SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ดวงดาว
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ธนัญญา แก้ววงศ์วาล เลขที่ 33ชั้น ม. 6 ห้อง 14
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ดวงดาว
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) star
ประเภทโครงงาน โคงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน ธนัญญา แก้ววงศ์วาล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปฏิกิริยาฟิชชั่นมีผลต่อกาเนิด ของดวงดาวหรือไม่ความจริงแล้ว ปฏิกิริยาที่มีผลต่อกาเนิดของ ดวงดาวคือปฏิกิริยา
ฟิวชั่น ปฏิกิริยาฟิชชั่นคือปฏิกิริยาที่ นิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่ อย่างเช่น ยูเรเนียม แตกตัวออกโดยปล่อย พลังงาน
มหาศาลออกมาด้วย ส่วนปฏิกิริยาฟิวชั่นคือปฏิกิริยาที่เกิดจากการรวมตัวกันของนิวเคลียร์ขนาด ใหญ่ และก็ ปล่อย
พลังงานออกมาเช่นกัน กลุ่มก๊าซที่รวมตัวกัน กลายเป็น กาเนิดของดวงดาวอย่างเช่นดวงอาทิตย์นั้นจะเกิดขึ้นเมื่อ
เกิดปฏิกิริยา ฟิวชั่นที่จุดศูนย์กลาง ซึ่งเรียกเหตุการณ์นี้ว่าการกาเนิดของดวงดาว แล้วก๊าซจาเป็นต่อกระบวนการ
กาเนิดดวงดาวหรือไม่ ไม่มีการระบุชนิดของก๊าซลงไปแน่นอนนักว่า ชนิดใดที่จาเป็น อย่างเช่น ในกลุ่มดวงดาว
หนึ่งๆ มีปริมาณ ก๊าซไฮโดรเจนอยู่เป็นจานวนมากซึ่งการที่ก๊าซไฮโดรเจนเกิดการรวมตัวกัน ที่จุดศูนย์กลางของ
กลุ่มก๊าซทาให้เกิด กระบวนการกาเนิดดวงดาวขึ้น แต่ถ้าในกลุ่มก๊าซใดที่มีก๊าซคาร์บอนอยู่มาก ก็สามารถเกิดการ
รวมตัว ของกลุ่มก๊าซ ที่ทาให้เกิดดวงดาวอีกชนิดหนึ่ง จะเห็นว่ากลุ่มก๊าซต่างชนิดกัน ก็จะให้กาเนิดดวงดาวที่
แตกต่างกันด้วย อาจจะต่างกันในรูปของขนาด ที่มีทั้งใหญ่เล็ก หรือความสว่างของดวงดาว ส่วนของกาแลกซี่ที่มี
กาเนิดของดวงดาวมาก จะอยู่ในบริเวณที่กลุ่มเมฆของก๊าซที่หนาแน่นมาก ซึ่งกลุ่มเมฆที่มีความเหมาะสม ส่วน
ใหญ่แล้วจะมี ก๊าซไฮโดรเจนอยู่ด้วย เรียกว่า Molecular Clouds กลุ่มของดาวดวงใหม่ที่เกิดขึ้นจะพบเห็น
มากใกล้ๆMolecular Clouds ดวงดาวจะต้องมีความร้อนมากเท่าไร จึงจะถือกาเนิดขึ้นมาได้หรืออักนัย
หนึ่ง ก็คือที่อุณหภูมิเท่าไหร่ที่ปฏิกิริยาฟิวชั่น จะเกิดขึ้นคาตอบก็คือ ประมาณ 10 ล้านองศาเคลวิน หรือ 20 ล้าน
3
องศาฟาร์เรนไฮต์ซึ่งที่อุณหภูมินี้มีผลต่อปฏิกิริยาฟิวชั่นที่เกิดขึ้นคือ นิวเคลียสของไฮโดรเจนซึ่งเป็นโปรตอน จะ
รวมตัวกันกับอีกตัวที่มีประจุไฟฟ้าเดียวกันแต่เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้ว ว่าประจุไฟฟ้า เหมือนกันจะผลักกัน การที่
ไฮโดรเจน จะรวมตัวกันได้ตามปฏิกิริยาฟิวชั่นนั้น ต้องใช้ความเร็วอย่างสูงที่จะเอาชนะแรงผลักนั้นได้เหมือนกับ
คุณมีลูกโป่ง อยู่รอบเอวของคุณ ทาให้คุณไม่สามารถ เอา มือแตะผนังได้ทางเดียวที่จะทาได้ก็คือคุณจะต้องถอย
หลัง และวิ่งอย่างเร็วและสุดแรงเพื่อที่จะเอาชนะแรงดันอากาศ ภายในลูกโป่งจนสามารถเอามือแตะผนังได้
เช่นเดียวกับดวงดาวที่โปรตอนหลายๆ ตัว ต่างวิ่งอย่างรวดเร็วเพื่อเข้าใกล้กันมากที่สุด เมื่ออนุภาคของก๊าซมี
ความเร็วสูงก็ทาให้เกิดความร้อนขึ้นสูงด้วย อุณหภูมิก็คือการวัดความเร็ว ในการเคลื่อนที่ของอนุภาคก๊าซนั่นเอง
แล้วคุณคิดว่ากาเนิดของดวงดาว จะใช้เวลานานเท่าไหร่ การกาเนิด ดวงดาวอย่างดวงอาทิตย์นั้นใช้เวลา ยาวนานถึง
หลายสิบล้านปี เมื่อกลุ่มก๊าซ ที่ทาให้เกิดดวงอาทิตย์มีความหนาแน่น ระหว่างดวงดาวมาก และมีรูปทรงกลม ที่มี
รัศมีใหญ่มาก (เมื่อเปรียบเทียบกับ ดวงอาทิตย์) นาดของมัน จะเริ่มหดตัวและบีบแน่นขึ้นจนกระทั่งความร้อน
เพิ่มขึ้นสูง ถึง 10 ล้านองศาเคลวินซึ่งทาให้เกิด ปฏิกิริยาฟิวชั่น การหดตัวนั้นจะเกิดขึ้นได้เมื่อพื้นผิวของทรงกลมมี
การสูญเสียพลังงาน (ไม่มีแสงสว่าง) วัตถุเริ่มอยู่นิ่งภายใต้น้าหนักตัวของมันเอง เมื่ออุณหภูมิสูง ถึง 10 ล้านองศา
เคลวิน ปฏิกิริยาฟิวชั่น เริ่มขึ้นจะมีการปล่อยพลังงานออกมา เป็นจานวนมากซึ่งจะทดแทนพลังงาน ที่ สูญเสียไป
บริเวณพื้นผิว ซึ่งทาให้รูปทรงกลมหยุดการ ดึงดูดกัน เริ่มเป็นดวงดาวเหมือนดวงอาทิตย์กระบวนการการสูญเสีย
พลังงานและ หดตัวในขณะที่อุณหภูมิที่จุดศูนย์กลางสูงขึ้นเมื่อมีความดันมากขึ้น นี้ ใช้เวลา มากกว่า 10 ล้านปี จะ
เห็นว่าต้องใช้ระยะเวลายาวนานกว่าที่ดวงดาวจะถือกาเนิดขึ้นมาได้ซึ่งมนุษยชาติก็เฝ้ามองการเปลี่ยนแปลง ของ
ดวงดาวที่เกิดขึ้น ตลอดเวลา เนื่องจากอาจจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของระบบสุริยจักรวาลที่เรากาลังอาศัยอยู่ก็ได้
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นแนวทางการศึกษาสอนเรื่องเกี่ยวกับดวงดาว
2.เพื่อสร้างและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์
3. เพื่อทบทวนความรู้ตัวเอง
ขอบเขตโครงงาน
สร้างสื่อวีดีทัศน์ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับดวงดาว โดยใช้โปรแกรม Ulead video studio 11 ในการ
ตัดต่อวีดีทัศน์
1.การวางแผนผลิต
2.การเขียนบท
3.การเตรียมวัสดุอุปกรณ์
4.การบันทึก
4
หลักการและทฤษฎี
การเกิดปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ แรงโน้มถ่วงจากดาวเคราะห์ที่มองไม่เห็นทาให้ดาวฤกษ์แกว่งไปมา
การเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์ทาให้เกิดการเลื่อนของสเปกตรัมซึ่งนักดาราศาสตร์สามารถวัดและค้นพบ
ดาวเคราะห์ได้โดยที่ไม่ต้องมองเห็นดาวเคราะห์"
จากการสารวจดาวฤกษ์ที่อยู่ในละแวกบ้านใกล้เรือนเคียงกับโลกเราจานวน 2,000 ดวงด้วยกล้อง
โทรทรรศน์เชนของหอดูดาวลิกที่ตั้งอยู่บนเขาแฮมิลตัน ซานโฮเซ แคลิฟอร์เนีย และหอดูดาวดับเบิลยู.
เอ็ม.เคกในมานาเคอา ฮาวาย นักดาราศาสตร์ต้องวัดความเร็วของดาวกว่า320 ครั้งกว่าจะแยกแยะ
สัญญาณจากดาวเคราะห์แต่ละดวงได้
ระบบสุริยะของดาว 55 ปูนี้เป็นระบบแรกนอกจากดวงอาทิตย์ที่มีดาวเคราะห์ถึง 5 ดวง มีดาวเคราะห์
แก๊สยักษ์ที่มีวงโคจรคล้ายดาวพฤหัสบดีหนึ่งดวง ดาวเคราะห์ทุกดวงโคจรรอบดาวแม่เป็นวงเกือบ
กลมเช่นเดียวกับในระบบสุริยะของเรา
การค้นพบนี้ต้องอาศัยความบากบั่นเก็บสะสมข้อมูลอย่างต่อเนื่องที่หอดูดาวลิกมาเป็นเวลานาน
ถึง 18 ปี หรือเริ่มต้นก่อนที่จะมีการค้นพบดาวเคราะห์ของดาวฤกษ์อื่นดวงแรกเสียอีก
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-คิดหัวข้อโครงงาน
-ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
-ปฏิบัติการจัดทาโครงงาน
-ประเมินผลงาน
-นาเสนอโครงงานหน้าชั้นเรียน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-
งบประมาณ
-
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช
อบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทา
เอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
- ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่นามาเป็นบทเรียน เรื่อง ดวงดาว
- เพื่อต่อยอดให้กับคนรุ่นหลังได้นาไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
- เพื่อทบทวนความรู้ตนเองเกี่ยวกับเรื่องที่ทา
6
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.sunflowercosmos.org/cosmology/cosmology_main/a_stars_1.html
http://lilili-l3odin-ililil.exteen.com/page-6
http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-371.html

More Related Content

What's hot

2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
rungthiwa_
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
Ja Palm
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
Ja Palm
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
bank2808
 

What's hot (20)

Project com 47
Project com 47Project com 47
Project com 47
 
2561 project 9999
2561 project    99992561 project    9999
2561 project 9999
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทย
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 
2561 project computer
2561 project  computer2561 project  computer
2561 project computer
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
608 23 projet
608 23 projet608 23 projet
608 23 projet
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
มม
มมมม
มม
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
2562 final-project-14
2562 final-project-142562 final-project-14
2562 final-project-14
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
45 604
45 60445 604
45 604
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 

Similar to Comkik

Similar to Comkik (20)

Tamn
TamnTamn
Tamn
 
project มหัศจรรย์โลมา
project มหัศจรรย์โลมา project มหัศจรรย์โลมา
project มหัศจรรย์โลมา
 
Keatfa kanjanaviboon no1
Keatfa kanjanaviboon no1Keatfa kanjanaviboon no1
Keatfa kanjanaviboon no1
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
มหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมามหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมา
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 
Project com-31
Project com-31Project com-31
Project com-31
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project -3
2560 project -32560 project -3
2560 project -3
 
2562 final-project 615 12
2562 final-project 615 122562 final-project 615 12
2562 final-project 615 12
 
2562 final-project 615 12
2562 final-project 615 122562 final-project 615 12
2562 final-project 615 12
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลูกคนกลาง
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลูกคนกลางโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลูกคนกลาง
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลูกคนกลาง
 
Travel solo
Travel soloTravel solo
Travel solo
 
Travel solo
Travel soloTravel solo
Travel solo
 

More from TongGy1 (16)

Tonggyy
TonggyyTonggyy
Tonggyy
 
Kai
KaiKai
Kai
 
Aom
AomAom
Aom
 
Knot
KnotKnot
Knot
 
Merged (pdf.io)
Merged (pdf.io)Merged (pdf.io)
Merged (pdf.io)
 
P2
P2P2
P2
 
P1
P1P1
P1
 
Tan ti
Tan tiTan ti
Tan ti
 
Junne84
Junne84Junne84
Junne84
 
J une34
J une34J une34
J une34
 
Kookik 48
Kookik 48Kookik 48
Kookik 48
 
Kookik 48
Kookik 48Kookik 48
Kookik 48
 
Nathan mook
Nathan mookNathan mook
Nathan mook
 
Miw ji
Miw jiMiw ji
Miw ji
 
Nampuang
NampuangNampuang
Nampuang
 
Pattharadanai
PattharadanaiPattharadanai
Pattharadanai
 

Comkik

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ดวงดาว ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ธนัญญา แก้ววงศ์วาล เลขที่ 33ชั้น ม. 6 ห้อง 14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ดวงดาว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) star ประเภทโครงงาน โคงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน ธนัญญา แก้ววงศ์วาล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปฏิกิริยาฟิชชั่นมีผลต่อกาเนิด ของดวงดาวหรือไม่ความจริงแล้ว ปฏิกิริยาที่มีผลต่อกาเนิดของ ดวงดาวคือปฏิกิริยา ฟิวชั่น ปฏิกิริยาฟิชชั่นคือปฏิกิริยาที่ นิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่ อย่างเช่น ยูเรเนียม แตกตัวออกโดยปล่อย พลังงาน มหาศาลออกมาด้วย ส่วนปฏิกิริยาฟิวชั่นคือปฏิกิริยาที่เกิดจากการรวมตัวกันของนิวเคลียร์ขนาด ใหญ่ และก็ ปล่อย พลังงานออกมาเช่นกัน กลุ่มก๊าซที่รวมตัวกัน กลายเป็น กาเนิดของดวงดาวอย่างเช่นดวงอาทิตย์นั้นจะเกิดขึ้นเมื่อ เกิดปฏิกิริยา ฟิวชั่นที่จุดศูนย์กลาง ซึ่งเรียกเหตุการณ์นี้ว่าการกาเนิดของดวงดาว แล้วก๊าซจาเป็นต่อกระบวนการ กาเนิดดวงดาวหรือไม่ ไม่มีการระบุชนิดของก๊าซลงไปแน่นอนนักว่า ชนิดใดที่จาเป็น อย่างเช่น ในกลุ่มดวงดาว หนึ่งๆ มีปริมาณ ก๊าซไฮโดรเจนอยู่เป็นจานวนมากซึ่งการที่ก๊าซไฮโดรเจนเกิดการรวมตัวกัน ที่จุดศูนย์กลางของ กลุ่มก๊าซทาให้เกิด กระบวนการกาเนิดดวงดาวขึ้น แต่ถ้าในกลุ่มก๊าซใดที่มีก๊าซคาร์บอนอยู่มาก ก็สามารถเกิดการ รวมตัว ของกลุ่มก๊าซ ที่ทาให้เกิดดวงดาวอีกชนิดหนึ่ง จะเห็นว่ากลุ่มก๊าซต่างชนิดกัน ก็จะให้กาเนิดดวงดาวที่ แตกต่างกันด้วย อาจจะต่างกันในรูปของขนาด ที่มีทั้งใหญ่เล็ก หรือความสว่างของดวงดาว ส่วนของกาแลกซี่ที่มี กาเนิดของดวงดาวมาก จะอยู่ในบริเวณที่กลุ่มเมฆของก๊าซที่หนาแน่นมาก ซึ่งกลุ่มเมฆที่มีความเหมาะสม ส่วน ใหญ่แล้วจะมี ก๊าซไฮโดรเจนอยู่ด้วย เรียกว่า Molecular Clouds กลุ่มของดาวดวงใหม่ที่เกิดขึ้นจะพบเห็น มากใกล้ๆMolecular Clouds ดวงดาวจะต้องมีความร้อนมากเท่าไร จึงจะถือกาเนิดขึ้นมาได้หรืออักนัย หนึ่ง ก็คือที่อุณหภูมิเท่าไหร่ที่ปฏิกิริยาฟิวชั่น จะเกิดขึ้นคาตอบก็คือ ประมาณ 10 ล้านองศาเคลวิน หรือ 20 ล้าน
  • 3. 3 องศาฟาร์เรนไฮต์ซึ่งที่อุณหภูมินี้มีผลต่อปฏิกิริยาฟิวชั่นที่เกิดขึ้นคือ นิวเคลียสของไฮโดรเจนซึ่งเป็นโปรตอน จะ รวมตัวกันกับอีกตัวที่มีประจุไฟฟ้าเดียวกันแต่เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้ว ว่าประจุไฟฟ้า เหมือนกันจะผลักกัน การที่ ไฮโดรเจน จะรวมตัวกันได้ตามปฏิกิริยาฟิวชั่นนั้น ต้องใช้ความเร็วอย่างสูงที่จะเอาชนะแรงผลักนั้นได้เหมือนกับ คุณมีลูกโป่ง อยู่รอบเอวของคุณ ทาให้คุณไม่สามารถ เอา มือแตะผนังได้ทางเดียวที่จะทาได้ก็คือคุณจะต้องถอย หลัง และวิ่งอย่างเร็วและสุดแรงเพื่อที่จะเอาชนะแรงดันอากาศ ภายในลูกโป่งจนสามารถเอามือแตะผนังได้ เช่นเดียวกับดวงดาวที่โปรตอนหลายๆ ตัว ต่างวิ่งอย่างรวดเร็วเพื่อเข้าใกล้กันมากที่สุด เมื่ออนุภาคของก๊าซมี ความเร็วสูงก็ทาให้เกิดความร้อนขึ้นสูงด้วย อุณหภูมิก็คือการวัดความเร็ว ในการเคลื่อนที่ของอนุภาคก๊าซนั่นเอง แล้วคุณคิดว่ากาเนิดของดวงดาว จะใช้เวลานานเท่าไหร่ การกาเนิด ดวงดาวอย่างดวงอาทิตย์นั้นใช้เวลา ยาวนานถึง หลายสิบล้านปี เมื่อกลุ่มก๊าซ ที่ทาให้เกิดดวงอาทิตย์มีความหนาแน่น ระหว่างดวงดาวมาก และมีรูปทรงกลม ที่มี รัศมีใหญ่มาก (เมื่อเปรียบเทียบกับ ดวงอาทิตย์) นาดของมัน จะเริ่มหดตัวและบีบแน่นขึ้นจนกระทั่งความร้อน เพิ่มขึ้นสูง ถึง 10 ล้านองศาเคลวินซึ่งทาให้เกิด ปฏิกิริยาฟิวชั่น การหดตัวนั้นจะเกิดขึ้นได้เมื่อพื้นผิวของทรงกลมมี การสูญเสียพลังงาน (ไม่มีแสงสว่าง) วัตถุเริ่มอยู่นิ่งภายใต้น้าหนักตัวของมันเอง เมื่ออุณหภูมิสูง ถึง 10 ล้านองศา เคลวิน ปฏิกิริยาฟิวชั่น เริ่มขึ้นจะมีการปล่อยพลังงานออกมา เป็นจานวนมากซึ่งจะทดแทนพลังงาน ที่ สูญเสียไป บริเวณพื้นผิว ซึ่งทาให้รูปทรงกลมหยุดการ ดึงดูดกัน เริ่มเป็นดวงดาวเหมือนดวงอาทิตย์กระบวนการการสูญเสีย พลังงานและ หดตัวในขณะที่อุณหภูมิที่จุดศูนย์กลางสูงขึ้นเมื่อมีความดันมากขึ้น นี้ ใช้เวลา มากกว่า 10 ล้านปี จะ เห็นว่าต้องใช้ระยะเวลายาวนานกว่าที่ดวงดาวจะถือกาเนิดขึ้นมาได้ซึ่งมนุษยชาติก็เฝ้ามองการเปลี่ยนแปลง ของ ดวงดาวที่เกิดขึ้น ตลอดเวลา เนื่องจากอาจจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของระบบสุริยจักรวาลที่เรากาลังอาศัยอยู่ก็ได้ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเป็นแนวทางการศึกษาสอนเรื่องเกี่ยวกับดวงดาว 2.เพื่อสร้างและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ 3. เพื่อทบทวนความรู้ตัวเอง ขอบเขตโครงงาน สร้างสื่อวีดีทัศน์ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับดวงดาว โดยใช้โปรแกรม Ulead video studio 11 ในการ ตัดต่อวีดีทัศน์ 1.การวางแผนผลิต 2.การเขียนบท 3.การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 4.การบันทึก
  • 4. 4 หลักการและทฤษฎี การเกิดปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ แรงโน้มถ่วงจากดาวเคราะห์ที่มองไม่เห็นทาให้ดาวฤกษ์แกว่งไปมา การเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์ทาให้เกิดการเลื่อนของสเปกตรัมซึ่งนักดาราศาสตร์สามารถวัดและค้นพบ ดาวเคราะห์ได้โดยที่ไม่ต้องมองเห็นดาวเคราะห์" จากการสารวจดาวฤกษ์ที่อยู่ในละแวกบ้านใกล้เรือนเคียงกับโลกเราจานวน 2,000 ดวงด้วยกล้อง โทรทรรศน์เชนของหอดูดาวลิกที่ตั้งอยู่บนเขาแฮมิลตัน ซานโฮเซ แคลิฟอร์เนีย และหอดูดาวดับเบิลยู. เอ็ม.เคกในมานาเคอา ฮาวาย นักดาราศาสตร์ต้องวัดความเร็วของดาวกว่า320 ครั้งกว่าจะแยกแยะ สัญญาณจากดาวเคราะห์แต่ละดวงได้ ระบบสุริยะของดาว 55 ปูนี้เป็นระบบแรกนอกจากดวงอาทิตย์ที่มีดาวเคราะห์ถึง 5 ดวง มีดาวเคราะห์ แก๊สยักษ์ที่มีวงโคจรคล้ายดาวพฤหัสบดีหนึ่งดวง ดาวเคราะห์ทุกดวงโคจรรอบดาวแม่เป็นวงเกือบ กลมเช่นเดียวกับในระบบสุริยะของเรา การค้นพบนี้ต้องอาศัยความบากบั่นเก็บสะสมข้อมูลอย่างต่อเนื่องที่หอดูดาวลิกมาเป็นเวลานาน ถึง 18 ปี หรือเริ่มต้นก่อนที่จะมีการค้นพบดาวเคราะห์ของดาวฤกษ์อื่นดวงแรกเสียอีก วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -คิดหัวข้อโครงงาน -ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล -ปฏิบัติการจัดทาโครงงาน -ประเมินผลงาน -นาเสนอโครงงานหน้าชั้นเรียน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - งบประมาณ -
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช อบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทา เอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) - ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่นามาเป็นบทเรียน เรื่อง ดวงดาว - เพื่อต่อยอดให้กับคนรุ่นหลังได้นาไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม - เพื่อทบทวนความรู้ตนเองเกี่ยวกับเรื่องที่ทา
  • 6. 6 สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.sunflowercosmos.org/cosmology/cosmology_main/a_stars_1.html http://lilili-l3odin-ililil.exteen.com/page-6 http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-371.html