่างกัน
เพือให้เหมาะสมและมีทิศทางเดียวกันกับธุรกิจของตน
ทรัพยากรมนุษย์ถือเป็นทรัพยากรบุคคลทีสําคัญต่อการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า ประชาชน
ของประเทศจะต้องมีคุณภาพทังทางร่างกาย ความคิด สติปัญญา และความสามารถ การมีคุณภาพทาง
ร่างกายถือเป็นปัจจัยสําคัญอย่างยิงต่อประเทศ เนืองจากหากประชาชนเกิดการเจ็บป่วยหรือเสียชีวิต นัน
หมายความถึงการสูญเสียทรัพยากรทีสําคัญของประเทศ และสุขภาพของประชาชนก็เป็นตัวชีวัดทีแสดงถึง
อัตราการเจริญหรือการพัฒนาประเทศอย่างหนึงด้วย (สํานักงานโครงการพัฒนาร้านยา, ออนไลน์, 2553)
ร้านยาเป็นสถานบริการสุขภาพทีสําคัญในระบบสาธารณสุข เนืองจากสถานทีตังร้านยาตังอยู่
ใกล้ชิดและกระจายตัวในพืนทีต่างๆ โดยเฉพาะในเขตพืนทีชนบททีประชาชนไม่สามารถเข้าถึง
สถานพยาบาลอืนๆได้นอกจากนีร้านยายังเป็นสถานทีปฏิบัติการด้านวิชาชีพทีสําคัญของเภสัชกรหรือเภสัช
กรชุมชน โดยร้านยาเป็นสถานบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ (Primary care) ทีมีความสําคัญต่อประชาชน
และเป็นสถานพยาบาลอันดับแรกทีประชาชนนึกถึงเมือมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ไม่เพียงแต่ทําหน้าทีในการ
กระจายยาเท่านันแต่ยังมีบทบาทสําคัญเปรียบเสมือนเป็น“ ทีพึงด้านสุขภาพของชุมชน” เป็นทางเลือกหนึง
4
ของประชาชนในการใช้บริการเมือมีอาการเจ็บป่วยเบืองต้น (วงการแพทย์ออนไลน์, 2553.) ร้านยามีความ
สะดวกในการใช้บริการ ไม่ต้องเสียเวลาในการรอรับบริการ มีค่าใช้จ่ายจากการใช้บริการทีตํากว่าเมือเทียบ
กับสถานพยาบาลอืนๆ ซึงสอดคล้องกับข้อมูลจากผลการสํารวจเกียวกับอนามัยและสวัสดิการของ
ประชาชนทัวราชอาณาจักร (สํานักงานสถิติแห่งชาติ, 2548-2550)พบว่า ในปี 2548 ประชากรส่วนใหญ่นิยม
ซือยากินเองเมือเจ็บป่วย ร้อยละ20.5 เพิมขึนเป็นร้อยละ 25.1 ในปี 2549 และเพิมสูงขึนเป็นร้อยละ 26.8 ใน
ปี 2550 ซึงเป็นสัดส่วนทีสูงกว่าการไปรับบริการทีสถานพยาบาลอืนๆ เช่น โรงพยาบาลหรือคลินิก
ด้วยเหตุนีสภาเภสัชกรรมและสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขจึงได้
ร่วมกันจัดตังสํานักรับรองมาตรฐานร้านยา โดยมีความมุ่งหมายทีสําคัญในการพัฒนาร้านยา และผลักดันให้
เกิดมาตรฐานร้านยาคุณภาพขึนทังนีเพือยกระดับคุณภาพของการบริการเภสัชกรรมชุมชนให้สูงขึนจากการ
รวบรวมและทบทวนมาตรฐานสากลของประเทศต่างๆร่วมกับร่างมาตรฐานของหน่วยงานทีเกียวข้องใน
ประเทศไทยและการระดมสมองของนักวิชาการกับเภสัชกรรมทัวประเทศ เกิดเป็นมาตรฐานขึนในรูป “ร้าน
ยาคุณภาพ” ตามโครงการของสภาเภสัชกรรม เพือเป็นการรับรองว่าร้านยาทีผ่านการการรับรองเป็นร้านยา
คุณภาพจะให้บริการทางเภสัชกรรมทีมีมาตรฐานเดียวกัน นอกจากนันจะมีการพัฒนาร้านยาให้เป็นหน่วย
บริการหนึงในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในอนาคต (สภาเภสัชกรรม, 2546)
หากร้านยาเข้าร่วมในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าจะทําให้เกิดความร่วมมือในการให้บริการเป็น
เครือข่ายหรือเป็นทีมสุขภาพ มีบทบาทในการดูแลและการจ่ายยาตามอาการของผู้ป่วยสําหรับโรคหรือ
อาการเจ็บป่วยทัวไปบทบาทในการจ่ายยาและทบทวนใบสังยาของแพทย์บทบาทในการจ่ายยาต่อเนืองตาม
ใบสังยาของแพทย์แก่ผู้ป่วยโรคเรือรังและบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพการคัดกรองโรคทีเป็นปัญหา
สาธารณสุข ซึงจะช่วยเพิมการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนในบางพืนทีช่วยพัฒนาด้านคุณภาพของ
การให้บริการและลดภาระทังด้านต้นทุนการคงคลังยาและการให้บริการของบุคลากรในคลินิกหรือ
โรงพยาบาลในเครือข่ายนอกจากนียังก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนในพืนทีให้บริการในการช่วยลด
ภาระค่าใช้จ่ายในการเดินทางและลดระยะเวลาในการรอรับบริการทีโรงพยาบาลหรือหน่วยบริการอีกด้วย
ทําให้การให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้ป่วยมีความสมบูรณ์มากขึนและก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้มีส่วนเกียวข้อง
ทุกภาคส่วน รวมถึงภาพรวมของระบบสาธารณสุข
โดยจํานวนร้านยาคุณภาพเริมมีการขยายตัวในภาคต่างๆของประเทศเพิมมากขึน ซึงทัวประเทศมี
จํานวนร้านยาคุณภาพ358 ร้าน โดยภาคทีมีการกระจายตัวของจํานวนร้านยาคุณภาพมากทีสุด คือ ภาคกลาง
และปริมณฑลทีมีจํานวนร้านยาคุณภาพ 120 ร้าน อาจเนืองจากกรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางความเจริญ
ของประเทศเพียงจุดเดียว โดยเป็นศูนย์รวมของระบบราชการ กิจกรรมการทหาร กิจกรรมพาณิชย์การ
ธนาคาร รวมทังแหล่งทีตังของโรงงานอุตสาหกรรมและกิจการสาธารณูปโภคหลัก ก่อให้เกิดความน่าสนใจ
ทีดึงดูดนักลงทุนและผู้ประกอบการในการลงทุนในเขตพืนทีดังกล่าว ประกอบกับสินค้าประเภทยานันเป็น
สินค้าทีมีความจําเป็น เพราะยาเป็นหนึงในปัจจัย 4 ทีจําเป็นอย่างยิงในชีวิตมนุษย์ธุรกิจร้านยาจึงเป็นอีกหนึง
5
ธุรกิจทีมีความเสียงตํา น่าสนใจสําหรับผู้ทีกําลังมองหาช่องทางการลงทุน ซึงในปัจจุบันนันอาจจะมีจํานวน
ร้านขายยาเป็นจํานวนมาก แต่ดูจากจํานวนร้านยาคุณภาพแล้วมีไม่มากนัก เมือเทียบจากจํานวนร้านยาหลาย
พันแห่งทัวประเทศ
โดยข้อมูลการวิจัยด้านบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนิน
ธุรกิจและความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการจะทําการศึกษาตามแนวทางของ ดร.เฟรเซอ
(Frese, 2000, pp.18-19) แบ่งออกเป็น6 ลักษณะ คือ 1. ลักษณะความเป็นตัวของตัวเอง(Autonomy
Orientation) . ลักษณะความมีนวัตกรรม(Innovativeness Orientation) . ลักษณะความกล้าเสียง(Risk
taking Orientation) . ความก้าวร้าวในการแข่งขัน(Competitive Aggressiveness Orientation) . ลักษณะ
ความสมําเสมอและใฝ่ใจในการเรียนรู้ (Stability and learning Orientation) . ความใฝ่ใจในความสําเร็จ
(Achievement Orientation) สําหรับภูมิความรู้ความชํานาญ (Human Capital) จะแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ
จํานวนปีทีใช้ในการศึกษา (Education year) ,ความชํานาญในวิชาชีพ(Skill) และประสบการณ์ในการ
ทํางาน (Experience in management) และสําหรับกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ (Strategic Process)แบ่ง
ออกเป็น4 รูปแบบ 1. การวางแผนอย่างสมบูรณ์ (Complete Planning) 2. การวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ
(Critical Point Planning) 3. การแสวงหาโอกาส (Opportunistic Strategy) 4. การตังรับ (Receive Strategy)
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
1. เพือศึกษาลักษณะบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กล
ยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ และความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพในเขต
กรุงเทพและปริมณฑล
2. เพือศึกษาความสัมพันธ์ของบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการภูมิความรู้ความ
ชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ และความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ
ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล
3. เพือสร้างสมการทํานายความสําเร็จของผู้ประกอบธุรกิจ โดยใช้บุคลิกการ
เป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ และกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ
ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล
ขอบเขตของการวิจัย
การศึกษาครังนีได้เป็นการศึกษาเชิงสํารวจ(ExploratoryResearch) โดยศึกษากับผู้ประกอบการร้าน
ยาคุณภาพทีได้ขึนทะเบียนและได้รับการรับรองจากสภาเภสัชกรรม (รุ่นที1/2546 – รุ่นที 1/2552 ) เก็บ
ข้อมูลเมือวันที4 กุมภาพันธ์ 2554 – 14 มีนาคม2554 โดยเป็นร้านยาประเภทร้านยาเดียว (เป็นร้านยาทีไม่อยู่
ในรูปของแฟรนไชล์) ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และวิธีการศึกษาครังนีศึกษาบุคลิกภาพการ
6
เป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจและความสําเร็จตามแนวคิดของไม
เคิล เฟรเซอ (Frese, 2000) รวมทังสิน 33 ร้าน
สมมติฐานการวิจัย
สมมติฐานที 1 : บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสําเร็จของ
ผู้ประกอบการ
สมมติฐานที 2 : ภูมิความรู้ความชํานาญมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสําเร็จของ
ผู้ประกอบการ
สมมติฐานที 3 : กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสําเร็จของ
ผู้ประกอบการ
สมมติฐานที 4 : บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภูมิความรู้ความชํานาญ
สมมติฐานที 5 : บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับกลยุทธ์ในการดําเนิน
ธุรกิจ
สมมติฐานที 6 : ภูมิความรู้ความชํานาญมีความสัมพันธ์ทางบวกกับกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ
สมมติฐานที 7 : บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญและกลยุทธ์ใน
การดําเนินธุรกิจสามารถร่วมกันทํานายความสําเร็จของผู้ประกอบการ
ระเบียบการวิจัย
เครืองมือทีใช้ในการวิจัยครังนี คือ แบบสอบถามแบบสัมภาษณ์ชนิดโครงสร้างเป็น
รายบุคคล และแบบสอบถามประเมินค่าด้วยตนเองของ ดร.ไมเคิล เฟรเซอ เพือใช้ประเมินบุคลิกการเป็น
ผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญและความสําเร็จของผู้ประกอบการ แบบสอบถาม เป็นแบบ
สัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง และแบบสอบถามประเมินค่าด้วยตนเอง ของ ดร.ไมเคิลเฟรเซอ ทีทําการหา
ความเทียงตรงในเนือหา (Content Validity) โดยการแปลต้นฉบับภาษาอังกฤษมาเป็นภาษาไทย
(Translation) และทําการแปลกลับเป็นภาษาอังกฤษ (Black Translation) อีกครัง โดยผู้เชียวชาญทางภาษา
และตรวจสอบความตรงของเนือหากับต้นฉบับโดยผู้ออกแบบ คือ ดร.ไมเคิล เฟรเซอ จนเป็นทียอมรับพ้อง
กัน (วรรณา ฉายาวัฒนะ, 2544)ผู้ออกแบบ คือ ดร.ไมเคิลเฟรเซอ จนเป็นทียอมรับพ้องกัน (วรรณา ฉายา
วัฒนะ, 2544)
รายละเอียดเกียวกับเครืองมือแบ่งตามประเภทข้อมูลทีเก็บดังนี
1. ข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลทัวไปทางธุรกิจ
2. ข้อมูลเกียวกับกลยุทธ์ทางธุรกิจ
3. แบบวัดบุคลิกภาพการเป็นผู้ประกอบการทัง 6 ด้าน
7
4. แบบวัดภูมิความรู้ความชํานาญ
ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ได้ทําการวิเคราะห์ด้วยเครืองคอมพิวเตอร์ ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูป
สําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (Statistical Package for Social Science : SPSS) สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล คือ ค่าความถี ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์แบบสหสัมพันธ์ของเพียร์
สัน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ
ผลการศึกษา
ส่วนที 1 ข้อมูลทัวไปของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
จากการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล และข้อมูลทางธุรกิจทัวไปของกลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการร้านยา
คุณภาพในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
1. ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีสัดส่วนของ
เพศหญิงมากกว่าเพศชาย คือร้อยละ 60.6 และ 39.4 ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ41-50ปี และอายุ51-60 ปี คิด
เป็นร้อยละ 30.3 ผู้ประกอบการส่วนใหญ่สําเร็จการศึกษาตังแต่ระดับปริญญาตรีขึนไป มีสัดส่วนสูง
ถึงร้อยละ69.7 การเริมดําเนินธุรกิจ พบว่า ผู้ประกอบธุรกิจทีก่อตังเองมีจํานวนมากทีสุด คิดเป็น
ร้อยละ90.9 ลักษณะและขนาดของกิจการ ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพทีเป็นกลุ่มตัวอย่างในครังนี ส่วน
ใหญ่เป็นผู้ประกอบธุรกิจขนาดเล็ก ซึงใช้เงินลงทุนเริมต้นในการดําเนินธุรกิจไม่เกิน 1 ล้านบาท คิดเป็นร้อย
ละ 75.75 และสัดส่วนของพนักงานทีมีจํานวนไม่มาก คือมีพนักงานไม่เกิน 2 คน การวางแผนธุรกิจ พบว่า
ผู้ประกอบธุรกิจส่วนใหญ่มีการกําหนดการวางแผนธุรกิจคิดเป็นร้อยละ 81.8 และแผนธุรกิจส่วนใหญ่มี
ระยะเวลาน้อยกว่าหรือเท่ากับ1 ปี
ตารางที 1
แสดงค่าเฉลียและส่วนเบียงเบนมาตรฐานของข้อมูลทัวไปของผู้ประกอบการประเภทธุรกิจร้าน
ยาคุณภาพในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ข้อมูลทัวไป
ค่าตําสุด
Min
ค่าสูงสุด
Max
ค่าเฉลีย
Mean
ค่าฐาน
นิยม
Mode
ส่วนเบียงเบน
มาตรฐาน
S.D.
1. อายุ
2. จํานวนปีทีใช้ในการศึกษา
3. เงินลงทุนเมือเริมกิจการ (ล้านบาท)
4. จํานวนชัวโมงทํางานต่อสัปดาห์
26
17
1 แสน
48
63
19
8.5ล้าน
116
44
17.61
9.7 แสน
75.60
43
17
5 แสน
72
10.350
.933
1.62
15.72
8
ส่วนที 2 ลักษณะบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ และ
ความสําเร็จของผู้ประกอบการ
บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ พบว่าบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีความเป็นตัวของตัวเอง ความสมําเสมอและใฝ่ใจในการเรียนรู้ ความใฝ่ใจ
ในความสําเร็จ และความมีนวัตกรรมอยู่ในระดับค่อนข้างสูง คือร้อยละ 4.05 3.73 3.63 และ 3.50
ตามลําดับ อธิบายได้ว่าผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพส่วนใหญ่เป็นคนทีมีความสามารถทํางานได้ด้วยตนเอง
กล้าคิดกล้าตัดสินใจได้ในภาวะทีบีบบังคับ มีความคิดริเริมเกียวกับสินค้าใหม่ๆ มุ่งความสําเร็จอยู่ในระดับ
คะแนนสูงเพราะร้านยาคุณภาพเป็นร้านยาทีเป็นโครงการใหม่ทีเพิงเกิดขึนมาใหม่ ฉะนันผู้ประกอบการที
จะดําเนินธุรกิจเป็นร้านยาคุณภาพนันได้จะต้องเป็นผู้ทีกล้าคิดออกนอกกรอบ เน้นความใฝ่ใจในการเรียนรู้
ไม่ได้ยึดติดกับกรอบความคิดแบบเดิมๆ ใฝ่ใจในการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ไม่หยุดนิงและมีการเรียนรู้
ข้อผิดพลาดทีเกิดขึน เพือนํามาปรับปรุง แก้ไข และนํามาประยุกต์ใช้ในการทํางานให้เกิดประโยชน์
ส่วนระดับคะแนนสองอันดับสุดท้าย คือความก้าวร้าวในการแข่งขัน และความกล้าเสียงอยู่ในระดับ
ปานกลาง คือมีระดับคะแนนอยู่ร้อยละ 2.90 และ2.82 ตามลําดับ อธิบายได้ว่า ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ
มีลักษณะการหลีกเลียงความไม่แน่นอน ไม่เสียงในสิงทีตนไม่รู้ เนืองจากลักษณะธุรกิจของร้านยาคุณภาพ
ทีเป็นธุรกิจทีรอลูกค้าเป็นผู้เข้ามาใช้บริการ มากกว่าการออกไปเชือเชิญลูกค้าให้เข้ามาใช้บริการทีร้าน ทําให้
ความก้าวร้าวในการแข่งขันมีไม่สูงมากนัก แต่เป็นการเน้นการตังรับด้วยการให้บริการด้วยคําแนะนําและ
คําปรึกษาในการใช้ยาอย่างเหมาะสม และด้วยความเป็นร้านยาคุณภาพจึงถูกกําหนดควบคุมด้วย
พระราชบัญญัติยา ทําให้ผู้ประกอบการจําหน่ายและจ่ายยาอยู่ในกรอบตามทีกฏหมายกําหนดไว้ทีสําคัญคือ
ธุรกิจของผู้ประกอบการเป็นวิชาชีพทีเน้นบริบาลทางเภสัชกรรมมากกว่าการมุ่งเน้นกําไร จึงสอดคล้องกับ
ลักษณะบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการทีเป็นร้านยาคุณภาพ
ส่วนภูมิความรู้ความชํานาญ พบว่าผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพนัน ส่วนใหญ่สําเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี มีระยะเวลาในการศึกษาเฉลียเท่ากับ 17.60 ปี ผู้ประกอบการทีได้รับการศึกษาน้อยทีสุด คือ 17 ปี
และได้รับการศึกษามากทีสุด คือ 19 ปี การทีผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญา
ตรี เนืองจากการจะเป็นเภสัชกรทีมีใบประกอบวิชาชีพได้จําต้องจบการศึกษาเภสัชศาสตร์บัณฑิต (ปริญญา
ตรี) จึงจะสามารถจ่ายยาให้กับคนไข้ได้ โดยผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีระดับคะแนนประสบการณ์ในการ
บริหารตํา เพราะผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่เคยทําธุรกิจร้านยาคุณภาพมาก่อน ถึงร้อยละ78.8 แต่มีใจรักใน
วิชาชีพต้องการบริบาลทางเภสัชกรรม มีความรู้ในเรืองของตัวยา โรคและการจัดยารวมทังวิธีการเลือกใช้ยา
ให้เหมาะกับโรคของคนไข้มากกว่าการบริหารจัดการทางการตลาด ส่วนระดับคะแนนความชํานาญใน
วิชาชีพ พบว่าผู้ประกอบการเคยเป็นลูกจ้างในธุรกิจเดียวกันนีถึงร้อยละ75.8 จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบ
การก่อนทีจะเริมต้นธุรกิจร้านยาคุณภาพผู้ประกอบการส่วนมากจะเป็นเภสัชกรตามโรงพยาบาลของรัฐ
เอกชน หรือเป็นผู้แทนยา มีประสบการณ์ในเรืองของยาเป็นอย่างดี แต่เมือมาดําเนินธุรกิจร้านยา ความรู้ใน
9
เรืองยาเพียงอย่างเดียวนันไม่เพียงพอ และทีสําคัญคือร้านยาคุณภาพเป็นโครงการทีเพิงเกิดขึนมาใหม่ ทําให้
ผู้ประกอบการยังไม่ทราบแนวทางในการบริหารจัดการอย่างแน่ชัด จึงทําให้ความชํานาญในวิชาชีพของ
ผู้ประกอบการอยู่ในระดับปานกลาง
ส่วนรูปแบบกลยุทธ์ทีใช้ในการดําเนินธุรกิจนัน พบว่าผู้ประกอบการมีระดับคะแนนด้านกลยุทธ์
ในการวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์อยู่ในระดับสูง คือ ร้อยละ4.46 เพราะผู้ประกอบการส่วนมากทราบว่า
การเข้าเป็นร้านยาคุณภาพก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนในการได้รับยาทีดีมีคุณภาพ และได้รับคําเเนะนํา
ในการใช้ยาจากเภสัชกรตลอดระยะเวลาการเปิดร้าน อีกทังแผนในอนาคตทีรัฐบาลจะนําร้านยาเข้าเป็นส่วน
หนึงของระบบสาธารณสุขขันพืนฐานของประเทศ (ประสิทธิ วงศ์นิจศีล, 2554. ออนไลน์) จึงสอดคล้องกับ
ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพทีมีกลยุทธ์ในด้านการวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์อยู่ค่อนข้างมาก
รองลงมา คือ กลยุทธ์ในด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ การแสวงหาโอกาสและการตังรับ อยู่ใน
ระดับค่อนข้างมาก มีระดับคะแนนเฉลียอยู่ในระดับใกล้เคียงกันมาก คือร้อยละ3.68 3.67 และ 3.61 โดยกล
ยุทธ์ในด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญทีมีระดับคะแนนเฉลียอยู่สูงกว่ากลยุทธ์อีก2 กลยุทธ์เพียงเล็กน้อย
เนืองมาจากลักษณะธุรกิจของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพทีต้องมีความรู้พืนฐานในเรืองของโรคและยา แต่
ความรู้เท่านันนันยังไม่เพียงพอ ผู้ประกอบการจําต้องมีการเพิมเติมความรู้เกียวกับโรคใหม่ รวมทังการ
ระบาดของโรคภัยไข้เจ็บสายพันธุ์ใหม่ๆทีนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึน จึงสอดคล้องกับลักษณะกลยุทธ์
ด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญทีผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพนํามาปรับใช้มากกว่ากลยุทธ์ในด้านอืนๆ
ลักษณะความสําเร็จของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพในเขตกรุงเทพและปริมณฑล พบว่าระดับ
ความสําเร็จโดยรวมของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทัง33 คน มีค่า
ตําสุดเท่ากับ10 คะแนน ค่าสูงสุดอยู่ที 45 คะแนนค่าเฉลียเท่ากับ 31.76 คะแนนผู้ประกอบการร้อยละ
60.61 มีความสําเร็จอยู่ในระดับสูง ผู้ประกอบการร้อยละ 39.39 อยู่ในระดับปานกลาง และไม่พบ
ผู้ประกอบการมีระดับคะแนนประสบความสําเร็จอยู่ในระดับตํา แสดงให้เห็นว่าผู้ประกอบการส่วนใหญ่
ประสบความสําเร็จในระดับสูง เนืองด้วยยาเป็นหนึงในปัจจัยสีทีจําเป็นอย่างยิงต่อชีวิตมนุษย์และเป็นปัจจัย
ทีสําคัญในการพัฒนาสาธารณสุขของประเทศ ร้านขายยาจึงเป็นทีพึงด้านสุขภาพของคนในสังคม นอกจาก
นีร้านยาคุณภาพเป็นโครงการร้านยาทีทางเภสัชกรรมยกระดับมาตรฐานของร้านยาให้เป็นโครงการนําร่องที
จะพัฒนารูปแบบของร้านยาให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกันทังประเทศเพือเป็นเครือข่ายในการเชือมต่อกับ
ระบบสาธารณสุขของประเทศในอนาคต ทําให้ร้านยาทีได้เป็นร้านยาคุณภาพจะได้รับการรับรองจากสภา
เภสัชกรรมว่ามีการบริการทีดี มีเภสัชกรให้คําปรึกษาตลอดเวลาเปิดทําการ ยาดีมีคุณภาพ ทําให้ประชาชนมี
ความมันใจในการซือยาและได้รับการบริการทีดีจากร้านยาคุณภาพ โดยร้านยาทีไม่สามารถยกระดับให้เป็น
มาตรฐานเดียวกับร้านยาคุณภาพ ภายในกําหนด 8-9 ปี ก็จะถูกพิจารณาไม่ให้ต่อทะเบียนและใบอนุญาตขาย
ยา (สมาคมร้านขายยา, ออนไลน์, 2554) จึงยิงเป็นการสนับสนุนให้ระดับความสําเร็จของผู้ประกอบการส่วน
ใหญ่อยู่ในระดับสูง
10
ส่วนที 3 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการ
ดําเนินธุรกิจ และความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการ
ตารางแสดงความสัมพันธ์ของบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการ
ดําเนินธุรกิจและความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการประเภทธุรกิจร้านยาคุณภาพในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ตัวแปร (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) (13) (14)
( ) ระยะเวลาใน
การศึกษา
1
(2) ประสบการณ์
ในการบริหาร
.043 1
(3) ความชํานาญ
ในวิชาชีพ
-.029 -.143 1
(4) การวางแผน
ล่วงหน้าอย่าง
สมบูรณ์
-.296 -.155 -.087 1
(5) การวางแผน
เฉพาะสิงสําคัญ
.001 .125 .079 .435 1
(6) การแสวงหา
โอกาส
-.134 .317 .029 .214 .330 1
(7) การตังรับ -.123 -.127 -.092 .109 .253 .160 1
(8) ความเป็นตัว
ของตัวเอง
.233 .024 -.123 -.102 .182 .257 -.044 1
(9) ความมี
นวัตกรรม
-.138 .075 .060 .664* .345* .535** .022 .334 1
(10)ความกล้า
เสียง
-.144 -.107 .073 -.033 .359* -.025 -.101 .220 .206 1
(11) ความก้าวร้าว
ในการแข่งขัน
-.176 .052 .153 .042 .212 .165 .442* .310 .249 .024 1
(12) ความ
สมําเสมอและ
ใฝ่ใจในการเรียนรู้
.014 .138 -.323 -.203 -.472** -.321 -.342 -.012 -.272 -.072 -.435 1
(13)ความใฝ่ใจใน
ความสําเร็จ
-.003 -.103 -.090 -.126 -.044 -.004 -.047 .172 -.021 -.180 .321* .252 1
(14)ความสําเร็จ -.016 -.062 .078 .346* .343 .256 .095 .217 .385 .142 .070 -.306 .137 1
*p < .05, **p<.01 Pearson – Correlation Coefficient : Two-tailed, One-tailed.
11
จากการศึกษา พบว่า บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนิน
ธุรกิจและความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์กันดังนี
1. บุคลิกการผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสําเร็จของผู้ประกอบการ
บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมเพียงด้านเดียวเท่านันทีมีความสัมพันธ์ทางบวก
กับความสําเร็จของผู้ประกอบการซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของเฟรเซอ , เคราส์และฟรายดิช (Frese, Krauss
and Friedrich, 2000) ทีศึกษาผู้ประกอบการในประเทศซิมบับเว พบว่าความมีนวัตกรรมเป็นคุณลักษณะ
หลักทีมีความสัมพันธ์กับความสําเร็จในการประกอบการของผู้ประกอบการ ทังนีข้อมูลจากการสัมภาษณ์ทํา
ให้ทราบว่าร้านยาคุณภาพเป็นร้านยาทีเพิงเกิดขึนมาใหม่ มีกฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ รวมถึงมาตรฐาน
แตกต่างจากร้านยาในรูปแบบเดิมมาก มีการวางระบบการเตรียมพร้อมทีจะนําร้านยาเข้าสู่มาตรฐานสากล
มากขึน ทําให้ผู้ประกอบการธุรกิจร้านยาคุณภาพจะต้องมีการวางแผน มีความคิดริเริมเกียวกับสิงใหม่ๆ
การคิดนอกกรอบ ไม่ยึดติดกับความคิดในแบบเดิมๆทีเน้นการขายยาเพียงอย่างเดียว ดังนันผู้ประกอบการที
ต้องการความสําเร็จในธุรกิจได้นัน จึงจําเป็นต้องมีความคิดริเริมสร้างสรรค์ในสิงใหม่ๆอยู่เสมอ
2. กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสําเร็จในการประกอบการโดย
พบว่ากลยุทธ์ในด้านการวางแผนอย่างสมบูรณ์เพียงด้านเดียวเท่านันทีมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ
ความสําเร็จในการประกอบการของผู้ประกอบการธุรกิจร้านยาคุณภาพ ด้วยการทีผู้ประกอบได้รับรู้เกียวกับ
นโยบายและมาตรการภาครัฐทีต้องการวางโครงการให้ร้านยาคุณภาพเป็นส่วนหนึงในการเชือมต่อกับระบบ
สาธารณสุขของประเทศในอนาคต ผลักดันให้ร้านยาทัวไปเป็นร้านยาคุณภาพ เพือลดภาระความหนาแน่น
ของประชาชนทีจะเข้ามารับบริการจากโรงพยาบาลสามารถนําใบสังยาเบิกยาได้ทีร้านยาคุณภาพ โดยทีร้าน
ยาคุณภาพจะได้รับสิทธิในการให้บริการในระบบประกันสังคม คือให้ผู้เอาประกันในระบบสังคมสามารถ
ขอรับบริการด้านยาในโรคพืนฐานจากร้านยาคุณภาพเพิมเติมจากการเข้ารับบริการจากโรงพยาบาล หรือ
คลินิกทีเป็นเครือข่ายโดยอาจกําหนดวงเงินในการใช้บริการต่อปี ดังนันกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจด้านการ
วางแผนอย่างสมบูรณ์จึงมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสําเร็จของผู้ประกอบการ
3. บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์กับกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจดังนี
3.1 บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรม และความกล้าเสียง
มีความสัมพันธ์ทางบวกกับกลยุทธ์ในด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ (r = .345 และ .359 ) ซึงจากการ
สัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้ประกอบการ พบว่าผู้ประกอบการส่วนใหญ่ให้ความสําคัญและพร้อมทีจะปรับเปลียน
เครืองมือและรูปแบบในการจัดสถานทีการจําหน่ายยาเพือให้สอดคล้องกับมาตรฐานทีกระทรวงสาธารณสุข
กําหนดมาตรฐานของร้านยาคุณภาพแม้จะมีค่าใช้จ่ายเพิมมากขึนก็ตามเพราะเล็งเห็นให้ร้านยาคุณภาพเป็น
ร้านยาตัวอย่างทีทําให้ประชาชนเกิดความมันใจว่าจะได้รับยาทีดีมีคุณภาพและคําปรึกษาในการใช้ยาอย่าง
ถูกต้องและเหมาะสม
12
3.2 บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความใฝ่ใจในความสําเร็จมีความสัมพันธ์
ทางลบกับกลยุทธ์ในด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ (r = -.472)อาจเป็นเพราะว่าผู้ประกอบการส่วนมาก
เล็งเห็นความสําคัญในเรืองของหนทางทีนําไปสู่ความสําเร็จไม่ใช่แค่การวางแผนเฉพาะสิงสําคัญเพียงด้าน
ใดด้านเดียวเท่านัน แต่ผู้ประกอบการจะมุ่งเน้นทังคุณภาพการให้บริบาลทางเภสัชกรรมคือการให้คําปรึกษา
เกียวกับการใช้ยาควบคู่กันไปจึงทําให้ความใฝ่ใจในความสําเร็จมีความสัมพันธ์ทางลบกับการวางแผน
เฉพาะสิงสําคัญ
3.3 บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมมีความสัมพันธ์ทางบวก
กับกลยุทธ์ในด้านการวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์ อาจเป็นเพราะร้านยาคุณภาพยังเป็นร้านยาทีเพิงเกิด
ขึนมาใหม่ ผู้ประกอบการต้องมีการศึกษาค้นคว้าแล้วพบว่าในอนาคตการเป็นร้านยาธรรมดาจะไม่สามารถ
อยู่รอดได้จึงมีการวางแผนปรับเปลียนร้านยาของตนให้เป็นร้านยาคุณภาพนอกจากในอนาคตร้านยา
คุณภาพจะสามารถดําเนินธุรกิจได้แล้ว ร้านยาคุณภาพยังเป็นอีกหน่วยงานหนึงทีรองรับเครือข่ายโครงสร้าง
ระบบสาธารณสุข ส่งผลให้ผู้ทีเป็นผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพมีลักษณะการมองการณ์ไกล มีการวางแผน
มีความคิดริเริมใหม่ๆ และกล้าตัดสินใจดังนันบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมจึงมี
ความสัมพันธ์ทางบวกกับกลยุทธ์ด้านการวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์
3.4 บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมมีความสัมพันธ์กับกล
ยุทธ์ในด้านการแสวงหาโอกาส (r = .535) ซึงแสดงให้เห็นว่า ผู้ประกอบการธุรกิจร้านยาคุณภาพทีมี
ความคิดริเริมในการเพิมเติมสินค้าหรือบริการ การปรับเปลียนรูปแบบของร้าน รวมทังการนําโปรแกรมการ
จัดการร้านยาเข้ามาเพิมเติมแสวงหาโอกาสใหม่ๆ เพือเป็นจุดดึงดูดความสนใจและความมันใจแก่ผู้เข้ารับ
บริการมากขึน ตามทีได้อธิบายข้างต้น จึงทําให้สอดคล้องกับบุคลิกการของผู้ประกอบการด้านความมี
นวัตกรรมมีความสัมพันธ์กับกลยุทธ์ในด้านการแสวงหาโอกาส
3.5 บุคลิกการเป็นผู้ประกอบด้านความก้าวร้าวในการแข่งขันมีความสัมพันธ์
กับกลยุทธ์ในการตังรับ (r =.442) แสดงให้เห็นว่าด้วยลักษณะธุรกิจร้านยาเป็นธุรกิจบริการเฉพาะวิชาชีพ มี
กฎหมายทีเรียกว่า “พระราชบัญญัติยา” ควบคุมการดําเนินงานโดยตรง เพราะยาเป็นสิงจําเป็นและสําคัญต่อ
ชีวิตมนุษย์ การใช้ยาโดยไม่มีความรู้ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อาจจะส่งผลเสียหรืออันตรายต่อผู้ใช้บริการได้
จึงควรได้รับคําแนะนําในการใช้ยาอย่างถูกต้องและเหมาะสม ซึงทําให้ลักษณะธุรกิจของร้านยาเป็นการรอ
ลูกค้าหรือผู้ป่วยเข้ามาใช้บริการมากกว่าการออกไปโฆษณาเรียกลูกค้าเข้ามาในร้าน และเมือลูกค้าเข้ามาใช้
บริการแล้วผู้ประกอบการจะพยายามทําการต่างๆให้ลูกค้าเกิดความประทับใจ ไม่ว่าจะเป็นเรืองคําแนะนําใน
การใช้ยา และเรืองของราคายา เพือดึงดูดให้ลูกค้ากลับเข้ามาใช้บริการในครังต่อไป จึงสอดคล้องกับบุคลิก
การเป็นผู้ประกอบการด้านความก้าวร้าวในการแข่งขันมีความสัมพันธ์กับกลยุทธ์ในด้านการตังรับ
4. ความสามารถในการทํานายความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ ด้วยบุคลิกการเป็น
13
ผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญและกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ จากการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบ
ขันตอน พบว่ามีเพียงบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการเพียงด้านเดียวเท่านันทีสามารถทํานายความสําเร็จในการ
ประกอบการได้ซึงความมีนวัตกรรมสามารถทํานายความสําเร็จได้ร้อยละ14.9 อธิบายได้ว่าถ้า
ผู้ประกอบการมีบุคลิกด้านความนวัตกรรมเพิมขึนก็จะทําให้มีความสําเร็จของผู้ประกอบการเพิมขึน
สรุปผลการวิจัย
ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมเป็นเพียงบุคลิกด้าน
เดียวเท่านันทีส่งผลต่อความสําเร็จของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ ส่วนภูมิความรู้ความชํานาญและกล
ยุทธ์ทางธุรกิจนัน ไม่ได้ส่งผลต่อความสําเร็จของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ นันแสดงให้เห็นว่า
ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพเป็นผู้ทีมีลักษณะความคิดใหม่ๆ ไม่ได้ยึดติดกับแนวคิดเดิมๆ โดยผู้ทีจะมา
ประกอบธุรกิจร้านยาคุณภาพได้นันจะต้องเป็นผู้ทีมีส่วนร่วมในระบบสาธารณสุข หรือเป็นเภสัชกร เพราะ
รูปแบบของธุรกิจร้านยาคุณภาพเป็นธุรกิจทีเป็นรูปเบบกึงพาณิชย์ คือไม่ได้มุ่งเน้นผลกําไรเพียงอย่างเดียว
แต่เน้นใช้วิชาชีพในการบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ประชาชนโดยทัวไปมากกว่า และมองต่อว่าร้านยาคุณภาพ
จะเป็นร้านยาทีอยู่ภายใต้เครือข่ายทีกระทรวงกําหนดให้เป็นหนึงในเครือข่ายของระบบสาธารณสุข ฉะนัน
หากผู้ทีกําลังมองหาและต้องการจะลงทุนในการทําธุรกิจร้านยาคุณภาพ โดยมองว่าจะส่งผลให้ประสบ
ความสําเร็จและก่อให้เกิดผลกําไรมากมายนันคงไม่ใช่หนึงในการลงทุน ดังทีอธิบายไว้ข้างต้น แต่ต่อไปใน
อนาคตร้านยาธรรมดาทังหมดจะต้องถูกเปลียนแปลงให้เป็นร้านยาคุณภาพทีมีมาตรฐานเดียวกันเพือลด
ความแออัดของคนไข้ในโรงพยาบาล โดยโรงพยาบาลจะทําหน้าทีแค่ตรวจรักษาและทําการออกใบสังยา
เท่านัน คนไข้จะไม่รับยาจากโรงพยาบาลดังนันบทบาทต่อไปในอนาคตของร้านยาคุณภาพ คือ ผู้ป่วยนอก
จะต้องไปรับเบิกจ่ายยาและรับยาจากร้านยาคุณภาพเท่านัน
ข้อเสนอแนะสําหรับผู้ประกอบการและหน่วยงานทีเกียวข้อง
1. ภาครัฐควรส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจร้านยาให้มุ่งสู่ความเป็นมาตรฐานมากขึนโดย
ภาครัฐจะต้องช่วยดูแลและควบคุมในการประกอบกิจการธุรกิจร้านยาและต้องเข้มงวดให้มากขึนในการ
บังคับใช้กฏหมายธุรกิจร้านยา เพือยกระดับมาตรฐานร้านยาโดยทัวไปให้ได้รับการรับรองมาตรฐานเดียวกับ
มาตรฐานร้านยาคุณภาพตามทีได้กําหนดไว้ในประกาศของกระทรวงสาธารณสุข
2. รัฐควรจะมีการประชาสัมพันธ์ในเรืองร้านยาคุณภาพแก่ประชาชนทราบว่าร้านยา
คุณภาพมีข้อดีในการเลือกเข้ารับบริการแตกต่างจากร้านยาคุณภาพอย่างไร เพราะจากการเข้าสัมภาษณ์และ
เก็บข้อมูลจริง พบว่าผู้เข้ารับบริการหรือประชาชนโดยทัวไปไม่ทราบว่าร้านยาคุณภาพมีข้อดีและแตกต่าง
จากร้านยาโดยทัวไปอย่างไร มิฉะนันจะทําให้การจัดระเบียบให้ร้านยาอยู่ในมาตรฐานเดียวกันและยกระดับ
14
ร้านยาให้เป็นหน่วยงานทีจะเชือมต่อกับระบบสาธารณสุขเพือประโยชน์แก่ประชาชนในอนาคตคงเป็นเรือง
ทีทําได้ยาก
3. จากผลการวิจัยเกียวกับความสําเร็จของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่าบุคลิกผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมมีความสัมพันธ์กับ
ความสําเร็จเพียงด้านเดียว ดังนันแล้วหน่วยงานของสภาเภสัชกรรม สมาคมเภสัชกรรมชุมชน(ประเทศไทย)
สมาคมร้านขายยา ชมรมร้านขายยาแห่งประเทศไทย และศูนย์ประสานการศึกษาเภสัชศาสตร์ นําข้อมูลการ
วิจัยในครังนีไปเป็นแนวทางในการคัดเลือก การฝึกอบรมเภสัชกรให้เป็นผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพนัน
ควรพัฒนาบุคลิกด้านความมีนวัตกรรมจึงจะก่อให้เกิความสําเร็จแก่ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพต่อไปใน
อนาคต
4. หน่วยงานทีเกียวข้องควรมีการฝึกอบรมพัฒนาและเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่
ทางด้านการวางแผนธุรกิจ และการบริหารจัดการ เพือสร้างความรู้และแนวทางปฏิบัติให้กับผู้ประกอบการ
ให้เกิดการพัฒนาแนวความคิดต่างๆ นอกเหนือจากการอบรมพัฒนาเรืองยาและโรคใหม่ๆ ซึงจะส่งผลให้
ผู้ประกอบการมีโอกาสพัฒนาช่องทางทางธุรกิจของตนได้มากขึน เป็นการวางแผนระยะยาวสําหรับธุรกิจ
ให้ยังยืนต่อไปในอนาคต ทําให้ผู้ประกอบการประสบความสําเร็จมากยิงขึน
ข้อเสนอแนะเพือการวิจัยครังต่อไป
1. เพิมจํานวนกลุ่มตัวอย่างให้มากขึน เพือให้ผลการวิจัยทีได้สามารถนําไปขยายผลอธิบาย
ความสําเร็จได้ชัดเจนมากขึน
2. การศึกษาวิจัยในครังนีเป็นการศึกษาผู้ประกอบธุรกิจร้านยาคุณภาพในเขตกรุงเทพมหานคร
และปริมณฑลเท่านัน ดังนันในการศึกษาวิจัยครังต่อไป ควรจะทําการศึกษาผู้ประกอบการธุรกิจร้านยา
คุณภาพในจังหวัดอืนๆเพือเปียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทีใช้ในการศึกษาว่ามีความเตกต่าง
อย่างไรในแต่ละพืนที
3. ควรมีการขยายการศึกษาวิจัยในผู้ประกอบการในธุรกิจอืนๆของไทยไม่ว่าจะเป็น
ปัจจัยทีได้ทําการศึกษาในครังนี หรือจะเป็นปัจจัยอืนๆเพิมเติม ยิงหากมีการขยายขอบเขตของการศึกษาไป
ในทุกส่วนภาคธุรกิจของไทย ไม่ว่าจะเป็นภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้าทังการค้าปลีกและส่ง รวมทังธุรกิจ
บริการ อีกทังหากขยายผลไปในทุกภาคส่วนของประเทศให้ครบถ้วนก็จะเป็นประโยชน์อย่างยิงต่อการ
เข้าใจและเห็นภาพรวมของคววามสําเร็จ เพือจะได้นําข้อมูลทีได้ไปปรับปรุงและพัฒนาผู้ประกอบการต่อไป
รายการอ้างอิง
ประสิทธิ วงศ์นิจศีล. ร่าง พ.ร.บ.ยาใหม่. สืบค้นเมือวันที 20 มีนาคม 2554. จาก
http://www.cdsdrug.com/ubmthai-smf/index.php?topic= . .
15
รณรงค์ศรีจันทรนนท์.(2548).รูปแบบความสัมพันธ์และการสร้างสมการทํานายกลยุทธ์ในการ
ดําเนินธุรกิจ และภูมิความรู้ความชํานาญทีมีผลต่อความสําเร็จของผู้ประกอบการ
วิสาหกิจขนาดย่อม ในอุตสาหกรรมแม่พิมพ์โลหะและพลาสติก ในเขตกรุงเทพและ
ปริมณฑล.วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์,สาขา
จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ.
วงการแพทย์.เกาะติดสถานการณ์ อนาคตร้านยาคุณภาพกับการต่ออายุการรับรองคุณภาพฯ.
สืบค้นเมือวันที7 ตุลาคม 2553, จาก
http://www.medicthai.com/admin/news_cpe_detail.php?id=
วรรณา ฉายาวัฒนะ. (2544). รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผู้ประกอบการ ภูมิ
ความรู้ความชํานาญ และความสําเร็จของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมขนาดย่อม
ในอุตสาหกรรมแม่พิมพ์โลหะและพลาสติกในเขตกรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
คณะศิลปศาสตร์, สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ.
สมาคมร้านขายยา.พลิกแผนการตลาดในร้านขายยา.สืบค้นเมือวันที 15 มกราคม2554, จาก
http://thaipharmacies.org/knowledge/marketing/ -marketing-plan.html
สภาเภสัชกรรม (2546). มาตรฐานร้านยา. โครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพร้านยาโดยความ
ร่วมมือระหว่างสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาและสภาเภสัชกรรม กรุงเทพฯ.
สํานักงานโครงการพัฒนาร้านยา กองควบคุมยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง
สาธารณสุข.สืบค้นเมือวันที 25 สิงหาคม2553,จาก
http://newsser.fda.moph.go.th/advancepharmacy/ /research.php
สํานักงานสถิติแห่งชาติ. (2546). รายงานผลการสํารวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกียวกับการ
ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทรักษาทุกโรค) พ.ศ.2546. สืบค้นเมือวันที 10 ตุลาคม 2553, จาก
http://www.nso.go.th/thai/stat/summary/thirty_baht/thirty_baht.pdf
สํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ,“แผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อมฉบับที 2 (พ.ศ.2550 – 2554 )”
สวัสดิการกรมพัฒนาธุรกิจการค้า.(2548).ธุรกิจ SMEs ON Air.คู่มือประกอบการมืออาชีพ เล่ม7
น.48-49.กรุงเทพมหานคร. ซี.พี.บุ๊คสแตนดารต์.
Bhide, A., Stevenson, H.H., Roberts, M.J &Sahlman. W. A. (1999). The Entrepreneurial
Venture, Harvard Business School.
Box, T.M. Beisel, J.L. and Walts, L.R. (June 1995) .Thaiempirical investigation ofindividual
difference, background and scanning behavior. Academy of Entrepreneurship Journal.
16
1, 18-25. Retrieved 17January 2011, from http : // www.alliedacademies.org/entrepreneurship/aej
1-1.pdf.
Keyser Madalief, Machlien de Kruit, and Frese Michael.(2000). The Psychological Strategy
Process and Sociodemographic Variables as Predictors of Success for Micro-and Small-
Scale Business Owner inAfrica :A New Psychological Approach, 55-76.
Krauss,S.I.,Frese and Friendrich.(2005).EntrepreneurialOrientation : A Psychological model of
successamoung southern African small business owners. European Journal of Work
& Organizational Psychology,14(3),315-344
Krauss, S.I.,Frese and Friedrich. (2005). Entrepreneurial Orientation : A Psychological Model of
success among southern African small business owners.EuropeanJournal of Work &
Organization Psychologist, 30, 553-561.
Marshall,M.I. and Oliver,W.N.(2005). The Effects of Human, Financial, and Social Capital on
the Entrepreneurial Process for Entrepreneurs in Indiana, Retrieved 28 January,
2011, from http://www.aeaweb.org/annual_mtg_papers/2005/0107_0800_0404.pdf
Megginson, William L.( 2003). Small Business Management : An Entrepreneur’s Guidebook,
McGraw-Hill.
Michael Frese(2000).Success and Failure of Microbusiness Owners in Africa . Westport
Connecticut : Quorum Books.
Miner,J.B.,Bracker,Jeffrey S.,and Smith,Norman R.(1989).Role of Entrepreneurial Task
Motivation inthe Growth ofTechnologically Innovative Firms . Journal of Applied
Psychology,74(4),554-560.
Rose, R. CH., N. Kumar and L. L. Yen (2006). “Entrepreneurs Success Factors and Escalation of
Small and Medium-Sized Enterprises in Malaysia,” Journal of Social Sciences, 2(3), 74-
80.
Sally, P. Caird, “What Do Psychology Tests Suggest about Entrepreneur?.” Journal of
Managerial Psychology 8 (1993) : 11-20.
Siropolis, Nicholas.(1994). Small Business Management : A Guide to Entrepreneurship, New
Jersey : Houghton Mifflin Company.
ฯลฯ

More Related Content

What's hot

ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานtumetr
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing Aor's Sometime
 
The leadership skills handbook ทักษะผู้นำ
The leadership skills handbook ทักษะผู้นำThe leadership skills handbook ทักษะผู้นำ
The leadership skills handbook ทักษะผู้นำmaruay songtanin
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Healthmonsadako
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) Yaowaluk Chaobanpho
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
Organization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงาน
Organization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงานOrganization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงาน
Organization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงานTK Tof
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
Strategy to write a business plan_ISMED
Strategy to write a business plan_ISMEDStrategy to write a business plan_ISMED
Strategy to write a business plan_ISMEDwalaiphorn
 
การบริหารทุนมนุษย์และมุ่งเน้นผลลัพธ์
การบริหารทุนมนุษย์และมุ่งเน้นผลลัพธ์การบริหารทุนมนุษย์และมุ่งเน้นผลลัพธ์
การบริหารทุนมนุษย์และมุ่งเน้นผลลัพธ์DrDanai Thienphut
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัดPongsa Pongsathorn
 

What's hot (20)

ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
Diversity
DiversityDiversity
Diversity
 
Make better decisions
Make better decisionsMake better decisions
Make better decisions
 
01
0101
01
 
The leadership skills handbook ทักษะผู้นำ
The leadership skills handbook ทักษะผู้นำThe leadership skills handbook ทักษะผู้นำ
The leadership skills handbook ทักษะผู้นำ
 
Business plan chap4
Business plan chap4Business plan chap4
Business plan chap4
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Health
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
 
Organization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงาน
Organization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงานOrganization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงาน
Organization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงาน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
Strategy to write a business plan_ISMED
Strategy to write a business plan_ISMEDStrategy to write a business plan_ISMED
Strategy to write a business plan_ISMED
 
การบริหารทุนมนุษย์และมุ่งเน้นผลลัพธ์
การบริหารทุนมนุษย์และมุ่งเน้นผลลัพธ์การบริหารทุนมนุษย์และมุ่งเน้นผลลัพธ์
การบริหารทุนมนุษย์และมุ่งเน้นผลลัพธ์
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
 
Strategy maps
Strategy mapsStrategy maps
Strategy maps
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 

Similar to T01 080156

แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]kvlovelove
 
Quality of management คุณภาพการจัดการ
Quality of management คุณภาพการจัดการQuality of management คุณภาพการจัดการ
Quality of management คุณภาพการจัดการmaruay songtanin
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์pomkritta
 
Presentation scg by nussara
Presentation scg by nussaraPresentation scg by nussara
Presentation scg by nussaranussara_june
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014Utai Sukviwatsirikul
 
Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศNaresuan University Library
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfmaruay songtanin
 

Similar to T01 080156 (20)

แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
Quality of management คุณภาพการจัดการ
Quality of management คุณภาพการจัดการQuality of management คุณภาพการจัดการ
Quality of management คุณภาพการจัดการ
 
T7
T7T7
T7
 
Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์
 
Presentation scg by nussara
Presentation scg by nussaraPresentation scg by nussara
Presentation scg by nussara
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
Hr Mis Nu
Hr  Mis NuHr  Mis Nu
Hr Mis Nu
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
 
Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศ
 
Final HRM
Final HRMFinal HRM
Final HRM
 
Final HRM
Final HRMFinal HRM
Final HRM
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
 
Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

T01 080156

  • 1. 1 บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจและความสําเร็จในการ ประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการประเภทธุรกิจร้านยาคุณภาพในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จันทิมา จตุพรเสถียรกุล บทคัดย่อ การวิจัยครังนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาลักษณะ ความสัมพันธ์ และสมการทํานายของความ สําเร็จในการประกอบการด้วยบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนิน ธุรกิจ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพในเขตกรุงเทพและปริมณฑล จํานวน 33 ราย เครืองมือทีใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความ ชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ และความสําเร็จในการประกอบธุรกิจ สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์แบบสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลสรุปได้ดังนี 1. ผู้ประกอบการส่วนมากเป็นเพศหญิง (60.6%) อายุ 41 – 60 ปี (30.30%) จบการศึกษาระดับ ปริญญาตรี (69.7%) ก่อตังกิจการเอง (90.9%) ใช้เงินลงทุนในการเริมต้นธุรกิจ 1แสน– 1ล้านบาท (75.75%) มีการวางแผนธุรกิจ (81.8%)โดยระยะเวลาของแผนธุรกิจน้อยกว่าหรือเท่ากับ1 ปี(81.48%) ประสบการณ์ ในการบริหาร ความชํานาญในวิชาชีพอยู่ในระดับค่อนข้างตํา ใช้กลยุทธ์ด้านการวางแผนอย่างสมบูรณ์อยู่ ในระดับสูง กลยุทธ์ด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ การแสวงหาโอกาสและการตังรับอยู่ในระดับค่อนข้าง สูง บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความเป็นตัวของตัวเอง ความมีนวัตกรรม ความสมําเสมอและใฝ่ใจใน การเรียนรู้ และใฝ่ใจในความสําเร็จ อยู่ในระดับค่อนข้างสูง ส่วนด้านความก้าวร้าวในการแข่งขันและกล้า เสียงอยู่ในระดับปานกลาง และมีความสําเร็จในการประกอบธุรกิจอยู่ในระดับสูง 2. ผลพบความสัมพันธ์ทางบวก ดังนี 2.1 บุคลิกด้านความมีนวัตกรรมกับความสําเร็จในการประกอบธุรกิจ 2.2 บุคลิกด้านความมีนวัตกรรมกับกลยุทธ์ด้านการวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์ 2.3 บุคลิกด้านความมีนวัตกรรมกับกลยุทธ์ด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ 2.4 บุคลิกด้านความมีนวัตกรรมกับกลยุทธ์ด้านด้านการแสวงหาโอกาส 2.5 บุคลิกด้านความกล้าเสียงกับกลยุทธ์ด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ 2.6 บุคลิกด้านความก้าวร้าวในการแข่งขันกับกลยุทธ์ด้านการตังรับ 2.7 กลยุทธ์ด้านการวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์กับความสําเร็จในการประกอบธุรกิจ นอกจากนียังพบความสัมพันธ์ทางลบระหว่างบุคลิกด้านความสมําเสมอและใฝ่ใจในการเรียนรู้ กับ กลยุทธ์ด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ
  • 2. 2 3. ผลการหาสมการทํานายพบว่าบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมเท่านันที สามารถทํานายความสําเร็จในการประกอบธุรกิจได้14.9 % บทนํา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมนับเป็นองค์ประกอบทีสําคัญของระบบเศรษฐกิจโดยมีจํานวนถึง ประมาณร้อยละ 99 ของธุรกิจทังหมดวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจึงมีบทบาทสําคัญในการเป็นฐาน รากการพัฒนาทียังยืนเป็นกลไกหลักในการฟืนฟูและเสริมสร้างความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจรวมทังเป็น กลไกในการแก้ไขปัญหาความยากจนข้อมูลทียืนยันถึงบทบาททางเศรษฐกิจไทยทีสําคัญดังกล่าวได้แก่การ ก่อให้เกิดการจ้างงานคิดเป็นสัดส่วนถึงกว่าร้อยละ 77 ของการจ้างงานรวมของประเทศบทบาทในการสร้าง มูลค่าเพิมเฉลียประมาณร้อยละ 39 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศและมีมูลค่าการส่งออกโดยตรง คิดเป็นสัดส่วนกว่าร้อยละ 29 ของมูลค่าการส่งออกรวมและยืนยันได้ด้วยตัวเลขจํานวนวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในปี 2549 ซึงมีจํานวน2,274,525 ราย คิดเป็นร้อยละ99.5 ของจํานวนวิสาหกิจทังประเทศ และมีการขยายตัวเพิมขึนจากปีทีผ่านมาร้อยละ 1.6 (สํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, ออนไลน์, 2554) ผู้ประกอบการเป็นผู้มีบทบาทสําคัญต่อการดําเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ผู้ประกอบการ คือ บุคคลทีจัดองค์กรและรับผลของความเสียงทางธุรกิจหรือกิจการ บุคคลทีจะเป็น ผู้ประกอบการ เนืองจากความต้องการความสําเร็จหวังผลกําไรจากการดําเนินงานและความเจริญเติบโต ทางธุรกิจ เนืองจากสาเหตุดังกล่าวส่งผลให้ผู้ประกอบการพัฒนาทังทางด้านความคิดและพฤติกรรม มีการ ริเริมปรับเปลียนแนวทางในการจัดการธุรกิจ ( Mergginson, Byrd, and Megginson, 2003, p.11) อย่างไรก็ ตามการจัดการจะประสบความสําเร็จหรือไม่นัน ขึนอยู่กับประสบการณ์และความสามารถในการจัดการ ของผู้ประกอบการ (Siropolis, 1994) เฟรเซอ(Frese, 2000) อดีตนายกสมาคมจิตวิทยาประยุกต์นานาชาติ (International Association of Applied Psychology : IAAP) ได้ทําการศึกษารวบรวมบุคลิกภาพผู้ประกอบการและได้แบ่งบุคลิกภาพ ผู้ประกอบการไว้6 ลักษณะ คือ ความเป็นตัวของตนเอง (Autonomy Orientation) ความมีนวัตกรรม (Innovativeness Orientation) ความกล้าเสียง (Risk Taking Orientation) ความแกร่งในการแข่งขัน (Competitive Aggressiveness Orientation) ความสมําเสมอและความใฝ่ใจในการเรียนรู้ (Stability and Learning Orientation) และความใฝ่ใจในความสําเร็จ (Achievement Orientation) โดยมีเคราส์ (Krauss, 2005) นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน จากมหาวิทยาลัย Giessen ได้นําแนวคิดนีไปศึกษากับผู้ประกอบการใน แอฟริกาใต้พบว่าบุคลิกของผู้ประกอบการทัง 6 ประเภท มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดําเนินงานทาง ธุรกิจ ดังนันจึงเห็นว่าคุณลักษณะของผู้ประกอบการ มีบทบาทสําคัญยิงต่อความสําเร็จของผู้ประกอบการ
  • 3. 3 นอกจากคุณลักษณะของผู้ประกอบการทีก่อให้เกิดความสําเร็จในการดําเนินกิจการแล้ว ยังพบว่า ภูมิความรู้ความชํานาญ หรือ Human Capital ซึงประกอบไปด้วยระดับการศึกษา ประสบการณ์ในธุรกิจและ ประสบการณ์ในการบริหาร มีความสําคัญอย่างยิงต่อการเริมต้นดําเนินกิจการ(Rose, Kumer and Yen, 2006 , online) ซึงในปัจจุบันถือว่าเป็นทรัพยากรทีสําคัญของธุรกิจชนิดหนึง นอกเหนือไปจากทรัพยากรทุนทีเป็น วัตถุสิงของ(Physical Capital Resources) ซึงหมายถึงทรัพยากรทีเป็นสิงของเครืองจักร อุปกรณ์ต่างๆ โรงงาน รวมถึงเงินทุนของธุรกิจ และทรัพยากรทีเป็นทุนองค์กร (Organization CapitalResources)โดยผล การศึกษากับผู้ประกอบการในประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่าระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับการเริมต้น ดําเนินธุรกิจ (Marshell and Oliver, 2005, online) และงานวิจัยทีทําการศึกษาในผู้ประกอบการธุรกิจขนาด ย่อมในอุตสาหกรรมแม่พิมพ์เหล็กและพลาสติกในประเทศไทยสนับสนุนว่าประสบการณ์ในการบริหารมี ความสัมพันธ์กับความสําเร็จของธุรกิจ (รณรงค์ศรีจันทรนนท์, 2544) ในการดําเนินธุรกิจให้ประสบความสําเร็จได้หรือไม่นัน มีปัจจัยทีมีส่วนเกียวข้องอยู่หลายปัจจัย แต่ ปัจจัยหนึงทีมีความสําคัญอย่างมากในการดําเนินธุรกิจให้ประสบความสําเร็จนัน คือ กลยุทธ์ ถือเป็นตัว ขับเคลือนธุรกิจ เนืองจากองค์กรต้องอาศัยกลยุทธ์เป็นตัวสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันด้านธุรกิจ โดย กลยุทธ์จะนําเสนอถึงแนวทางทีสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้ในสถานการณ์ทีมีความไม่แน่นอน (Frese, 2000, p.12) ในโลกปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยกลยุทธ์ในเชิงจิตวิทยาทีมักมุ่งเน้นไปทีกลยุทธ์ในการดําเนินงาน (Strategic Process) ซึงเกียวข้องกับการตัดสินใจกําหนดกลยุทธ์และนํากลยุทธ์ไปใช้ปฏิบัติ โดยกลยุทธ์ใน การดําเนินงานสามารถจําแนกตามลักษณะการวางแผนและการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ในอนาคตได้4 รูปแบบด้วยกัน ได้แก่ กลยุทธ์การวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์ กลยุทธ์การวางแผนเฉพาะสิงสําคัญกล ยุทธ์การแสวงหาโอกาสและกลยุทธ์การตังรับ ซึงในแต่ละประเภทก็จะเลือกใช้กลยุทธ์ทีแตกต่างกัน เพือให้เหมาะสมและมีทิศทางเดียวกันกับธุรกิจของตน ทรัพยากรมนุษย์ถือเป็นทรัพยากรบุคคลทีสําคัญต่อการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า ประชาชน ของประเทศจะต้องมีคุณภาพทังทางร่างกาย ความคิด สติปัญญา และความสามารถ การมีคุณภาพทาง ร่างกายถือเป็นปัจจัยสําคัญอย่างยิงต่อประเทศ เนืองจากหากประชาชนเกิดการเจ็บป่วยหรือเสียชีวิต นัน หมายความถึงการสูญเสียทรัพยากรทีสําคัญของประเทศ และสุขภาพของประชาชนก็เป็นตัวชีวัดทีแสดงถึง อัตราการเจริญหรือการพัฒนาประเทศอย่างหนึงด้วย (สํานักงานโครงการพัฒนาร้านยา, ออนไลน์, 2553) ร้านยาเป็นสถานบริการสุขภาพทีสําคัญในระบบสาธารณสุข เนืองจากสถานทีตังร้านยาตังอยู่ ใกล้ชิดและกระจายตัวในพืนทีต่างๆ โดยเฉพาะในเขตพืนทีชนบททีประชาชนไม่สามารถเข้าถึง สถานพยาบาลอืนๆได้นอกจากนีร้านยายังเป็นสถานทีปฏิบัติการด้านวิชาชีพทีสําคัญของเภสัชกรหรือเภสัช กรชุมชน โดยร้านยาเป็นสถานบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ (Primary care) ทีมีความสําคัญต่อประชาชน และเป็นสถานพยาบาลอันดับแรกทีประชาชนนึกถึงเมือมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ไม่เพียงแต่ทําหน้าทีในการ กระจายยาเท่านันแต่ยังมีบทบาทสําคัญเปรียบเสมือนเป็น“ ทีพึงด้านสุขภาพของชุมชน” เป็นทางเลือกหนึง
  • 4. 4 ของประชาชนในการใช้บริการเมือมีอาการเจ็บป่วยเบืองต้น (วงการแพทย์ออนไลน์, 2553.) ร้านยามีความ สะดวกในการใช้บริการ ไม่ต้องเสียเวลาในการรอรับบริการ มีค่าใช้จ่ายจากการใช้บริการทีตํากว่าเมือเทียบ กับสถานพยาบาลอืนๆ ซึงสอดคล้องกับข้อมูลจากผลการสํารวจเกียวกับอนามัยและสวัสดิการของ ประชาชนทัวราชอาณาจักร (สํานักงานสถิติแห่งชาติ, 2548-2550)พบว่า ในปี 2548 ประชากรส่วนใหญ่นิยม ซือยากินเองเมือเจ็บป่วย ร้อยละ20.5 เพิมขึนเป็นร้อยละ 25.1 ในปี 2549 และเพิมสูงขึนเป็นร้อยละ 26.8 ใน ปี 2550 ซึงเป็นสัดส่วนทีสูงกว่าการไปรับบริการทีสถานพยาบาลอืนๆ เช่น โรงพยาบาลหรือคลินิก ด้วยเหตุนีสภาเภสัชกรรมและสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ ร่วมกันจัดตังสํานักรับรองมาตรฐานร้านยา โดยมีความมุ่งหมายทีสําคัญในการพัฒนาร้านยา และผลักดันให้ เกิดมาตรฐานร้านยาคุณภาพขึนทังนีเพือยกระดับคุณภาพของการบริการเภสัชกรรมชุมชนให้สูงขึนจากการ รวบรวมและทบทวนมาตรฐานสากลของประเทศต่างๆร่วมกับร่างมาตรฐานของหน่วยงานทีเกียวข้องใน ประเทศไทยและการระดมสมองของนักวิชาการกับเภสัชกรรมทัวประเทศ เกิดเป็นมาตรฐานขึนในรูป “ร้าน ยาคุณภาพ” ตามโครงการของสภาเภสัชกรรม เพือเป็นการรับรองว่าร้านยาทีผ่านการการรับรองเป็นร้านยา คุณภาพจะให้บริการทางเภสัชกรรมทีมีมาตรฐานเดียวกัน นอกจากนันจะมีการพัฒนาร้านยาให้เป็นหน่วย บริการหนึงในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในอนาคต (สภาเภสัชกรรม, 2546) หากร้านยาเข้าร่วมในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าจะทําให้เกิดความร่วมมือในการให้บริการเป็น เครือข่ายหรือเป็นทีมสุขภาพ มีบทบาทในการดูแลและการจ่ายยาตามอาการของผู้ป่วยสําหรับโรคหรือ อาการเจ็บป่วยทัวไปบทบาทในการจ่ายยาและทบทวนใบสังยาของแพทย์บทบาทในการจ่ายยาต่อเนืองตาม ใบสังยาของแพทย์แก่ผู้ป่วยโรคเรือรังและบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพการคัดกรองโรคทีเป็นปัญหา สาธารณสุข ซึงจะช่วยเพิมการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนในบางพืนทีช่วยพัฒนาด้านคุณภาพของ การให้บริการและลดภาระทังด้านต้นทุนการคงคลังยาและการให้บริการของบุคลากรในคลินิกหรือ โรงพยาบาลในเครือข่ายนอกจากนียังก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนในพืนทีให้บริการในการช่วยลด ภาระค่าใช้จ่ายในการเดินทางและลดระยะเวลาในการรอรับบริการทีโรงพยาบาลหรือหน่วยบริการอีกด้วย ทําให้การให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้ป่วยมีความสมบูรณ์มากขึนและก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้มีส่วนเกียวข้อง ทุกภาคส่วน รวมถึงภาพรวมของระบบสาธารณสุข โดยจํานวนร้านยาคุณภาพเริมมีการขยายตัวในภาคต่างๆของประเทศเพิมมากขึน ซึงทัวประเทศมี จํานวนร้านยาคุณภาพ358 ร้าน โดยภาคทีมีการกระจายตัวของจํานวนร้านยาคุณภาพมากทีสุด คือ ภาคกลาง และปริมณฑลทีมีจํานวนร้านยาคุณภาพ 120 ร้าน อาจเนืองจากกรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางความเจริญ ของประเทศเพียงจุดเดียว โดยเป็นศูนย์รวมของระบบราชการ กิจกรรมการทหาร กิจกรรมพาณิชย์การ ธนาคาร รวมทังแหล่งทีตังของโรงงานอุตสาหกรรมและกิจการสาธารณูปโภคหลัก ก่อให้เกิดความน่าสนใจ ทีดึงดูดนักลงทุนและผู้ประกอบการในการลงทุนในเขตพืนทีดังกล่าว ประกอบกับสินค้าประเภทยานันเป็น สินค้าทีมีความจําเป็น เพราะยาเป็นหนึงในปัจจัย 4 ทีจําเป็นอย่างยิงในชีวิตมนุษย์ธุรกิจร้านยาจึงเป็นอีกหนึง
  • 5. 5 ธุรกิจทีมีความเสียงตํา น่าสนใจสําหรับผู้ทีกําลังมองหาช่องทางการลงทุน ซึงในปัจจุบันนันอาจจะมีจํานวน ร้านขายยาเป็นจํานวนมาก แต่ดูจากจํานวนร้านยาคุณภาพแล้วมีไม่มากนัก เมือเทียบจากจํานวนร้านยาหลาย พันแห่งทัวประเทศ โดยข้อมูลการวิจัยด้านบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนิน ธุรกิจและความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการจะทําการศึกษาตามแนวทางของ ดร.เฟรเซอ (Frese, 2000, pp.18-19) แบ่งออกเป็น6 ลักษณะ คือ 1. ลักษณะความเป็นตัวของตัวเอง(Autonomy Orientation) . ลักษณะความมีนวัตกรรม(Innovativeness Orientation) . ลักษณะความกล้าเสียง(Risk taking Orientation) . ความก้าวร้าวในการแข่งขัน(Competitive Aggressiveness Orientation) . ลักษณะ ความสมําเสมอและใฝ่ใจในการเรียนรู้ (Stability and learning Orientation) . ความใฝ่ใจในความสําเร็จ (Achievement Orientation) สําหรับภูมิความรู้ความชํานาญ (Human Capital) จะแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ จํานวนปีทีใช้ในการศึกษา (Education year) ,ความชํานาญในวิชาชีพ(Skill) และประสบการณ์ในการ ทํางาน (Experience in management) และสําหรับกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ (Strategic Process)แบ่ง ออกเป็น4 รูปแบบ 1. การวางแผนอย่างสมบูรณ์ (Complete Planning) 2. การวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ (Critical Point Planning) 3. การแสวงหาโอกาส (Opportunistic Strategy) 4. การตังรับ (Receive Strategy) วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 1. เพือศึกษาลักษณะบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กล ยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ และความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพในเขต กรุงเทพและปริมณฑล 2. เพือศึกษาความสัมพันธ์ของบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการภูมิความรู้ความ ชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ และความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล 3. เพือสร้างสมการทํานายความสําเร็จของผู้ประกอบธุรกิจ โดยใช้บุคลิกการ เป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ และกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ขอบเขตของการวิจัย การศึกษาครังนีได้เป็นการศึกษาเชิงสํารวจ(ExploratoryResearch) โดยศึกษากับผู้ประกอบการร้าน ยาคุณภาพทีได้ขึนทะเบียนและได้รับการรับรองจากสภาเภสัชกรรม (รุ่นที1/2546 – รุ่นที 1/2552 ) เก็บ ข้อมูลเมือวันที4 กุมภาพันธ์ 2554 – 14 มีนาคม2554 โดยเป็นร้านยาประเภทร้านยาเดียว (เป็นร้านยาทีไม่อยู่ ในรูปของแฟรนไชล์) ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และวิธีการศึกษาครังนีศึกษาบุคลิกภาพการ
  • 6. 6 เป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจและความสําเร็จตามแนวคิดของไม เคิล เฟรเซอ (Frese, 2000) รวมทังสิน 33 ร้าน สมมติฐานการวิจัย สมมติฐานที 1 : บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสําเร็จของ ผู้ประกอบการ สมมติฐานที 2 : ภูมิความรู้ความชํานาญมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสําเร็จของ ผู้ประกอบการ สมมติฐานที 3 : กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสําเร็จของ ผู้ประกอบการ สมมติฐานที 4 : บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภูมิความรู้ความชํานาญ สมมติฐานที 5 : บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับกลยุทธ์ในการดําเนิน ธุรกิจ สมมติฐานที 6 : ภูมิความรู้ความชํานาญมีความสัมพันธ์ทางบวกกับกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ สมมติฐานที 7 : บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญและกลยุทธ์ใน การดําเนินธุรกิจสามารถร่วมกันทํานายความสําเร็จของผู้ประกอบการ ระเบียบการวิจัย เครืองมือทีใช้ในการวิจัยครังนี คือ แบบสอบถามแบบสัมภาษณ์ชนิดโครงสร้างเป็น รายบุคคล และแบบสอบถามประเมินค่าด้วยตนเองของ ดร.ไมเคิล เฟรเซอ เพือใช้ประเมินบุคลิกการเป็น ผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญและความสําเร็จของผู้ประกอบการ แบบสอบถาม เป็นแบบ สัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง และแบบสอบถามประเมินค่าด้วยตนเอง ของ ดร.ไมเคิลเฟรเซอ ทีทําการหา ความเทียงตรงในเนือหา (Content Validity) โดยการแปลต้นฉบับภาษาอังกฤษมาเป็นภาษาไทย (Translation) และทําการแปลกลับเป็นภาษาอังกฤษ (Black Translation) อีกครัง โดยผู้เชียวชาญทางภาษา และตรวจสอบความตรงของเนือหากับต้นฉบับโดยผู้ออกแบบ คือ ดร.ไมเคิล เฟรเซอ จนเป็นทียอมรับพ้อง กัน (วรรณา ฉายาวัฒนะ, 2544)ผู้ออกแบบ คือ ดร.ไมเคิลเฟรเซอ จนเป็นทียอมรับพ้องกัน (วรรณา ฉายา วัฒนะ, 2544) รายละเอียดเกียวกับเครืองมือแบ่งตามประเภทข้อมูลทีเก็บดังนี 1. ข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลทัวไปทางธุรกิจ 2. ข้อมูลเกียวกับกลยุทธ์ทางธุรกิจ 3. แบบวัดบุคลิกภาพการเป็นผู้ประกอบการทัง 6 ด้าน
  • 7. 7 4. แบบวัดภูมิความรู้ความชํานาญ ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ได้ทําการวิเคราะห์ด้วยเครืองคอมพิวเตอร์ ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูป สําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (Statistical Package for Social Science : SPSS) สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล คือ ค่าความถี ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์แบบสหสัมพันธ์ของเพียร์ สัน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการศึกษา ส่วนที 1 ข้อมูลทัวไปของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จากการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล และข้อมูลทางธุรกิจทัวไปของกลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการร้านยา คุณภาพในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 1. ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีสัดส่วนของ เพศหญิงมากกว่าเพศชาย คือร้อยละ 60.6 และ 39.4 ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ41-50ปี และอายุ51-60 ปี คิด เป็นร้อยละ 30.3 ผู้ประกอบการส่วนใหญ่สําเร็จการศึกษาตังแต่ระดับปริญญาตรีขึนไป มีสัดส่วนสูง ถึงร้อยละ69.7 การเริมดําเนินธุรกิจ พบว่า ผู้ประกอบธุรกิจทีก่อตังเองมีจํานวนมากทีสุด คิดเป็น ร้อยละ90.9 ลักษณะและขนาดของกิจการ ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพทีเป็นกลุ่มตัวอย่างในครังนี ส่วน ใหญ่เป็นผู้ประกอบธุรกิจขนาดเล็ก ซึงใช้เงินลงทุนเริมต้นในการดําเนินธุรกิจไม่เกิน 1 ล้านบาท คิดเป็นร้อย ละ 75.75 และสัดส่วนของพนักงานทีมีจํานวนไม่มาก คือมีพนักงานไม่เกิน 2 คน การวางแผนธุรกิจ พบว่า ผู้ประกอบธุรกิจส่วนใหญ่มีการกําหนดการวางแผนธุรกิจคิดเป็นร้อยละ 81.8 และแผนธุรกิจส่วนใหญ่มี ระยะเวลาน้อยกว่าหรือเท่ากับ1 ปี ตารางที 1 แสดงค่าเฉลียและส่วนเบียงเบนมาตรฐานของข้อมูลทัวไปของผู้ประกอบการประเภทธุรกิจร้าน ยาคุณภาพในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ข้อมูลทัวไป ค่าตําสุด Min ค่าสูงสุด Max ค่าเฉลีย Mean ค่าฐาน นิยม Mode ส่วนเบียงเบน มาตรฐาน S.D. 1. อายุ 2. จํานวนปีทีใช้ในการศึกษา 3. เงินลงทุนเมือเริมกิจการ (ล้านบาท) 4. จํานวนชัวโมงทํางานต่อสัปดาห์ 26 17 1 แสน 48 63 19 8.5ล้าน 116 44 17.61 9.7 แสน 75.60 43 17 5 แสน 72 10.350 .933 1.62 15.72
  • 8. 8 ส่วนที 2 ลักษณะบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ และ ความสําเร็จของผู้ประกอบการ บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ พบว่าบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีความเป็นตัวของตัวเอง ความสมําเสมอและใฝ่ใจในการเรียนรู้ ความใฝ่ใจ ในความสําเร็จ และความมีนวัตกรรมอยู่ในระดับค่อนข้างสูง คือร้อยละ 4.05 3.73 3.63 และ 3.50 ตามลําดับ อธิบายได้ว่าผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพส่วนใหญ่เป็นคนทีมีความสามารถทํางานได้ด้วยตนเอง กล้าคิดกล้าตัดสินใจได้ในภาวะทีบีบบังคับ มีความคิดริเริมเกียวกับสินค้าใหม่ๆ มุ่งความสําเร็จอยู่ในระดับ คะแนนสูงเพราะร้านยาคุณภาพเป็นร้านยาทีเป็นโครงการใหม่ทีเพิงเกิดขึนมาใหม่ ฉะนันผู้ประกอบการที จะดําเนินธุรกิจเป็นร้านยาคุณภาพนันได้จะต้องเป็นผู้ทีกล้าคิดออกนอกกรอบ เน้นความใฝ่ใจในการเรียนรู้ ไม่ได้ยึดติดกับกรอบความคิดแบบเดิมๆ ใฝ่ใจในการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ไม่หยุดนิงและมีการเรียนรู้ ข้อผิดพลาดทีเกิดขึน เพือนํามาปรับปรุง แก้ไข และนํามาประยุกต์ใช้ในการทํางานให้เกิดประโยชน์ ส่วนระดับคะแนนสองอันดับสุดท้าย คือความก้าวร้าวในการแข่งขัน และความกล้าเสียงอยู่ในระดับ ปานกลาง คือมีระดับคะแนนอยู่ร้อยละ 2.90 และ2.82 ตามลําดับ อธิบายได้ว่า ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ มีลักษณะการหลีกเลียงความไม่แน่นอน ไม่เสียงในสิงทีตนไม่รู้ เนืองจากลักษณะธุรกิจของร้านยาคุณภาพ ทีเป็นธุรกิจทีรอลูกค้าเป็นผู้เข้ามาใช้บริการ มากกว่าการออกไปเชือเชิญลูกค้าให้เข้ามาใช้บริการทีร้าน ทําให้ ความก้าวร้าวในการแข่งขันมีไม่สูงมากนัก แต่เป็นการเน้นการตังรับด้วยการให้บริการด้วยคําแนะนําและ คําปรึกษาในการใช้ยาอย่างเหมาะสม และด้วยความเป็นร้านยาคุณภาพจึงถูกกําหนดควบคุมด้วย พระราชบัญญัติยา ทําให้ผู้ประกอบการจําหน่ายและจ่ายยาอยู่ในกรอบตามทีกฏหมายกําหนดไว้ทีสําคัญคือ ธุรกิจของผู้ประกอบการเป็นวิชาชีพทีเน้นบริบาลทางเภสัชกรรมมากกว่าการมุ่งเน้นกําไร จึงสอดคล้องกับ ลักษณะบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการทีเป็นร้านยาคุณภาพ ส่วนภูมิความรู้ความชํานาญ พบว่าผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพนัน ส่วนใหญ่สําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรี มีระยะเวลาในการศึกษาเฉลียเท่ากับ 17.60 ปี ผู้ประกอบการทีได้รับการศึกษาน้อยทีสุด คือ 17 ปี และได้รับการศึกษามากทีสุด คือ 19 ปี การทีผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญา ตรี เนืองจากการจะเป็นเภสัชกรทีมีใบประกอบวิชาชีพได้จําต้องจบการศึกษาเภสัชศาสตร์บัณฑิต (ปริญญา ตรี) จึงจะสามารถจ่ายยาให้กับคนไข้ได้ โดยผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีระดับคะแนนประสบการณ์ในการ บริหารตํา เพราะผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่เคยทําธุรกิจร้านยาคุณภาพมาก่อน ถึงร้อยละ78.8 แต่มีใจรักใน วิชาชีพต้องการบริบาลทางเภสัชกรรม มีความรู้ในเรืองของตัวยา โรคและการจัดยารวมทังวิธีการเลือกใช้ยา ให้เหมาะกับโรคของคนไข้มากกว่าการบริหารจัดการทางการตลาด ส่วนระดับคะแนนความชํานาญใน วิชาชีพ พบว่าผู้ประกอบการเคยเป็นลูกจ้างในธุรกิจเดียวกันนีถึงร้อยละ75.8 จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบ การก่อนทีจะเริมต้นธุรกิจร้านยาคุณภาพผู้ประกอบการส่วนมากจะเป็นเภสัชกรตามโรงพยาบาลของรัฐ เอกชน หรือเป็นผู้แทนยา มีประสบการณ์ในเรืองของยาเป็นอย่างดี แต่เมือมาดําเนินธุรกิจร้านยา ความรู้ใน
  • 9. 9 เรืองยาเพียงอย่างเดียวนันไม่เพียงพอ และทีสําคัญคือร้านยาคุณภาพเป็นโครงการทีเพิงเกิดขึนมาใหม่ ทําให้ ผู้ประกอบการยังไม่ทราบแนวทางในการบริหารจัดการอย่างแน่ชัด จึงทําให้ความชํานาญในวิชาชีพของ ผู้ประกอบการอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนรูปแบบกลยุทธ์ทีใช้ในการดําเนินธุรกิจนัน พบว่าผู้ประกอบการมีระดับคะแนนด้านกลยุทธ์ ในการวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์อยู่ในระดับสูง คือ ร้อยละ4.46 เพราะผู้ประกอบการส่วนมากทราบว่า การเข้าเป็นร้านยาคุณภาพก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนในการได้รับยาทีดีมีคุณภาพ และได้รับคําเเนะนํา ในการใช้ยาจากเภสัชกรตลอดระยะเวลาการเปิดร้าน อีกทังแผนในอนาคตทีรัฐบาลจะนําร้านยาเข้าเป็นส่วน หนึงของระบบสาธารณสุขขันพืนฐานของประเทศ (ประสิทธิ วงศ์นิจศีล, 2554. ออนไลน์) จึงสอดคล้องกับ ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพทีมีกลยุทธ์ในด้านการวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์อยู่ค่อนข้างมาก รองลงมา คือ กลยุทธ์ในด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ การแสวงหาโอกาสและการตังรับ อยู่ใน ระดับค่อนข้างมาก มีระดับคะแนนเฉลียอยู่ในระดับใกล้เคียงกันมาก คือร้อยละ3.68 3.67 และ 3.61 โดยกล ยุทธ์ในด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญทีมีระดับคะแนนเฉลียอยู่สูงกว่ากลยุทธ์อีก2 กลยุทธ์เพียงเล็กน้อย เนืองมาจากลักษณะธุรกิจของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพทีต้องมีความรู้พืนฐานในเรืองของโรคและยา แต่ ความรู้เท่านันนันยังไม่เพียงพอ ผู้ประกอบการจําต้องมีการเพิมเติมความรู้เกียวกับโรคใหม่ รวมทังการ ระบาดของโรคภัยไข้เจ็บสายพันธุ์ใหม่ๆทีนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึน จึงสอดคล้องกับลักษณะกลยุทธ์ ด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญทีผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพนํามาปรับใช้มากกว่ากลยุทธ์ในด้านอืนๆ ลักษณะความสําเร็จของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพในเขตกรุงเทพและปริมณฑล พบว่าระดับ ความสําเร็จโดยรวมของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทัง33 คน มีค่า ตําสุดเท่ากับ10 คะแนน ค่าสูงสุดอยู่ที 45 คะแนนค่าเฉลียเท่ากับ 31.76 คะแนนผู้ประกอบการร้อยละ 60.61 มีความสําเร็จอยู่ในระดับสูง ผู้ประกอบการร้อยละ 39.39 อยู่ในระดับปานกลาง และไม่พบ ผู้ประกอบการมีระดับคะแนนประสบความสําเร็จอยู่ในระดับตํา แสดงให้เห็นว่าผู้ประกอบการส่วนใหญ่ ประสบความสําเร็จในระดับสูง เนืองด้วยยาเป็นหนึงในปัจจัยสีทีจําเป็นอย่างยิงต่อชีวิตมนุษย์และเป็นปัจจัย ทีสําคัญในการพัฒนาสาธารณสุขของประเทศ ร้านขายยาจึงเป็นทีพึงด้านสุขภาพของคนในสังคม นอกจาก นีร้านยาคุณภาพเป็นโครงการร้านยาทีทางเภสัชกรรมยกระดับมาตรฐานของร้านยาให้เป็นโครงการนําร่องที จะพัฒนารูปแบบของร้านยาให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกันทังประเทศเพือเป็นเครือข่ายในการเชือมต่อกับ ระบบสาธารณสุขของประเทศในอนาคต ทําให้ร้านยาทีได้เป็นร้านยาคุณภาพจะได้รับการรับรองจากสภา เภสัชกรรมว่ามีการบริการทีดี มีเภสัชกรให้คําปรึกษาตลอดเวลาเปิดทําการ ยาดีมีคุณภาพ ทําให้ประชาชนมี ความมันใจในการซือยาและได้รับการบริการทีดีจากร้านยาคุณภาพ โดยร้านยาทีไม่สามารถยกระดับให้เป็น มาตรฐานเดียวกับร้านยาคุณภาพ ภายในกําหนด 8-9 ปี ก็จะถูกพิจารณาไม่ให้ต่อทะเบียนและใบอนุญาตขาย ยา (สมาคมร้านขายยา, ออนไลน์, 2554) จึงยิงเป็นการสนับสนุนให้ระดับความสําเร็จของผู้ประกอบการส่วน ใหญ่อยู่ในระดับสูง
  • 10. 10 ส่วนที 3 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการ ดําเนินธุรกิจ และความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการ ตารางแสดงความสัมพันธ์ของบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการ ดําเนินธุรกิจและความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการประเภทธุรกิจร้านยาคุณภาพในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตัวแปร (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) (13) (14) ( ) ระยะเวลาใน การศึกษา 1 (2) ประสบการณ์ ในการบริหาร .043 1 (3) ความชํานาญ ในวิชาชีพ -.029 -.143 1 (4) การวางแผน ล่วงหน้าอย่าง สมบูรณ์ -.296 -.155 -.087 1 (5) การวางแผน เฉพาะสิงสําคัญ .001 .125 .079 .435 1 (6) การแสวงหา โอกาส -.134 .317 .029 .214 .330 1 (7) การตังรับ -.123 -.127 -.092 .109 .253 .160 1 (8) ความเป็นตัว ของตัวเอง .233 .024 -.123 -.102 .182 .257 -.044 1 (9) ความมี นวัตกรรม -.138 .075 .060 .664* .345* .535** .022 .334 1 (10)ความกล้า เสียง -.144 -.107 .073 -.033 .359* -.025 -.101 .220 .206 1 (11) ความก้าวร้าว ในการแข่งขัน -.176 .052 .153 .042 .212 .165 .442* .310 .249 .024 1 (12) ความ สมําเสมอและ ใฝ่ใจในการเรียนรู้ .014 .138 -.323 -.203 -.472** -.321 -.342 -.012 -.272 -.072 -.435 1 (13)ความใฝ่ใจใน ความสําเร็จ -.003 -.103 -.090 -.126 -.044 -.004 -.047 .172 -.021 -.180 .321* .252 1 (14)ความสําเร็จ -.016 -.062 .078 .346* .343 .256 .095 .217 .385 .142 .070 -.306 .137 1 *p < .05, **p<.01 Pearson – Correlation Coefficient : Two-tailed, One-tailed.
  • 11. 11 จากการศึกษา พบว่า บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญ กลยุทธ์ในการดําเนิน ธุรกิจและความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์กันดังนี 1. บุคลิกการผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสําเร็จของผู้ประกอบการ บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมเพียงด้านเดียวเท่านันทีมีความสัมพันธ์ทางบวก กับความสําเร็จของผู้ประกอบการซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของเฟรเซอ , เคราส์และฟรายดิช (Frese, Krauss and Friedrich, 2000) ทีศึกษาผู้ประกอบการในประเทศซิมบับเว พบว่าความมีนวัตกรรมเป็นคุณลักษณะ หลักทีมีความสัมพันธ์กับความสําเร็จในการประกอบการของผู้ประกอบการ ทังนีข้อมูลจากการสัมภาษณ์ทํา ให้ทราบว่าร้านยาคุณภาพเป็นร้านยาทีเพิงเกิดขึนมาใหม่ มีกฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ รวมถึงมาตรฐาน แตกต่างจากร้านยาในรูปแบบเดิมมาก มีการวางระบบการเตรียมพร้อมทีจะนําร้านยาเข้าสู่มาตรฐานสากล มากขึน ทําให้ผู้ประกอบการธุรกิจร้านยาคุณภาพจะต้องมีการวางแผน มีความคิดริเริมเกียวกับสิงใหม่ๆ การคิดนอกกรอบ ไม่ยึดติดกับความคิดในแบบเดิมๆทีเน้นการขายยาเพียงอย่างเดียว ดังนันผู้ประกอบการที ต้องการความสําเร็จในธุรกิจได้นัน จึงจําเป็นต้องมีความคิดริเริมสร้างสรรค์ในสิงใหม่ๆอยู่เสมอ 2. กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสําเร็จในการประกอบการโดย พบว่ากลยุทธ์ในด้านการวางแผนอย่างสมบูรณ์เพียงด้านเดียวเท่านันทีมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ความสําเร็จในการประกอบการของผู้ประกอบการธุรกิจร้านยาคุณภาพ ด้วยการทีผู้ประกอบได้รับรู้เกียวกับ นโยบายและมาตรการภาครัฐทีต้องการวางโครงการให้ร้านยาคุณภาพเป็นส่วนหนึงในการเชือมต่อกับระบบ สาธารณสุขของประเทศในอนาคต ผลักดันให้ร้านยาทัวไปเป็นร้านยาคุณภาพ เพือลดภาระความหนาแน่น ของประชาชนทีจะเข้ามารับบริการจากโรงพยาบาลสามารถนําใบสังยาเบิกยาได้ทีร้านยาคุณภาพ โดยทีร้าน ยาคุณภาพจะได้รับสิทธิในการให้บริการในระบบประกันสังคม คือให้ผู้เอาประกันในระบบสังคมสามารถ ขอรับบริการด้านยาในโรคพืนฐานจากร้านยาคุณภาพเพิมเติมจากการเข้ารับบริการจากโรงพยาบาล หรือ คลินิกทีเป็นเครือข่ายโดยอาจกําหนดวงเงินในการใช้บริการต่อปี ดังนันกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจด้านการ วางแผนอย่างสมบูรณ์จึงมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสําเร็จของผู้ประกอบการ 3. บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์กับกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจดังนี 3.1 บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรม และความกล้าเสียง มีความสัมพันธ์ทางบวกกับกลยุทธ์ในด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ (r = .345 และ .359 ) ซึงจากการ สัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้ประกอบการ พบว่าผู้ประกอบการส่วนใหญ่ให้ความสําคัญและพร้อมทีจะปรับเปลียน เครืองมือและรูปแบบในการจัดสถานทีการจําหน่ายยาเพือให้สอดคล้องกับมาตรฐานทีกระทรวงสาธารณสุข กําหนดมาตรฐานของร้านยาคุณภาพแม้จะมีค่าใช้จ่ายเพิมมากขึนก็ตามเพราะเล็งเห็นให้ร้านยาคุณภาพเป็น ร้านยาตัวอย่างทีทําให้ประชาชนเกิดความมันใจว่าจะได้รับยาทีดีมีคุณภาพและคําปรึกษาในการใช้ยาอย่าง ถูกต้องและเหมาะสม
  • 12. 12 3.2 บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความใฝ่ใจในความสําเร็จมีความสัมพันธ์ ทางลบกับกลยุทธ์ในด้านการวางแผนเฉพาะสิงสําคัญ (r = -.472)อาจเป็นเพราะว่าผู้ประกอบการส่วนมาก เล็งเห็นความสําคัญในเรืองของหนทางทีนําไปสู่ความสําเร็จไม่ใช่แค่การวางแผนเฉพาะสิงสําคัญเพียงด้าน ใดด้านเดียวเท่านัน แต่ผู้ประกอบการจะมุ่งเน้นทังคุณภาพการให้บริบาลทางเภสัชกรรมคือการให้คําปรึกษา เกียวกับการใช้ยาควบคู่กันไปจึงทําให้ความใฝ่ใจในความสําเร็จมีความสัมพันธ์ทางลบกับการวางแผน เฉพาะสิงสําคัญ 3.3 บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมมีความสัมพันธ์ทางบวก กับกลยุทธ์ในด้านการวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์ อาจเป็นเพราะร้านยาคุณภาพยังเป็นร้านยาทีเพิงเกิด ขึนมาใหม่ ผู้ประกอบการต้องมีการศึกษาค้นคว้าแล้วพบว่าในอนาคตการเป็นร้านยาธรรมดาจะไม่สามารถ อยู่รอดได้จึงมีการวางแผนปรับเปลียนร้านยาของตนให้เป็นร้านยาคุณภาพนอกจากในอนาคตร้านยา คุณภาพจะสามารถดําเนินธุรกิจได้แล้ว ร้านยาคุณภาพยังเป็นอีกหน่วยงานหนึงทีรองรับเครือข่ายโครงสร้าง ระบบสาธารณสุข ส่งผลให้ผู้ทีเป็นผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพมีลักษณะการมองการณ์ไกล มีการวางแผน มีความคิดริเริมใหม่ๆ และกล้าตัดสินใจดังนันบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมจึงมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับกลยุทธ์ด้านการวางแผนล่วงหน้าอย่างสมบูรณ์ 3.4 บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมมีความสัมพันธ์กับกล ยุทธ์ในด้านการแสวงหาโอกาส (r = .535) ซึงแสดงให้เห็นว่า ผู้ประกอบการธุรกิจร้านยาคุณภาพทีมี ความคิดริเริมในการเพิมเติมสินค้าหรือบริการ การปรับเปลียนรูปแบบของร้าน รวมทังการนําโปรแกรมการ จัดการร้านยาเข้ามาเพิมเติมแสวงหาโอกาสใหม่ๆ เพือเป็นจุดดึงดูดความสนใจและความมันใจแก่ผู้เข้ารับ บริการมากขึน ตามทีได้อธิบายข้างต้น จึงทําให้สอดคล้องกับบุคลิกการของผู้ประกอบการด้านความมี นวัตกรรมมีความสัมพันธ์กับกลยุทธ์ในด้านการแสวงหาโอกาส 3.5 บุคลิกการเป็นผู้ประกอบด้านความก้าวร้าวในการแข่งขันมีความสัมพันธ์ กับกลยุทธ์ในการตังรับ (r =.442) แสดงให้เห็นว่าด้วยลักษณะธุรกิจร้านยาเป็นธุรกิจบริการเฉพาะวิชาชีพ มี กฎหมายทีเรียกว่า “พระราชบัญญัติยา” ควบคุมการดําเนินงานโดยตรง เพราะยาเป็นสิงจําเป็นและสําคัญต่อ ชีวิตมนุษย์ การใช้ยาโดยไม่มีความรู้ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อาจจะส่งผลเสียหรืออันตรายต่อผู้ใช้บริการได้ จึงควรได้รับคําแนะนําในการใช้ยาอย่างถูกต้องและเหมาะสม ซึงทําให้ลักษณะธุรกิจของร้านยาเป็นการรอ ลูกค้าหรือผู้ป่วยเข้ามาใช้บริการมากกว่าการออกไปโฆษณาเรียกลูกค้าเข้ามาในร้าน และเมือลูกค้าเข้ามาใช้ บริการแล้วผู้ประกอบการจะพยายามทําการต่างๆให้ลูกค้าเกิดความประทับใจ ไม่ว่าจะเป็นเรืองคําแนะนําใน การใช้ยา และเรืองของราคายา เพือดึงดูดให้ลูกค้ากลับเข้ามาใช้บริการในครังต่อไป จึงสอดคล้องกับบุคลิก การเป็นผู้ประกอบการด้านความก้าวร้าวในการแข่งขันมีความสัมพันธ์กับกลยุทธ์ในด้านการตังรับ 4. ความสามารถในการทํานายความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ ด้วยบุคลิกการเป็น
  • 13. 13 ผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชํานาญและกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ จากการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบ ขันตอน พบว่ามีเพียงบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการเพียงด้านเดียวเท่านันทีสามารถทํานายความสําเร็จในการ ประกอบการได้ซึงความมีนวัตกรรมสามารถทํานายความสําเร็จได้ร้อยละ14.9 อธิบายได้ว่าถ้า ผู้ประกอบการมีบุคลิกด้านความนวัตกรรมเพิมขึนก็จะทําให้มีความสําเร็จของผู้ประกอบการเพิมขึน สรุปผลการวิจัย ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมเป็นเพียงบุคลิกด้าน เดียวเท่านันทีส่งผลต่อความสําเร็จของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ ส่วนภูมิความรู้ความชํานาญและกล ยุทธ์ทางธุรกิจนัน ไม่ได้ส่งผลต่อความสําเร็จของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ นันแสดงให้เห็นว่า ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพเป็นผู้ทีมีลักษณะความคิดใหม่ๆ ไม่ได้ยึดติดกับแนวคิดเดิมๆ โดยผู้ทีจะมา ประกอบธุรกิจร้านยาคุณภาพได้นันจะต้องเป็นผู้ทีมีส่วนร่วมในระบบสาธารณสุข หรือเป็นเภสัชกร เพราะ รูปแบบของธุรกิจร้านยาคุณภาพเป็นธุรกิจทีเป็นรูปเบบกึงพาณิชย์ คือไม่ได้มุ่งเน้นผลกําไรเพียงอย่างเดียว แต่เน้นใช้วิชาชีพในการบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ประชาชนโดยทัวไปมากกว่า และมองต่อว่าร้านยาคุณภาพ จะเป็นร้านยาทีอยู่ภายใต้เครือข่ายทีกระทรวงกําหนดให้เป็นหนึงในเครือข่ายของระบบสาธารณสุข ฉะนัน หากผู้ทีกําลังมองหาและต้องการจะลงทุนในการทําธุรกิจร้านยาคุณภาพ โดยมองว่าจะส่งผลให้ประสบ ความสําเร็จและก่อให้เกิดผลกําไรมากมายนันคงไม่ใช่หนึงในการลงทุน ดังทีอธิบายไว้ข้างต้น แต่ต่อไปใน อนาคตร้านยาธรรมดาทังหมดจะต้องถูกเปลียนแปลงให้เป็นร้านยาคุณภาพทีมีมาตรฐานเดียวกันเพือลด ความแออัดของคนไข้ในโรงพยาบาล โดยโรงพยาบาลจะทําหน้าทีแค่ตรวจรักษาและทําการออกใบสังยา เท่านัน คนไข้จะไม่รับยาจากโรงพยาบาลดังนันบทบาทต่อไปในอนาคตของร้านยาคุณภาพ คือ ผู้ป่วยนอก จะต้องไปรับเบิกจ่ายยาและรับยาจากร้านยาคุณภาพเท่านัน ข้อเสนอแนะสําหรับผู้ประกอบการและหน่วยงานทีเกียวข้อง 1. ภาครัฐควรส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจร้านยาให้มุ่งสู่ความเป็นมาตรฐานมากขึนโดย ภาครัฐจะต้องช่วยดูแลและควบคุมในการประกอบกิจการธุรกิจร้านยาและต้องเข้มงวดให้มากขึนในการ บังคับใช้กฏหมายธุรกิจร้านยา เพือยกระดับมาตรฐานร้านยาโดยทัวไปให้ได้รับการรับรองมาตรฐานเดียวกับ มาตรฐานร้านยาคุณภาพตามทีได้กําหนดไว้ในประกาศของกระทรวงสาธารณสุข 2. รัฐควรจะมีการประชาสัมพันธ์ในเรืองร้านยาคุณภาพแก่ประชาชนทราบว่าร้านยา คุณภาพมีข้อดีในการเลือกเข้ารับบริการแตกต่างจากร้านยาคุณภาพอย่างไร เพราะจากการเข้าสัมภาษณ์และ เก็บข้อมูลจริง พบว่าผู้เข้ารับบริการหรือประชาชนโดยทัวไปไม่ทราบว่าร้านยาคุณภาพมีข้อดีและแตกต่าง จากร้านยาโดยทัวไปอย่างไร มิฉะนันจะทําให้การจัดระเบียบให้ร้านยาอยู่ในมาตรฐานเดียวกันและยกระดับ
  • 14. 14 ร้านยาให้เป็นหน่วยงานทีจะเชือมต่อกับระบบสาธารณสุขเพือประโยชน์แก่ประชาชนในอนาคตคงเป็นเรือง ทีทําได้ยาก 3. จากผลการวิจัยเกียวกับความสําเร็จของผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่าบุคลิกผู้ประกอบการด้านความมีนวัตกรรมมีความสัมพันธ์กับ ความสําเร็จเพียงด้านเดียว ดังนันแล้วหน่วยงานของสภาเภสัชกรรม สมาคมเภสัชกรรมชุมชน(ประเทศไทย) สมาคมร้านขายยา ชมรมร้านขายยาแห่งประเทศไทย และศูนย์ประสานการศึกษาเภสัชศาสตร์ นําข้อมูลการ วิจัยในครังนีไปเป็นแนวทางในการคัดเลือก การฝึกอบรมเภสัชกรให้เป็นผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพนัน ควรพัฒนาบุคลิกด้านความมีนวัตกรรมจึงจะก่อให้เกิความสําเร็จแก่ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพต่อไปใน อนาคต 4. หน่วยงานทีเกียวข้องควรมีการฝึกอบรมพัฒนาและเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่ ทางด้านการวางแผนธุรกิจ และการบริหารจัดการ เพือสร้างความรู้และแนวทางปฏิบัติให้กับผู้ประกอบการ ให้เกิดการพัฒนาแนวความคิดต่างๆ นอกเหนือจากการอบรมพัฒนาเรืองยาและโรคใหม่ๆ ซึงจะส่งผลให้ ผู้ประกอบการมีโอกาสพัฒนาช่องทางทางธุรกิจของตนได้มากขึน เป็นการวางแผนระยะยาวสําหรับธุรกิจ ให้ยังยืนต่อไปในอนาคต ทําให้ผู้ประกอบการประสบความสําเร็จมากยิงขึน ข้อเสนอแนะเพือการวิจัยครังต่อไป 1. เพิมจํานวนกลุ่มตัวอย่างให้มากขึน เพือให้ผลการวิจัยทีได้สามารถนําไปขยายผลอธิบาย ความสําเร็จได้ชัดเจนมากขึน 2. การศึกษาวิจัยในครังนีเป็นการศึกษาผู้ประกอบธุรกิจร้านยาคุณภาพในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลเท่านัน ดังนันในการศึกษาวิจัยครังต่อไป ควรจะทําการศึกษาผู้ประกอบการธุรกิจร้านยา คุณภาพในจังหวัดอืนๆเพือเปียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทีใช้ในการศึกษาว่ามีความเตกต่าง อย่างไรในแต่ละพืนที 3. ควรมีการขยายการศึกษาวิจัยในผู้ประกอบการในธุรกิจอืนๆของไทยไม่ว่าจะเป็น ปัจจัยทีได้ทําการศึกษาในครังนี หรือจะเป็นปัจจัยอืนๆเพิมเติม ยิงหากมีการขยายขอบเขตของการศึกษาไป ในทุกส่วนภาคธุรกิจของไทย ไม่ว่าจะเป็นภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้าทังการค้าปลีกและส่ง รวมทังธุรกิจ บริการ อีกทังหากขยายผลไปในทุกภาคส่วนของประเทศให้ครบถ้วนก็จะเป็นประโยชน์อย่างยิงต่อการ เข้าใจและเห็นภาพรวมของคววามสําเร็จ เพือจะได้นําข้อมูลทีได้ไปปรับปรุงและพัฒนาผู้ประกอบการต่อไป รายการอ้างอิง ประสิทธิ วงศ์นิจศีล. ร่าง พ.ร.บ.ยาใหม่. สืบค้นเมือวันที 20 มีนาคม 2554. จาก http://www.cdsdrug.com/ubmthai-smf/index.php?topic= . .
  • 15. 15 รณรงค์ศรีจันทรนนท์.(2548).รูปแบบความสัมพันธ์และการสร้างสมการทํานายกลยุทธ์ในการ ดําเนินธุรกิจ และภูมิความรู้ความชํานาญทีมีผลต่อความสําเร็จของผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดย่อม ในอุตสาหกรรมแม่พิมพ์โลหะและพลาสติก ในเขตกรุงเทพและ ปริมณฑล.วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์,สาขา จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ. วงการแพทย์.เกาะติดสถานการณ์ อนาคตร้านยาคุณภาพกับการต่ออายุการรับรองคุณภาพฯ. สืบค้นเมือวันที7 ตุลาคม 2553, จาก http://www.medicthai.com/admin/news_cpe_detail.php?id= วรรณา ฉายาวัฒนะ. (2544). รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผู้ประกอบการ ภูมิ ความรู้ความชํานาญ และความสําเร็จของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมขนาดย่อม ในอุตสาหกรรมแม่พิมพ์โลหะและพลาสติกในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ. สมาคมร้านขายยา.พลิกแผนการตลาดในร้านขายยา.สืบค้นเมือวันที 15 มกราคม2554, จาก http://thaipharmacies.org/knowledge/marketing/ -marketing-plan.html สภาเภสัชกรรม (2546). มาตรฐานร้านยา. โครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพร้านยาโดยความ ร่วมมือระหว่างสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาและสภาเภสัชกรรม กรุงเทพฯ. สํานักงานโครงการพัฒนาร้านยา กองควบคุมยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง สาธารณสุข.สืบค้นเมือวันที 25 สิงหาคม2553,จาก http://newsser.fda.moph.go.th/advancepharmacy/ /research.php สํานักงานสถิติแห่งชาติ. (2546). รายงานผลการสํารวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกียวกับการ ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทรักษาทุกโรค) พ.ศ.2546. สืบค้นเมือวันที 10 ตุลาคม 2553, จาก http://www.nso.go.th/thai/stat/summary/thirty_baht/thirty_baht.pdf สํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ,“แผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมฉบับที 2 (พ.ศ.2550 – 2554 )” สวัสดิการกรมพัฒนาธุรกิจการค้า.(2548).ธุรกิจ SMEs ON Air.คู่มือประกอบการมืออาชีพ เล่ม7 น.48-49.กรุงเทพมหานคร. ซี.พี.บุ๊คสแตนดารต์. Bhide, A., Stevenson, H.H., Roberts, M.J &Sahlman. W. A. (1999). The Entrepreneurial Venture, Harvard Business School. Box, T.M. Beisel, J.L. and Walts, L.R. (June 1995) .Thaiempirical investigation ofindividual difference, background and scanning behavior. Academy of Entrepreneurship Journal.
  • 16. 16 1, 18-25. Retrieved 17January 2011, from http : // www.alliedacademies.org/entrepreneurship/aej 1-1.pdf. Keyser Madalief, Machlien de Kruit, and Frese Michael.(2000). The Psychological Strategy Process and Sociodemographic Variables as Predictors of Success for Micro-and Small- Scale Business Owner inAfrica :A New Psychological Approach, 55-76. Krauss,S.I.,Frese and Friendrich.(2005).EntrepreneurialOrientation : A Psychological model of successamoung southern African small business owners. European Journal of Work & Organizational Psychology,14(3),315-344 Krauss, S.I.,Frese and Friedrich. (2005). Entrepreneurial Orientation : A Psychological Model of success among southern African small business owners.EuropeanJournal of Work & Organization Psychologist, 30, 553-561. Marshall,M.I. and Oliver,W.N.(2005). The Effects of Human, Financial, and Social Capital on the Entrepreneurial Process for Entrepreneurs in Indiana, Retrieved 28 January, 2011, from http://www.aeaweb.org/annual_mtg_papers/2005/0107_0800_0404.pdf Megginson, William L.( 2003). Small Business Management : An Entrepreneur’s Guidebook, McGraw-Hill. Michael Frese(2000).Success and Failure of Microbusiness Owners in Africa . Westport Connecticut : Quorum Books. Miner,J.B.,Bracker,Jeffrey S.,and Smith,Norman R.(1989).Role of Entrepreneurial Task Motivation inthe Growth ofTechnologically Innovative Firms . Journal of Applied Psychology,74(4),554-560. Rose, R. CH., N. Kumar and L. L. Yen (2006). “Entrepreneurs Success Factors and Escalation of Small and Medium-Sized Enterprises in Malaysia,” Journal of Social Sciences, 2(3), 74- 80. Sally, P. Caird, “What Do Psychology Tests Suggest about Entrepreneur?.” Journal of Managerial Psychology 8 (1993) : 11-20. Siropolis, Nicholas.(1994). Small Business Management : A Guide to Entrepreneurship, New Jersey : Houghton Mifflin Company. ฯลฯ