SlideShare a Scribd company logo
1 of 143
Download to read offline
การจัดการเชิงระบบ
(System management)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการนานวัตกรรมใหม่ๆ สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศไทย
ตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี มาใช้ในการจัดการองค์การที่ทันสมัย และมีความสอดคล้อง
กับยุคเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบัน รวมทั้งการจัดการเชิงกระบวนการ การจัดการเชิง
ปริมาณ การจัดการเชิงพฤติกรรม พฤติกรรมกลุ่ม การจัดการเชิงระบบ ทฤษฎี
แรงจูงใจภาวะผู้นา ธรรมาภิบาล จริยธรรมทางธุรกิจ
 The study of concepts and theories relating to modern management to
agree with Thailand’s 20-Year National Strategy and economic and social;
innovation and organizational changes; organizational behavior;
motivation theory; leadership; good governance; business ethics.
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
 การจัดการภาครัฐแนวใหม่
 ความหมายของระบบ
 ลักษณะของระบบ
 องค์ประกอบของระบบ
 การคิดเชิงระบบ Systems Thinking
 วิธีการเชิงระบบ (Systems approach)
 การวิเคราะห์ระบบ
การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ : The New Public Management : NPM
Change
Management
Globalization
Economic Crisis
High Financial burden
Bureaucratic of Governance
Big Organization
Competitiveness
Monopoly
New Technology
…
Public
Administration
Quality of life
การจัดการภาครัฐแนวใหม่
The New Public Management : NPM
Public
Administration
Quality of life
Process
การจัดการภาครัฐแนวใหม่
The New Public Management : NPM
แนวคิดสมัยใหม่
Quality of life
ยึดประชาชนเป็น
ศูนย์กลาง
กระจายอานาจ
(Decentralization)
ธรรมาภิบาล
(Good Governance)
การจัดการภาครัฐแนวใหม่
The New Public Management : NPM
มุ่งผลสัมฤทธิ์
เหตุผลที่ต้องนาแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้
กระแสโลกาภิวัตน์
บริบทสังคมโลกเปลี่ยนแปลง
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
ต้องเพิ่มศักยภาพและความยืดหยุ่นในการ
ปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองความต้องการของ
ระบบที่เปลี่ยนแปลงไป
ระบบราชการไทยมีปัญหาที่สาคัญ
ความเสื่อมถอยของระบบราชการ
ขาดธรรมาภิบาล
- ส่งผลบั่นทอนความสามารถในการ
แข่งขันของประเทศ
- เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมในอนาคตด้วย
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
ความหมาย
นาหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการ
แสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ
การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ
นาเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้
กับการบริหารงานภาครัฐ เช่น
1. การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
2. การบริหารงานแบบมืออาชีพ
การจัดการภาครัฐแนวใหม่
( New Public Management ) : NPM
เป็นแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการภาครัฐ
อันจะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของ
ภาครัฐและยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ที่เป็นรูปธรรม
การลดความเป็นระบบราชการ
(Reducing the Bureaucracy)
1. แนวโน้มทาให้ภาครัฐปรับเข้าสู่ระบบ
ตลาด (marketization)
2. แนวโน้มที่ภาครัฐจะไม่ใช้รูปแบบการจัด
โครงสร้างแบบราชการ
http://punyatida.blogspot.com/2015/08/max-weber.html
 ใช้แรงจูงใจทางการตลาด (market-style incentive) ในการจัดการภาครัฐ เช่น การ
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ (privatization) และการให้เอกชนเข้ามารับงานในรูปแบบของ
สัญญา (contract out) เพื่อทดแทนระบบดั้งเดิมที่รัฐเป็นผู้ดาเนินการเองทั้งหมดซึ่งมี
ต้นทุนสูงกว่าและมีประสิทธิภาพต่ากว่า
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
จะทาหน้าที่เป็นกลไกการบริหารของกลุ่มชน โดยผู้นาจะใช้อานาจที่มีอยู่ตาม
กฎหมายปกครอง บังคับบัญชาโดยผ่านระบบราชการ องค์การแบบระบบราชการตาม
แนวคิดของ Max Weber จะประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ 7 ประการดังนี้
1. หลักลาดับขั้น(hierarchy)
2. หลักความรับผิดชอบ (responsibility)
3. หลักแห่งความสมเหตุสมผล (rationality)
4. การมุ่งสู่ผลสาเร็จ (achievement orientation)
5. หลักการทาให้เกิดความแตกต่างหรือความชานาญเฉพาะด้าน
(differentiation, specialization)
6. หลักระเบียบวินัย (discipline)
7. ความเป็นวิชาชีพ (professionalization)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
 หลักการนี้ มีเป้าหมายที่จะทาให้องค์การต้องอยู่ภายใต้การควบคุม โดยเชื่อว่า การ
บริหารที่มีลาดับขั้น จะทาให้ระบบการสั่งการและการควบคุมมีความรัดกุม ทาให้การ
ดาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพการบริหารที่เน้นกฎเกณฑ์และขั้น
 ตามลาดับขั้นเริ่มมีปัญหา เพราะการทางานในปัจจุบันต้องการความรวดเร็ว คนต้องการ
เสรีภาพมากขึ้นประชาชนต้องการบริการที่สะดวกรวดเร็ว แต่ในองค์การขนาดใหญ่ที่ใช้
ระบบราชการ มีคนจานวนมาก แต่มากกว่าครึ่งจะอยู่ในตาแหน่งระดับผู้บริหาร
หัวหน้างาน กว่าจะตัดสินใจงานสาคัญๆต้องรอให้ผู้บริหาร 7-8 คนเซ็นอนุมัติตาม
ขั้นตอน และยังมีกฎเกณฑ์มากมาก ส่วนพนักงาน (ข้าราชการ) ระดับล่างจานวนมาก
ทั้งหมดมีหน้าทีทางานเอกสาร โดยการตรวจบันทึกของคนอื่นแล้วเขียนบันทึกส่งให้
เจ้านาย คาบันทึกหรือรายงานเต็มไปด้วยศัพท์อันหรูหรา นอกจากนี้ยังมีฝ่ายวางแผน
ฝ่ายวิชาการ เป็นผู้จัดทาแผนยุทธศาสตร์หนาปึกใหญ่ให้เจ้านาย
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
 เจ้าหน้าที่ทุกคนต้องมีความสานึกแห่งความรับผิดชอบต่อ การกระทาของตนความรับผิดชอบ
หมายถึง การ รับผิดและรับชอบต่อการกระทาใด ๆ ที่ (responsibility) ตนได้กระทาลงไปและ
ความพร้อมที่ จะให้มีการตรวจสอบโดยผู้บังคับบัญชาอยู่ตลอดเวลาด้วย
 อานาจ (authority) หมายถึงความสามารถในการสั่งการ บังคับบัญชา หรือกระทาการใด ๆ
เพื่อให้มีการดาเนินการ หรือปฏิบัติการต่าง ๆ ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายมา
- อานาจหน้าที่เป็นสิ่งที่ได้มาอย่างเป็นทางการตามตาแหน่ง
- อานาจหน้าที่และความรับผิดชอบจะต้องมีความสมดุลกันเสมอ
- การได้มาซึ่งอานาจในทัศนะของ Max Weber คือ การได้อานาจมาตามกฎหมาย
(legal authority)
- ภาระหน้าที่ (duty) หมายถึงภารกิจหน้าที่การงานที่ถูกกาหนด หรือได้รับมอบหมาย
ให้กระทา
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
 ความถูกต้องเหมาะสมของแนวปฏิบัติที่จะนามาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานให้
บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ
 ประสิทธิผล (effective) การทางานหรือการดาเนินกิจการใด ๆ ที่สามารถ
ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
 ประสิทธิภาพ (efficiency) ความสามารถในการที่จะใช้ทรัพยากรบริหารต่าง
ๆ ที่มีอยู่ ซึ่งได้แก่ คน เงิน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เวลาไปในทางที่จะ
ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการดาเนินงานนั้นได้มากที่สุด
 ประหยัด (economic) ความสามารถในการที่จะประหยัดทรัพยากรบริหาร
แต่สามารถที่จะให้บริการ หรือผลิตออกมาให้ได้ระดับเดิม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
 - การปฏิบัติงานใด ๆ จะต้องมุ่งสู่เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์การเสมอ
(ประสิทธิผล)
 - ประสิทธิผล หรือผลสาเร็จจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยปัจจัยอย่างน้อย 3 อย่างคือ
1. เจ้าหน้าที่ต้องมีหลักการและวิธีการในการตัดสินใจเลือกหนทางปฏิบัติได้อย่าง ถูกต้อง โดย
ถือหลัก ประสิทธิภาพ หรือ หลักประหยัด
หลักประสิทธิภาพ (efficiency) - ในระหว่างทางเลือกหลาย ๆ ทางที่จะต้องใช้จ่ายเงินเท่ากัน
ควรเลือกทางเลือกที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด
หลักประหยัด (economy) - ถ้ามีทางเลือกที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลได้เท่า ๆ กัน หลาย
ทางเลือก ควรเลือกทางเลือกที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด
2. ความมีประสิทธิผลในการบริหารงานจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีการแบ่งงานกันทาตามความชานาญ
เฉพาะด้าน
3. การบริหารจะได้รับประสิทธิผลสูงสุดต่อเมื่อมีการกาหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ ถูกต้อง
เหมาะสมกับลักษณะงาน สถานที่ ช่วงเวลา สภาพแวดล้อม ในทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ
เป้าหมายหรือผลสาเร็จที่ต้องการ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
 ลักษณะทางโครงสร้างขององค์การแบบระบบราชการ ต้องมีการแบ่งงาน และจัดแผนกงาน
หรือจัดส่วนงาน (departmentation) ขึ้นมา เพราะภารกิจการงานขององค์การขนาดใหญ่มี
จานวนมากจึงต้องมีการแบ่งงานที่ต้อง ทาออกเป็นส่วนๆ แล้วหน่วยงานมารองรับการจัดส่วน
งานอาจยึดหลักการจัดองค์การได้หลายรูปแบบ คือ
1. การแบ่งส่วนงานตามพื้นที่ เป็นการแบ่งงานโดยการกาหนดพื้นที่ที่ต้องรับผิดชอบไว้
อย่างชัดเจน และมีการกาหนดภาระกิจ บทบาท อานาจหน้าที่ ที่องค์การต้องบริหารจัดการไว้ด้วย
เช่น การแบ่งพื้นที่การบริหารราชการออกเป็น จังหวัด อาเภอ อ.บ.จ. อ.บ.ต. เทศบาล
2. การแบ่งงานตามหน้าที่ หรือภารกิจที่องค์การจะต้องปฏิบัติจัดทา เช่นการจัดแบ่ง
งานของกระทรวงต่างๆ เช่น กระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการคลัง
3. การแบ่งงานตามลูกค้า หรือผู้รับบริการ เช่น การแบ่งโรงพยาบาล ออกเป็น
โรงพยาบาลเด็ก โรงพยาบาลหญิง โรงพยาบาลสงฆ์
4. การแบ่งงานตามขั้นตอนหรือกระบวนการทางาน โดยคานึงว่างานที่จะทาสามารถ
แบ่งออกเป็นกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง แล้วกาหนดหน่วยงานมารองรับ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
 ต้องมีการกาหนดระเบียบ วินัย และบทลงโทษ ขึ้นมาเพื่อเป็นกลไกการควบคุมความ
ประพฤติของสมาชิกทุกคนในองค์การ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
- ผู้ปฏิบัติงานในองค์การราชการ ถือเป็นอาชีพอย่างหนึ่ง และต้องปฏิบัติงานเต็มเวลา
- ความเป็นวิชาชีพ “รับราชการ” นั้น ผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับ กฎ ระเบียบ
ข้อบังคับ ตลอดจนตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในภาระหน้าที่ของตนด้วย
ความสาเร็จของระบบราชการในอดีตเกือบ 100 ปี ที่ผ่านมา เพราะ
- มีวิธีการจัดองค์การที่มีระบบการทางานที่ชัดเจน ตั้งอยู่บนหลักการของความสมเหตุสมผล
- มีการใช้อานาจตามสายการบังคับบัญชา มีการแบ่งงานตามหลักความชานาญเฉพาะด้าน ทา
ให้ระบบราชการสามารถทางานที่มีขนาดใหญ่ และสลับซับซ้อนได้อย่างดี
- ระบบราชการพัฒนาและใช้มาในช่วงที่สังคมยังเดินไปอย่างช้า ๆ และเพิ่งปรับเปลี่ยนมาจาก
สังคมศักดินา ประชาชนยังไม่ตื่นตัวในเรื่องสิทธิเสรีภาพ
- ผู้มีอานาจในระดับสูงยังเป็นผู้มีข้อมูลที่มากพอต่อการตัดสินใจได้ดีกว่าคนในระดับล่าง หรือ
ประชาชนทั่วไป
- คนส่วนใหญ่ยังมีความจาเป็นและต้องการบริการสาธารณะจากรัฐเหมือน ๆ กัน เช่นบริการ
ทางด้านการรักษาพยาบาล การศึกษา สาธารณูปโภคต่าง ๆ องค์การภาครัฐที่บริหารแบบระบบราชการจึง
สามารถดาเนินงานได้อย่างไม่มีปัญหามากนัก
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
ข้อดีของระบบราชการ
1.วิธีการจัดรูปแบบองค์การที่มีกฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และขั้นตอนการ
ทางานที่ชัดเจน สามารถป้องกันการใช้อานาจตามอาเภอใจได้ เพราะการทางานต้อง
เป็นไปตามขั้นตอน กฎเกณฑ์ และมีหลักฐานเสมอ
2. การทางานตามระบบราชการ เปรียบเสมือนการผลิตสิ่งของด้วยเครื่องจักร
สามารถผลิตสิ่งของออกมาตามมาตรฐานที่กาหนดไว้
3.การสั่งการตามสายการบังคับบัญชา และการแบ่งงานกันทาตามความชานาญ
เฉพาะด้าน ช่วยทาให้ระบบราชการสามารถทางานขนาดใหญ่ ที่มีความสลับซับซ้อนได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
4.การที่ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องทางานตามขั้นตอน กฎระเบียบและ มีหลักฐาน
อย่างสมเหตุสมผล ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างบุคคล และหน่วยงาน ต่าง ๆ ได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
1.การทางานตามระเบียบ ข้อบังคับ ทาให้คนต้องทาตามขั้นตอน กฎเกณฑ์ต่าง ๆ อย่าง
เคร่งครัด ทาให้การทางานเต็มไปด้วยเอกสาร เกิดความล่าช้า เฉื่อยชา ซึ่งอาจนามาซึ่งการขาด
ประสิทธิภาพ
2. การบริหารตามลาดับขั้น ทาให้เกิดการทางาน แบบรวมศูนย์ รวมอานาจไว้ที่ผู้บริหาร
ระดับสูง อาจก่อให้เกิดปัญหาการใช้อานาจโดยมิชอบ และเกิดความไม่คล่องตัวในการทางานของ
ผู้ปฏิบัติงาน
3.ระบบราชการ มองคนเป็นแค่วัตถุ สิ่งของ คนที่ทางานในองค์กร จึงไม่มีบทบาทอะไร
เลย เพราะต้องทาตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา ทาให้คนกลายเป็นหุ่นยนต์ (yes man or
organization man) เพราะไม่สามารถตัดสินใจทาอะไรได้เอง
4.ระบบราชการ เป็นรูปแบบการจัดองค์กรที่แข็งเหมือนกรงเหล็ก(iron cage) ขาดความ
ยืดหยุ่นและต่อต้านการเปลี่ยนแปลงเพราะการทางานที่เน้นรูปแบบที่เป็นทางการเป็นลายลักษณ์
อักษร
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
ยกเครื่องระบบราชการ (Reinventing Government)
การบริหารแบบผู้ประกอบการ
1. ต้องมีการส่งเสริมการแข่งขันระหว่างผู้ให้บริการ
2. ต้องมีการให้อานาจแก่พลเมือง
3. ต้องมีการเน้นเป้าหมาย และภารกิจ
4. ต้องไม่มุ่งเน้นกฎเกณฑ์และระเบียบต่างๆ มากจนเกินไป
5. ต้องมีการให้คาจากัดความผู้รับบริการ(ประชาชน) ใหม่ว่าเป็น “ลูกค้า” / ต้องเสนอ
ทางเลือกต่างๆ ให้
6. ต้องมีการป้องกันปัญหาก่อนที่จะเกิดขึ้น(รู้จักวิเคราะห์ความเสี่ยง)
7. ต้องมีการหาทางได้มาซึ่งรายได้ก่อน ไม่ใช่เอาแต่การใช้จ่าย
8. ต้องมีการกระจายอานาจหน้าที่ขณะเดียวกันมีการเน้นการมีส่วนร่วมในการบริหาร
จัดการมากขึ้น
9. ต้องมีการให้ความสนใจเรื่องของ “กลไกตลาด” มากกว่า “กลไกของระบบราชการ”
10. ต้องมีการกระตุ้นให้ทุกภาคไม่ว่าภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้งพวกอาสาสมัคร
ร่วมกันแก้ไขปัญหาชุมชน
Osborne & Gaebler, 1992 ,รัฐบาลสหรัฐฯ ยุคคลินตัน
การพัฒนาระบบราชการอังกฤษ
- ยุค Margaret Thatcher ปี 1979 : Thatcherism
- ลดขนาดราชการและเพิ่มประสิทธิภาพ
- ลดภาระผู้เสียภาษีและดึงเอกชนมาจัดบริการ
- สาเหตุจากเงินเฟ้อและค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สูงถึง
49% ของ GDP
 ลัทธิแทตเชอร์ (อังกฤษ: Thatcherism) อธิบายนโยบายการเมืองที่ยึดค่านิยม
(conviction politics) นโยบายเศรษฐกิจ สังคมและลีลาการเมืองของนักการเมือง
พรรคอนุรักษนิยมบริติช มาร์กาเรต แทตเชอร์ ซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคดังกล่าวระหว่างปี
2518 ถึง 2533 นอกจากนี้ยังใช้อธิบายความเชื่อของรัฐบาลบริติชที่แทตเชอร์เป็น
นายกรัฐมนตรีตั้งแต่ปี 2522 ถึง 2533 และถัดมาในรัฐบาลจอห์น เมเจอร์, โทนี แบลร์
และเดวิด แคเมอรอน ผู้อธิบายหรือผู้สนับสนุนลัทธิแทตเชอร์เรียกว่า แทตเชอร์ไรต์
(Thatcherite)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
Thatcherism
1. เน้นประสิทธิภาพ (Efficiency)
- Fulton Recommendation – คณะ กก.ปฏิรูป
- ยกเลิก Public Service Department
- ลดจานวนข้าราชการ 1981-1990
- โครงการ Financial Management Initiative : FMI
- ตั้ง Efficiency Unit – ส่งเสริม ประสิทธิภาพ
ภาครัฐ
Thatcherism
2.การสร้างระบบตลาด (Commercialism)
นาหลักการสร้างระบบตลาดเข้ามาใช้ เช่น
- กระทรวง/กรมต้องรับผิดชอบเรื่องการลงทุน
- การปฏิรูประบบสาธารณสุขมูลฐาน ฯลฯ
ล้วนนาหลัก Business-Like Management มาใช้
Thatcherism
3.การสร้าง Public Accountability
- สาหรับหน่วยราชการที่ไม่มีการแข่งขัน
- เน้น Accountability ทางการเงิน – ความคุ้มค่า
- มี Citizen’s Charter (กฎบัตรพลเมือง) เป็น
สัญญาประชาคม ที่จะทางานด้วยมาตรฐานและ
คุณภาพให้แก่ประชาชน
Tony Blair
สานต่อนโยบายปฏิรูประบบราชการของ
Conservative Party (Thatcher และ Major)
- เงินอุดหนุนเอกชนในการทางานภาครัฐ
- สร้างจิตสานึกผู้ประกอบการในภาครัฐ
- การวัดผลงานในการบริหารภาครัฐ
- การแทรกแซงหน่วยงานที่ทางานล้มเหลว
Tony Blair
1. การแข่งขันระหว่างผู้ให้บริการ ซึ่งเน้นที่การใช้เงินที่ได้รับ
การจัดสรรจากส่วนกลาง
- เช่น National Health Service : NHS
- Public service provider / purchaser
2.การปรับปรุงคุณภาพการบริการโดยการจัด Rating เพื่อให้
การเกิดการแข่งขันในการให้บริการระหว่างหน่วยงานของรัฐ/
เอกชน / ภาคอื่นๆ
Tony Blair
3.รัฐบาลให้ความสาคัญกับผู้ใช้บริการและพลเมือง
- ให้พลเมืองเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการให้บริการสาธารณะ
- เช่น ให้ผู้แทนคนไข้ร่วมวางแผนบริการสุขภาพแห่งชาติ หรือ
Citizen’s Charter
4.รัฐบาลสนใจควบคุมการทางานของกลุ่มวิชาชีพและสหภาพแรงงาน
- ใช้วิธีให้ควบคุมกันเอง
- การประเมินและตรวจสอบจากภายนอกและภายในกลุ่มวิชาชีพ
- Joined-up government ให้หน่วยงานของรัฐหลายๆ หน่วยงาน
ร่วมกันให้บริการประชาชน
- No wrong door (ประชาชนไม่มีวันเข้าประตูผิด) รัฐบาลจัดองค์การ
ให้มีตัวแทนที่รู้ความต้องการของประชาชน ให้บริการประชาชนได้ทุก
เรื่อง
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน
(ประชาชนเป็นศูนย์กลาง)
ประชาชนเป็นปัจจัยสาคัญ เป็นหัวใจของการจัดการภาครัฐแนวใหม่
- การมุ่งให้บริการแก่ประชาชนไม่ใช่การกากับ ข้าราชการจึงไม่เพียงแต่ตอบสนองต่อความ
ต้องการของประชาชนแต่ต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับประชาชนด้วย
- การสารวจความสนใจและความต้องการของสาธารณชน เพื่อสร้างความสนใจร่วมและ
รับผิดชอบร่วมกัน
- การให้คุณค่าแก่ประชาชนในฐานะของการเป็นพลเมืองมากกว่าการเป็นผู้ประกอบการ
โดยข้าราชการจะยอมรับที่จะเป็นผู้ช่วยเหลือสังคมมากกว่าการเป็นผู้จัดการธุรกิจที่คิดและทา
เสมือนเงินหลวงเป็นเงินของตนเอง
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
มุ่งผลประโยชน์สาธารณะ
( Seek the Public Interest )
ต้องสร้าง แนวคิดร่วมกันในเรื่องผลประโยชน์สาธารณะ เป้าหมาย คือ การสร้าง
ผลประโยชน์ร่วมกัน (shared interest)
ผลประโยชน์สาธารณะ (public interest) เป็นผลสัมฤทธิ์ ของ การแชร์ค่านิยม (shared
values) มากกว่าที่จะเป็นเรื่องผลประโยชน์ส่วนบุคคล (individual self-interests)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
Governance (การจัดการปกครอง)
การทางานร่วมกับของภาครัฐ
ภาคประชาสังคม NGOs อาสาสมัคร
ชุมชน และ ภาคเอกชน
ในลักษณะเครือข่าย (Network)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
ลดการควบคุมจากส่วนกลาง
และเพิ่มอิสระในการบริหารให้แก่
หน่วยงาน
(การกระจายอานาจ)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
ให้ความสาคัญกับการแยกและ
กระจายการบริการ
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การจัดการโครงสร้างที่
กะทัดรัดและแนวราบ
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การเปิ ดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องของการ
แข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่างหน่วยงานของ
รัฐด้วยกัน และระหว่างหน่วยงานของรัฐกับ
หน่วยงานของภาคเอกชน ในขณะเดียวกัน
ภาครัฐก็หันมาทบทวนตัวเองว่าสิ่งใดควรทา
เองและสิ่งใดควรปล่อยให้เอกชนทา
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
ต้องมุ่งเน้นที่การบริหารจัดการ
ไม่ใช่มุ่งเน้นไปที่นโยบาย
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
เน้นการจัดการตามแบบแผน
ของภาคเอกชน
Christopher Hood (1991)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
เน้นการจัดการตามแบบภาคเอกชน
(Stress on private sector styles of management practice)
มุ่งแสวงหา ที่ใช้ แนวทางของภาค เอกชนและธุรกิจ
(private sector and business approaches) ในการ
บริหารภาครัฐ กล่าวง่ายๆว่า เป็น “การบริหารรัฐบาล
เฉกเช่นเดียวกันธุรกิจ”
(run government like a business)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
เน้นการใช้ระบบกึ่งตลาด และการ
จ้างเหมาบริการภายนอกให้
หน่วยงานในภาคเอกชนดาเนินการ
ภาครัฐจะต้องลดบทบาทลงโดยการจ้าง
ภาคเอกชนดาเนินการแทน (Out Sourcing)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การเปิ ดโอกาสให้เอกชนเข้ามา
แข่งขันการให้บริการสาธารณะ
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การกาหนด การวัด และการให้
รางวัลแก่ผลการดาเนินงานทั้งใน
ระดับองค์กร และระดับบุคคล
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
มีมาตรฐานและ
การวัดผลงานที่ชัดเจน
Christopher Hood (1991)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
เน้นการควบคุมผลผลิต
(output controls)
Christopher Hood (1991)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
เน้นการควบคุมผลผลิตที่มากขึ้น
(Greater emphasis on output controls)
การใช้ทรัพยากรต้องเป็นไปตามผลงานที่วัดได้
เพราะเน้นผลสาเร็จมากกว่าระเบียบวิธี
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การเปลี่ยนระบบราชการที่เน้นระเบียบ
และขั้นตอนไปสู่การบริหารแบบใหม่
เน้นผลสาเร็จและความรับผิดชอบ
รวมทั้งใช้เทคนิคและวิธีการของเอกชน
มาปรับปรุงการทางาน
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
และประสิทธิภาพ
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
มีมาตรฐานและการวัดผลงานที่ชัดเจน
(Explicit standards and measures of performance)
ภาครัฐจึงต้องมีจุดมุ่งหมายและเป้าหมายของ
ผลงาน และการตรวจสอบจะมีได้ก็ต้องมี
จุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การให้ความสาคัญต่อค่านิยม
จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรม
และจริยธรรม
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การคานึงถึงหลักความคุ้มค่า
“ 3 Es ” Rhodes
การประหยัด(Economy)
ความมีประสิทธิภาพ(Efficiency)
ความมีประสิทธิผล (Effectiveness)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีวินัยและประหยัด
(Stress on greater discipline and parsimony in resource use)
ต้องการตรวจสอบความต้องการใช้ทรัพยากรของภาครัฐ และ
“ทางานมากขึ้นโดยใช้ทรัพยากรน้อยลง” (do more with less)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
เน้นลักษณะการบริหารที่
ใช้แรงจูงใจและ
การมีอิสระในการบริหารจัดการ
มอบอานาจการใช้ดุลยพินิจและให้อิสระในการจัดการ
(Empowerment)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การให้รางวัลหรือโบนัส
แก่ผลงานที่เป็นเลิศ
ลงโทษผลงานที่ไม่ได้เรื่อง
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้าน
บุคลากร (เช่น การฝึกอบรม ระบบ
ค่าตอบแทนและระบบคุณธรรม)
เทคโนโลยี เพื่อช่วยให้หน่วยงานสามารถ
ทางานได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
เปลี่ยนไปส่งเสริมการแข่งขัน
ในการบริการ
มุ่งการแข่งขันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและการพัฒนา
(Competitive to Efficiency and Development)
Christopher Hood (1991)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
ใช้ กลไกตลาด(market mechanism)
และ มีการแข่งขัน (competition)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การแปรรูป
(Privatize)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
ค้นหาวิธีการใหม่ๆ (New way)
และ
อินโนเวทีพ (Innovative)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
เพิ่มผลิตภาพ
(productivity)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
ต้องค้นหากลไกทางเลือกอื่น
ในการส่งมอบการบริการ
(alternative service-delivery mechanisms)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การมุ่งเน้นการให้บริการแก่
ประชาชนโดยคานึงถึงคุณภาพ
เป็นสาคัญ
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
Service Citizens, Not Customers
- ผู้ให้บริการสาธารณะ(public servants) ต้องดาเนินการไม่เพียงตอบสนองต่อความ
ต้องการของ “ลูกค้า” (customers) เท่านั้น แต่ยังต้อง มุ่งไปที่การสร้างความสัมพันธ์ ของ
ความไว้วางใจ และ ความร่วมมือ (collaboration) ระหว่างและในหมู่พลเมือง (citizens)
- การคานึงว่าประชาชนเป็นผู้มีคุณค่าไม่ใช่แค่ผลผลิต หน่วยงานราชการต่างๆจะ
ประสบความสาเร็จในระยะยาวหากดาเนินการด้วยการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
และสร้างการเป็นผู้นาร่วมกันกับประชาชนบนพื้นฐานของการเคารพประชาชน
- ประชาชนมีฐานะของการเป็นพลเมือง
- การเป็นหุ้นส่วนในการดาเนินกิจกรรม
- การเป็นพลเมืองและหุ้นส่วน การปรึกษาหารือ การเปิ ดเผยข้อมูล การมีส่วนร่วม
การทางานอย่างโปร่งใส การทางานที่มีหลักการ การยึดหลักนิติธรรม
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การบริหารงานแบบมืออาชีพ
- การสวมจิตวิญญาณผู้ประกอบการ (Entrepreneur) โดยนากลไกตลาด เน้น
ลูกค้า ทางานเชิงรุก ชอบเสี่ยง แสวงหาโอกาส เจรจาต่อรอง ฯลฯ
- สรรหาผู้บริหารที่มีสมรรถนะสูงจากบุคคลนอกระบบ (Performance Appraisal)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
เน้นนักบริหารที่มุ่งปฏิบัติและ
เป็นผู้ประกอบการ
(ตรงกันข้ามกับจุดเน้นของนักบริหารภาครัฐที่
เน้นการทางานแบบระบบราชการดั้งเดิม)
Christopher Hood (1991)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
การจัดการโดยนักวิชาชีพที่ชานาญการ
(Hands-on professional management)
ผู้จัดการมืออาชีพได้จัดการด้วยตัวเอง ด้วยความชานาญ
โปร่งใส และมีความสามารถในการใช้ดุลพินิจ เหตุผลก็เพราะ
เมื่อผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายแล้ว ก็จะเกิดความ
รับผิดชอบต่อการตรวจสอบจากภายนอก
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management : NPM)
แยกหน่วยงานภาครัฐออกเป็นหน่วยย่อยๆ
(Shift to disaggregation of units in the public sector)
แยกตามลักษณะสินค้าและบริการที่ผลิต ให้เงิน
สนับสนุนแยกกัน และติดต่อกันอย่างเป็นอิสระ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 71
 การจัดการ ทักษะในการทางานให้สาเร็จจากผู้อื่น ไม่
เหมือนกับ การบริหาร ซึ่งหมายถึง กระบวนการบริหาร
องค์กรทั้งหมดอย่างมีประสิทธิภาพ
 อ้างอิงจาก : https://th.gadget-info.com/difference-between-management
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 72
 การจัดการหมายถึงการบริหารคนและงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมกันโดยใช้
ทรัพยากรขององค์กร มันสร้างสภาพแวดล้อมที่ผู้จัดการและผู้ใต้บังคับบัญชาของเขา
สามารถทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกลุ่ม เป็นกลุ่มคนที่ใช้ทักษะและ
ความสามารถของพวกเขาในการใช้ระบบที่สมบูรณ์ขององค์กร มันเป็นกิจกรรมฟังก์ชั่น
กระบวนการวินัยและอื่น ๆ อีกมากมาย
 การวางแผนการจัดระเบียบผู้นาการจูงใจการควบคุมการประสานงานและการตัดสินใจ
เป็นกิจกรรมที่สาคัญที่ดาเนินการโดยฝ่ายบริหาร ฝ่ายบริหารนา 5M มารวมกันใน
องค์กร ได้แก่ ผู้ชายวัสดุเครื่องจักรวิธีการและเงิน เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ซึ่ง
มุ่งเน้นไปที่การบรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 73
 การบริหารเป็นกระบวนการที่เป็นระบบในการบริหารการจัดการขององค์กรธุรกิจ
สถาบันการศึกษาเช่นโรงเรียนหรือวิทยาลัยหน่วยงานราชการหรือองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร
หน้าที่หลักของการบริหารคือการจัดทาแผนนโยบายและขั้นตอนการกาหนดเป้าหมายและ
วัตถุประสงค์การบังคับใช้กฎระเบียบและข้อบังคับ ฯลฯ
 การบริหารวางโครงร่างพื้นฐานขององค์กรซึ่งการจัดการขององค์กรทาหน้าที่
 ลักษณะของการบริหารราชการคือระบบราชการ เป็นคาที่กว้างขึ้นเนื่องจากเกี่ยวข้องกับการ
พยากรณ์การวางแผนการจัดระเบียบและการตัดสินใจในระดับสูงสุดขององค์กร การบริหาร
หมายถึงชั้นบนสุดของลาดับชั้นการจัดการขององค์กร หน่วยงานระดับสูงเหล่านี้เป็นเจ้าของ
หรือหุ้นส่วนธุรกิจที่ลงทุนเงินทุนในการเริ่มต้นธุรกิจ พวกเขาได้รับผลตอบแทนในรูปแบบของ
ผลกาไรหรือเป็นเงินปันผล
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 74
ระบบ (System) มีความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ.2525 ได้ให้ความหมายเอาไว้ว่า ระบบ คือ ระเบียบเกี่ยวกับการรวมสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมี
ลักษณะซับซ้อนให้เข้าลาดับประสานเป็นอันเดียวกันตามหลักเหตุผลทางวิชาการ หรือ
หมายถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติซึ่งมีความสัมพันธ์ ประสานเข้ากัน โดยกาหนดรวมเป็น
อันหนึ่งอันเดียวกัน
ระบบ (System) คือ กระบวนการต่าง ๆ ที่อยู่ในเครือข่ายเดียวกันและมี
ความสัมพันธ์กันระหว่างกระบวนการเหล่านั้น และเชื่อมต่อกันเพื่อทางานใดงานหนึ่งให้
บรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้
ระบบ (System) คือ กลุ่มขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ทางานร่วมกัน เพื่อ
จุดประสงค์อันเดียวกันและเพื่อให้เข้าใจในความหมายของคาว่าระบบที่จะต้องทาการ
วิเคราะห์ จึงต้องเข้าใจลักษณะของระบบก่อน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 75
 การรวมของสิ่งย่อย ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน ตั้งแต่หนึ่งส่วนขึ้นไปเป็นหน่วยเดียวกัน เพื่อวัตถุประสงค์
หรือความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน เช่น ระบบราชการแผ่นดิน ประกอบด้วย กระทรวง ทบวง
กรมและกองต่าง ๆ เป็นต้น หรือระบบสุริยจักรวาล (Solar System)
 ระบบการทางานขององค์การต่าง ๆ ที่ประกอบด้วยระบบย่อย ๆ หลายระบบรวมกันและ
ทางานร่วมกัน ซึ่งจะต้องมีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อประโยชน์หรือวัตถุประสงค์
ร่วมกันหรืออย่างเดียวกัน เช่น ระบบโรงเรียน ระบบโรงพยาบาล ระบบธนาคาร ระบบบริษัท
ระบบห้างร้าน เป็นต้น
 การทางานของหน่วยงานย่อยต่าง ๆ ของระบบ จะต้องมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องประสานกัน
โดยมีวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายร่วมกันหรืออย่างเดียวกัน เช่น ในองค์กรหนึ่งอาจแบ่ง
ออกเป็นหลายฝ่าย หรือหลายแผนก โดยแต่ละฝ่ายหรือแต่ละแผนกจะมีหน้าที่ในการทางาน
ร่วมประสานเพื่อนวัตถุประสงค์เดียวกัน
 ระบบอาจถูกจาแนกแยกเป็นประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือหลายประเภท ทั้งนี้สุดแต่ใครเป็นผู้
จาแนก และผู้ที่ทาการจาแนกจะเห็นว่าควรแบ่งหรือควรจะจัดเป็นประเภทใด เช่น เป็นระบบ
เปิดหรือระบบปิด ระบบเครื่องจักร หรือระบบกึ่งเครื่องจักร เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 76
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 77
➢ 1 Man หมายถึง บุคลากร คือ ผู้ที่จะต้องเกี่ยวข้องกับระบบงาน หรือหมายถึง คนทุก
คนที่เกี่ยวข้องกับระบบนั้นเอง อาจจะประกอบไปด้วยผู้บริหารระดับต่าง ๆ ซึ่งจะมีทั้ง
ผู้บริหาร ระดับสูง ระดับกลาง และระดับปฏิบัติงาน และอาจประกอบด้วยนักวิชาการ
ในระดับต่าง ๆ แต่จะนับรวมลูกค้าหรือผู้บริโภค ซึ่งเป็นผู้ที่มีความสาคัญไม่น้อยของ
ระบบด้วยหรือไม่ก็ย่อมสุดแล้วแต่นักวิชาการทางด้านบริหารระบบจะตัดสินใจ
➢ 2 Money หมายถึง เงินหรือทรัพย์สินที่มีค่าเป็นเงินของระบบ ซึ่งนับเป็นหัวใจที่สาคัญ
อย่างหนึ่งของระบบ เช่น เงินทุน เงินสด เงินหมุนเวียน เงินคาใช้จ่าย หรือ เงินรายรับ
รายจ่ายต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นต้น ถ้าการเงินของระบบไม่ดีพอแล้ว ระบบนั้นย่อมจะ
ประสบกับความยุ่งยากหรืออาจถึงแก่การหายนะได้ เพราะฉะนั้น ระบบธุรกิจทุกชนิด
จะต้องมีความระมัดระวังในเรื่องของการเงินเป็นพิเศษ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 78
➢ 3 Material หมายถึง ตัวสินค้าหรือวัสดุที่ใช้ในการผลิตสินค้า ซึ่งเป็นอีกองค์ประกอบ
หนึ่งที่มีความสาคัญของระบบไม่น้อย ปัญหาในเรื่อง Material หรือสินค้าและวัสดุนี้มี 2
ประการใหญ่ๆ
1 ประการแรก เป็นการขาดแคลนวัสดุ เช่น การขาดวัตถุดิบสาหับใช้ในการผลิต
สินค้าของโรงงานอุตสาหกรรม เมื่อขาดวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ก็จะทาให้ไม่มีสินค้าสาหรับ
ขาย ผลก็คือการขาดทุน
2 ประการที่สอง คือ การมีวัตถุดิบมากเกินความต้องการ เช่น มีสินค้าที่จาหน่าย
หรือขายไม่ออกมากเกินไป ทาให้เงินทุนไปจมอยู่กับวัตถุดิบทาให้เกิดการขาดทุน
เช่นเดียวกันนั้นเอง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 79
➢ 4 Machine หมายถึง เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ในโรงงานหรือใน
สานักงาน ซึ่งนับว่าเป็นองค์ประกอบที่สร้างปัญหาให้กับระบบอย่างสาคัญประการหนึ่ง
เหมือนกัน ปัญหาที่ทาให้ได้กาไรหรือขาดทุนมากที่สุดของธุรกิจมักเกิดจากเครื่องจักร
และอุปกรณ์การทางานเป็นส่วนใหญ่ เช่น เครื่องมีกาลังผลิตไม่พอ เครื่องเก่า หรือเป็น
เครื่องที่ล้าสมัย ทาให้ต้องเสียค่าซ่อมบารุงสูง มีกาลังผลิตน้อยประสิทธิภาพ ในการ
ทางานต่า แต่ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบารุงหรือค่าทางานที่ล่าช้า ทางานไม่ทันกาหนดเวลา
ที่กาหนดไว้ ทาให้เกิดความเสียหายและขาดรายได้หรือขาดทุน เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 80
➢ 5 Management หมายถึง การบริหารระบบ ซึ่งเป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ทาให้ระบบเกิด
ปัญหา เพราะการบริหารที่ไม่ดีหรือการบริหารที่ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของสภาวะ
แวดล้อมหรือไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงต่อสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ที่เรียกกันว่า
ไม่เป็นไปตามโลกานุวัตร หรือการได้ผู้บริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพมาบริหารงาน ซึ่ง
ส่วนมากมักเกิดขึ้นในระบบราชการ สาหรับระบบทางธุรกิจของเอกชนจะถือว่า การ
บริหารงานเป็นเรื่องที่สาคัญที่สุด เพราะถ้าการบริหารไม่ดีแล้วธุรกิจนั้นก็ไม่สามารถที่
จะอยู่ได้ กิจการต้องล้มเลิกไปในที่สุด
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 81
➢ 6 Morale หมายถึง ขวัญและกาลังใจของบุคคลในระบบ หรือหมายถึง ค่านิยมของคน
ที่มีต่อระบบหรือต่อองค์กรมากกว่า ซึ่งเป็นค่านิยมของคนในระบบที่มีขวัญและกาลังใจ
ในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นค่านิยมของผู้บริโภคหรือบุคคลภายนอก
ที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนให้ระบบอยู่รอด และกระตุ้นจูงใจด้วยวิธีต่าง ๆ ก็มีจุดมุ่งหมาย
ในสิ่งนี้ระบบที่ขาดค่านิยมหรือขาดความเชื่อมั่นของบุคคล ระบบนั้นก็มักจะอยู่ต่อไป
ไม่ได้ จะต้องประสบกับความล้มเหลวในที่สุด
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 82
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 83
 Input หมายถึง ข้อมูลหรือระบบข้อมูลที่ใช้ป้อนเข้าสู่ระบบ เพื่อ
ประโยชน์ในการนาไปใช้ ในที่นี้ยกตัวอย่างเป็น ระบบสารสนเทศ
เพื่อใช้ในการบริหารหรือเพื่อการตัดสินใจ ดังนั้น ข้อมูลซึ่งเป็นตัว
ป้อนเข้าระบบ จะมีอยู่ในหลายลักษณะด้วยกัน เช่น
ใบเสร็จรับเงิน ใบสั่งซื้อสินค้า เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 84
 Processing หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจจะแบ่งได้เป็น
1 การปฏิบัติงานตามขั้นตอนต่าง ๆ ตามที่กาหนดไว้
2 การควบคุมการปฏิบัติงาน
3 การตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน
4 การรวบรวมข้อมูล
5 การตรวจสอบข้อมูล
6 การ Update ข้อมูล
7 การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้ Output
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 85
 Output หมายถึง ผลการปฏิบัติงานต่าง ๆ ซึ่งอาจแบ่งได้เป็น
1 ข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติงาน
2 ข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล
3 ใบรายงานต่าง ๆ จากการปฏิบัติงาน
4 ใบบันทึกการปฏิบัติงาน
5 การทาทะเบียนและบัญชีต่าง ๆ เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 86
 Feedback หมายถึง ข้อมูลย้อนกลับ หรือผลสะท้อนที่
ได้รับจากการปฏิบัติงาน เช่น ความนิยมในผลงานที่ได้
ปฏิบัติ ความเจริญหรือความเสื่อมของธุรกิจ เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 87
ในระบบของสังคมมักจะประกอบด้วยองค์การที่มีกิจกรรมที่เป็นรูปแบบต่าง ๆ ซึ่ง
มีความสัมพันธ์และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันในผลผลิตหรือปัจจัยนาออก และเป็นกิจกรรม
ที่เกิดขึ้นซ้า ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยนาเข้าที่เป็นพลังงาน (energic input) มีการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานในระบบ และได้ผลลัพธ์ออกมาเป็นสินค้า หรือปัจจัยนาออกที่
เป็นพลังงาน (energic output) โดยใช้การแลกเปลี่ยนที่เป็นเงินในการซื้อขายปัจจัยนาเข้า
ที่เป็นวัตถุดิบต่าง ๆ หรือ ปัจจัยนาออกที่เป็นสินค้าต่าง ๆ เพื่อมาใช้หมุนเวียนต่อในระบบ
อย่างต่อเนื่องและซ้า ๆ (Katz & Kahn, 2004, หน้า 207)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 88
อ้างอิง : Katz, Daniel & Kahn Robert. “Organization and System Concept ”, in Shafritz, Jay M &Hyde,Albert C. (2004). Classics of
PublicAdministration.Wadswort: Cengage Learning, pp.446-455.
1) มีพลังงานที่นาเข้ามา (importation of energy) ระบบเปิดจะต้องนาเข้า
รูปแบบของพลังงานจากสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น ร่างกายต้องการอ็อกซิเจนจากอากาศ
ต้องการอาหารจากโลกภายนอก ลักษณะนิสัยก็ขึ้นอยู่กับสิ่งเร้าในโลกภายนอกเช่นกัน ไม่มี
สังคมใดที่มีโครงสร้างที่อยู่ได้ด้วยตัวเองลาพังได้
2) มีกระบวนการเปลี่ยนแปลง (though-put) ระบบเปิดต้องมีการเปลี่ยน
พลังงานที่มีอยู่ เช่น ร่างกายเปลี่ยนแป้งและน้าตาลเป็นความร้อนและพลังงาน ลักษณะ
นิสัยเปลี่ยนรูปแบบของสารเคมีและอนุภาคไฟฟ้าของสิ่งเร้าเป็นการรับรู้และข้อมูลในระบบ
ความคิด หรือการแปลงวัตถุดิบเป็นสินค้าและบริการต่างๆ รวมถึงคนที่ได้รับการฝึกอบรม
3) ปัจจัยนาออก (output) ระบบเปิดต้องส่งผลผลิตไปสู่สิ่งแวดล้อม เช่น ร่างกาย
จะปล่อยคาร์บอนไดอ็อกไซด์จากปอดให้กับต้นไม้ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อม เช่น ผลผลิตที่เป็น
สินค้าและบริการต่าง ๆ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 89
4) มีการหมุนเวียนอย่างต่อเนื่องของเหตุการณ์ (systems as cycles of events)
รูปแบบของกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนพลังงานจะมีลักษณะการหมุนเวียนอย่างต่อเนื่อง กิจกรรม
นั้นก็จะเกิดขึ้นซ้าแล้วซ้าอีก เช่น ในอุตสาหกรรมมีการแลกเปลี่ยนจากปัจจัยนาเข้าที่เป็นวัตถุดิบ
และแรงงานเป็นปัจจัยนาออกที่เป็นสินค้าที่ขายได้ในท้องตลาด ได้เงินกลับมาเพื่อที่จะซื้อวัตถุดิบ
ใหม่และจ่ายค่าแรงในการผลิตต่อไป โดยเป็นกิจกรรมที่หมุนเวียนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งก็ตรงกับ
แนวคิดเหตุการณ์ที่เกิดอย่างซ้า ๆ ต่อเนื่อง (chain of events) ของ Allport
5) หยุดภาวะเสื่อมสลาย (negative entropy) ระบบเปิดจะต้องมีดักจับกระบวนการ
เสื่อมสลาย (entropic process) ให้ได้เพื่อความอยู่รอด ซึ่งกระบวนการเสื่อมสลายนี้เป็นกฎ
ธรรมชาติที่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นจะต้องมีอันเสื่อมดับสูญ หรือตายไป โดยที่ระบบเปิดจะต้องนา
พลังงานเข้ามามากกว่าที่จะใช้และเก็บพลังงานนี้ไว้ และสามารถที่จะหยุดความเสื่อมสลายนี้ได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 90
6) ปัจจัยนาเข้าที่เป็นข้อมูล ข้อมูลป้อนกลับที่เป็นลบ และกระบวนการแปลงความหมาย
(information input, negative feed-back and coding process) ข้อมูลมีความสาคัญที่ใช้สัญญาณให้ทา
หน้าที่ต่าง ๆ ส่วนข้อมูลป้อนกลับที่เป็นลบจะทาให้ระบบแก้ไขตัวเองจากสิ่งที่ผิดปกติ เช่น เครื่องปรับอุณหภูมิ
(thermostat) ใช้ในการควบคุณอุณหภูมิของห้อง และมีกระบวนการตรวจสอบว่าข้อมูลข่าวสารอันใดมี
ประโยชน์หรือไม่ เพราะเป็นไปไม่ได้ที่จะรับข้อมูลเข้าไปในระบบทั้งหมด จึงจาเป็นที่จะต้องเลือก
7) การรักษาตนเองให้อยู่ในภาวะสมดุล (steady state and dynamic homeostasis) พลังงานจะ
ถูกนามาใช้ในการรักษาความเสถียรในการแลกเปลี่ยนพลังงานของระบบ เช่น การรักษาระดับอุณหภูมิของ
ร่างกาย ไม่ว่าสิ่งแวดล้อมภายนอกจะมีความ ชื้น หนาว หรือร้อน ระบบของร่างกายก็จะทาหน้าที่ปรับสมดุลให้
ร่างกายมีอุณหภูมิเท่าเดิมตลอดเวลา นอกจากนั้น เรายังสามารถคาดการณ์สิ่งที่รบกวนหรือปัญหาในอนาคตได้
เช่น เราจะกินก่อนที่จะรู้สึกหิวจัด สภาวะนี้เรียกว่า การรักษาสมดุลที่เป็นพลวัต (dynamic homeostasis) คือ
การคงรักษารูปแบบลักษณะของระบบไว้ โดยนาเข้าพลังงานมากกว่าที่จะส่งออกไปหมด เพื่อเก็บสารองไว้ใช้
ยามฉุกเฉิน เช่น ร่างกายจะเก็บไขมันไว้เป็นพลังงานสารอง เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 91
8) ความแตกต่างของหน้าที่ (differentiation) ระบบเปิดจะ
มุ่งไปสู่รูปแบบของหน้าที่แตกต่างกันโดยแบ่งตามความชานาญ เช่น
อวัยวะที่ใช้รับรู้จะประกอบด้วยระบบประสาทต่าง ๆที่มีความ
ซับซ้อนโดยพัฒนามาจากเนื้อเยื่อเซลล์ประสาท
9) การไปถึงจุดหมายเดียวกัน (equifinality) ระบบสามารถ
ที่จะไปถึงจุดหมายเดียวกันได้ โดยมีเงื่อนไขที่แตกต่างกันรวม ทั้งมี
วิธีการที่แตกต่างกันที่จะไปถึงเป้าหมายเดียวกัน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 92
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 93
 ให้นักศึกษา อธิบาย Input Processing Output และ
Feedback ของระบบมา 1 ระบบ ในที่ทางานของนักศึกษา
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 94
 วิธีการระบบที่ดี จะต้องเป็นการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้อย่าง
ประหยัดและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ เพื่อให้การ
ทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมายที่วางไว้
 ถ้าระบบใดมีผลผลิตทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพมากกว่าข้อมูล วัตถุดิบ
ที่ป้อนเข้าไป ก็ถือได้ว่าเป็นระบบที่มีคุณภาพ ในทางตรงข้ามถ้าระบบมี
ผลผลิตที่ต่ากว่าข้อมูลวัตถุดิบที่ไปใช้ ก็ถือว่าระบบนั้นมีประสิทธิภาพต่า
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 95
 1.ระบบธรรมชาติ (Natural System) และระบบที่คนสร้างขึ้น (Manmade System)
1.1 ระบบธรรมชาติ (Natural System) หมายถึง ระบบที่เป็นไปตามธรรมชาติ
หรือปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ หรือโดยการอาศัยธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ เช่น ระบบ
ไฟฟ้าน้าตก ระบบการค้าขายของเอกชนที่เป็นไปโดยธรรมชาติ ต่างคนต่างทา ซึ่งไม่มีการ
จัดระบบหรือระเบียบอย่างใดอย่างหนึ่งไว้
1.2 ระบบที่คนสร้างขึ้น (Manmade System) หมายถึง ระบบที่มีการสร้างขึ้น
ซึ่งอาจเป็นการสร้างจากระบบธรรมชาติเดิมหรืออาจจะไม่ได้อาศัยธรรมชาติเดิมก็ได้ เช่น
ระบบบริหารราชการแผ่นดินที่เป็นไปตามกฎหมาย ระบบธนาคาร ระบบบริษัท ระบบ
เครื่องจักร เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 96
 2. ระบบปิด (Close System) และระบบเปิด (Open System)
2.1 ระบบปิด (Close System) หมายถึง ระบบที่มีการควบคุมการทางาน และการ
แก้ไขด้วยตัวของระบบเองอย่างอัตโนมัติ โดยระบบไม่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าไปปฏิบัติได้
ด้วยตนเอง หรือไม่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกได้เข้าร่วมการดาเนินการ เมื่อบุคคลภายนอก
ต้องการขอใช้บริการจะต้องส่งงานให้บุคคล ในระบบงานเป็นผู้ปฏิบัติให้ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกัน
ความเสียหายอันจะเกิดขึ้น ของระบบหรือเพื่อป้องกันความลับของการปฏิบัติงานก็ได้
2.2 ระบบเปิด (Open System) หมายถึง ระบบที่ไม่มีการควบคุมการทางานด้วยตัว
ระบบเอง จะต้องควบคุมดูแลโดยมนุษย์ ระบบที่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าไปปฏิบัติงานได้
เช่น ยอมให้บุคคลภายนอกเข้าไปทางานกับ เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตัวเองเป็นต้น ระบบเปิด
ส่วนมากเป็นระบบการใช้เครื่องจักร เช่น ระบบเครื่อง ATM หรือระบบการใช้ห้องสมุดเป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 97
 3.ระบบคน (Man System) ระบบเครื่องจักร (Machine System) และระบบคน –
เครื่องจักร (Man-Machine System)
3.1 ระบบคน (Man System หรือ Manual System) หมายถึง ระบบที่การปฏิบัติงาน
ส่วนใหญ่จะใช้แรงงานคน หรือระบบที่ใช้แรงงานคนในการทางานโดยตรงอาจจะมีเครื่องจักรช่วย
ในการทางานบ้างก็ได้ แต่จะต้องเป็นเครื่องจักร ที่มีอยู่ภายใต้การควบคุมของคนโดยตรง เช่น
ระบบการประมวลผลด้วยมือ ระบบการลงบัญชีหรือทะเบียนโดยใช้คนเป็นผู้ทาได้แก่ การรับส่ง
หนังสือ การพิมพ์หนังสือ การลงทะเบียน ระบบการควบคุมการจราจรโดยใช้เจ้าหน้าที่ไปทาการ
โบกรถที่ถนน การทางานอุตสาหกรรมในครัวเรือนโดยใช้คนทา การตัดเย็บเสื้อผ้าด้วยมือ เป็นต้น
3.2 ระบบเครื่องจักร (Machine System) หมายถึง ระบบการทางานที่ใช้เครื่องจักร
โดยตรง คือ เครื่องจักรจะเป็นผู้ทางานให้ ซึ่งอาจจะจะใช้คนบ้างเพื่อควบคุมให้เครื่องจักรทางาน
ไปได้เท่านั้น เช่น การฝากถอนเงินโดยเครื่อง ATM การทอผ้าด้วยเครื่องทอผ้า การพิมพ์หนังสือ
ของโรงพิมพ์ การบรรจุขวดของน้าอัดลม ยา หรือ อาหารกระป๋อง การบรรจุหีบห่อที่ทาโดยตรง
ด้วยเครื่องจักร เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 98
 4.ระบบหลัก (Main System) และระบบรอง (Minor System)
4.1 ระบบหลัก (Main System) หมายถึง ระบบที่วางไว้เป็นหลัก หรือแนวทาง
สาหรับการกาหนด หรือสาหรับการจัดทาระบบรองเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์
บางอย่างหรือเพื่อให้เหมาะสมกับหน่วยปฏิบัติงานย่อย ระบบหลักส่วนมากจะเป็นระบบที่
วางไว้อย่างกว้างๆ เพื่อให้เข้ากันได้กับทุกสถานการณ์หรือทุกหน่วยงาน
4.2 ระบบรอง (Minor System) หมายถึง ระบบที่ช่วยเสริมระบบหลักให้สมบูรณ์
หรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การทางานที่มีแผนระบบสั้นและแผนระยะยาว
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 99
 5. ระบบใหญ่ (System) และระบบย่อย (Sub System)
5.1 ระบบใหญ่ (System) หมายถึง ระบบรวม หรือระบบที่รวมระบบย่อย ๆ
ตั้งแต่หนึ่งระบบขึ้นไป เพื่อปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมาย
เดียวกันหรือร่วมกัน เช่นระบบบริหารราชการแผ่นดินที่ประกอบด้วยกระทรวงและทบวง
หรือระบบองค์ประกอบธุรกิจที่ประกอบด้วยฝ่ายหรือแผนกงานต่าง ๆ
5.2 ระบบย่อย (Sub System) หมายถึง ระบบย่อยของระบบใหญ่ เพื่อ
ปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งของระบบใหญ่ หรือเป็นส่วนหนึ่งของระบบใหญ่ ซึ่งถ้าขาด
ระบบย่อยส่วนใดส่วนหนึ่งแล้ว ระบบใหญ่จะดาเนินการต่อไปไม่ได้ และระบบย่อย เหล่านี้
อาจจะแบ่งออกเป็นระบบย่อย ๆ ต่อไปได้อีกเป็นลาดับๆ ไป
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 100
 6.ระบบธุรกิจ (Business System) และระบบสารสนเทศ (Information System)
6.1 ระบบธุรกิจ (Business System) หมายถึงระบบที่ทางานเพื่อจุดประสงค์ด้านธุรกิจ
โรงงานอุตสาหกรรม เป็นระบบธุรกิจเพื่อจุดประสงค์ด้านการผลิต ระบบขนส่ง ระบบโรงแรม
ระบบการพิมพ์ ระบบธนาคาร และอื่น ๆ อีกมากมาย ล้วนแล้วแต่เป็นระบบธุรกิจทั้งนั้นแต่ละ
ระบบมีจุดประสงค์แตกต่างกันออกไป ระบบธุรกิจอาจจะแบ่งเป็นย่อย ๆ ลงไปได้อีก
6.2 ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง ระบบที่ช่วยในการจัดการ
ข้อมูลที่ต้องการใช้ในการจัดการข้อมูลที่ต้องการใช้ในระบบธุรกิจ ช่วยเก็บตัวเลขและข่าวสารเพื่อ
ช่วยในการดาเนินธุรกิจและการตัดสินใจ เช่น ระบบการเก็บข้อมูลลูกค้า อันได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ สินค้า
ที่ซื้อขาย การจ่ายเงิน ของลูกค้าเป็นอย่างไร มีการติดหนี้หรือหนี้สูญหรือไม่อย่างไร ซึ่งระบบ
สารสนเทศนี้อาจจะใช้หรือไม่ใช้คอมพิวเตอร์ก็ได้ การแผนข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพเป็นกุญแจ
สาคัญที่นาไปสู่ความสาเร็จในด้านธุรกิจอย่างมาก
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 101
 7.ระบบงานประมวลผลข้อมูล (Data – Processing System) หมายถึง ระบบข้อมูล
ของคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของธุรกิจเพื่อใช้
ประมวลผลข้อมูลจานวนมาก ๆ เป็นประจา เช่น การประมวลผลเงินเดือน สินค้าคง
คลัง เป็นต้น ระบบงานประมวลผลข้อมูลจะเป็นระบบที่ช่วยลดเวลาในการปฏิบัติงานลง
โดยอาศัยความสามารถของคอมพิวเตอร์มาทดแทนการประมวลผลข้อมูลด้วยคน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 102
 8.ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System) หมายถึง
ระบบที่นาข้อมูลมาทางานวิเคราะห์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างข้อมูลให้กับนักบริหาร
เพื่อประกอบการตัดสินใจ หรือเรียกระบบนี้ว่า MIS ระบบนี้เป็นระบบงาน
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ (Information System) แบบหนึ่ง ซึ่งต้องการปัจจัย 3 ประการ คือ
8.1 คน (People)
8.2 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
8.3 ซอฟต์แวร์ (Software)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 103
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management
System management

More Related Content

What's hot

รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการpop Jaturong
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Nawaponch
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรประพันธ์ เวารัมย์
 
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการบทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการTeetut Tresirichod
 
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)TIt KhawThong
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestkrupornpana55
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่Chalermpon Dondee
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาRatchaphon Cherngchon
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)Ritthiporn Lekdee
 
โครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 

What's hot (20)

รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการบทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
 
การฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
การฝึกอบรมและพัฒนา Pptการฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
การฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
 
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBest
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
โครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to System management

ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824pantapong
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4praphol
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
Cmu qa manual 49 qa-glossary
Cmu qa manual 49 qa-glossaryCmu qa manual 49 qa-glossary
Cmu qa manual 49 qa-glossaryTualek Phu
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)Yingjira Panomai
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพChalermpon Dondee
 
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker maruay songtanin
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUpantapong
 
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedไพรวัล ดวงตา
 

Similar to System management (20)

Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
Cmu qa manual 49 qa-glossary
Cmu qa manual 49 qa-glossaryCmu qa manual 49 qa-glossary
Cmu qa manual 49 qa-glossary
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Lib2.0
Lib2.0Lib2.0
Lib2.0
 
ทฤษฎีองค์การ
 ทฤษฎีองค์การ  ทฤษฎีองค์การ
ทฤษฎีองค์การ
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
 
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
 
หลักการบริหาร
หลักการบริหารหลักการบริหาร
หลักการบริหาร
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challenge
 

System management

  • 2.  แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการนานวัตกรรมใหม่ๆ สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศไทย ตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี มาใช้ในการจัดการองค์การที่ทันสมัย และมีความสอดคล้อง กับยุคเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบัน รวมทั้งการจัดการเชิงกระบวนการ การจัดการเชิง ปริมาณ การจัดการเชิงพฤติกรรม พฤติกรรมกลุ่ม การจัดการเชิงระบบ ทฤษฎี แรงจูงใจภาวะผู้นา ธรรมาภิบาล จริยธรรมทางธุรกิจ  The study of concepts and theories relating to modern management to agree with Thailand’s 20-Year National Strategy and economic and social; innovation and organizational changes; organizational behavior; motivation theory; leadership; good governance; business ethics. ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
  • 3. ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3  การจัดการภาครัฐแนวใหม่  ความหมายของระบบ  ลักษณะของระบบ  องค์ประกอบของระบบ  การคิดเชิงระบบ Systems Thinking  วิธีการเชิงระบบ (Systems approach)  การวิเคราะห์ระบบ
  • 5. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ : The New Public Management : NPM Change Management Globalization Economic Crisis High Financial burden Bureaucratic of Governance Big Organization Competitiveness Monopoly New Technology …
  • 8. แนวคิดสมัยใหม่ Quality of life ยึดประชาชนเป็น ศูนย์กลาง กระจายอานาจ (Decentralization) ธรรมาภิบาล (Good Governance) การจัดการภาครัฐแนวใหม่ The New Public Management : NPM มุ่งผลสัมฤทธิ์
  • 9. เหตุผลที่ต้องนาแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ กระแสโลกาภิวัตน์ บริบทสังคมโลกเปลี่ยนแปลง การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ต้องเพิ่มศักยภาพและความยืดหยุ่นในการ ปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองความต้องการของ ระบบที่เปลี่ยนแปลงไป ระบบราชการไทยมีปัญหาที่สาคัญ ความเสื่อมถอยของระบบราชการ ขาดธรรมาภิบาล - ส่งผลบั่นทอนความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ - เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมในอนาคตด้วย
  • 10. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ความหมาย นาหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการ แสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ นาเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้ กับการบริหารงานภาครัฐ เช่น 1. การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 2. การบริหารงานแบบมืออาชีพ
  • 11. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ ( New Public Management ) : NPM เป็นแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการภาครัฐ อันจะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของ ภาครัฐและยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ที่เป็นรูปธรรม
  • 12. การลดความเป็นระบบราชการ (Reducing the Bureaucracy) 1. แนวโน้มทาให้ภาครัฐปรับเข้าสู่ระบบ ตลาด (marketization) 2. แนวโน้มที่ภาครัฐจะไม่ใช้รูปแบบการจัด โครงสร้างแบบราชการ http://punyatida.blogspot.com/2015/08/max-weber.html
  • 13.  ใช้แรงจูงใจทางการตลาด (market-style incentive) ในการจัดการภาครัฐ เช่น การ แปรรูปรัฐวิสาหกิจ (privatization) และการให้เอกชนเข้ามารับงานในรูปแบบของ สัญญา (contract out) เพื่อทดแทนระบบดั้งเดิมที่รัฐเป็นผู้ดาเนินการเองทั้งหมดซึ่งมี ต้นทุนสูงกว่าและมีประสิทธิภาพต่ากว่า ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
  • 14. จะทาหน้าที่เป็นกลไกการบริหารของกลุ่มชน โดยผู้นาจะใช้อานาจที่มีอยู่ตาม กฎหมายปกครอง บังคับบัญชาโดยผ่านระบบราชการ องค์การแบบระบบราชการตาม แนวคิดของ Max Weber จะประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ 7 ประการดังนี้ 1. หลักลาดับขั้น(hierarchy) 2. หลักความรับผิดชอบ (responsibility) 3. หลักแห่งความสมเหตุสมผล (rationality) 4. การมุ่งสู่ผลสาเร็จ (achievement orientation) 5. หลักการทาให้เกิดความแตกต่างหรือความชานาญเฉพาะด้าน (differentiation, specialization) 6. หลักระเบียบวินัย (discipline) 7. ความเป็นวิชาชีพ (professionalization) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
  • 15.  หลักการนี้ มีเป้าหมายที่จะทาให้องค์การต้องอยู่ภายใต้การควบคุม โดยเชื่อว่า การ บริหารที่มีลาดับขั้น จะทาให้ระบบการสั่งการและการควบคุมมีความรัดกุม ทาให้การ ดาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพการบริหารที่เน้นกฎเกณฑ์และขั้น  ตามลาดับขั้นเริ่มมีปัญหา เพราะการทางานในปัจจุบันต้องการความรวดเร็ว คนต้องการ เสรีภาพมากขึ้นประชาชนต้องการบริการที่สะดวกรวดเร็ว แต่ในองค์การขนาดใหญ่ที่ใช้ ระบบราชการ มีคนจานวนมาก แต่มากกว่าครึ่งจะอยู่ในตาแหน่งระดับผู้บริหาร หัวหน้างาน กว่าจะตัดสินใจงานสาคัญๆต้องรอให้ผู้บริหาร 7-8 คนเซ็นอนุมัติตาม ขั้นตอน และยังมีกฎเกณฑ์มากมาก ส่วนพนักงาน (ข้าราชการ) ระดับล่างจานวนมาก ทั้งหมดมีหน้าทีทางานเอกสาร โดยการตรวจบันทึกของคนอื่นแล้วเขียนบันทึกส่งให้ เจ้านาย คาบันทึกหรือรายงานเต็มไปด้วยศัพท์อันหรูหรา นอกจากนี้ยังมีฝ่ายวางแผน ฝ่ายวิชาการ เป็นผู้จัดทาแผนยุทธศาสตร์หนาปึกใหญ่ให้เจ้านาย ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
  • 16.  เจ้าหน้าที่ทุกคนต้องมีความสานึกแห่งความรับผิดชอบต่อ การกระทาของตนความรับผิดชอบ หมายถึง การ รับผิดและรับชอบต่อการกระทาใด ๆ ที่ (responsibility) ตนได้กระทาลงไปและ ความพร้อมที่ จะให้มีการตรวจสอบโดยผู้บังคับบัญชาอยู่ตลอดเวลาด้วย  อานาจ (authority) หมายถึงความสามารถในการสั่งการ บังคับบัญชา หรือกระทาการใด ๆ เพื่อให้มีการดาเนินการ หรือปฏิบัติการต่าง ๆ ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายมา - อานาจหน้าที่เป็นสิ่งที่ได้มาอย่างเป็นทางการตามตาแหน่ง - อานาจหน้าที่และความรับผิดชอบจะต้องมีความสมดุลกันเสมอ - การได้มาซึ่งอานาจในทัศนะของ Max Weber คือ การได้อานาจมาตามกฎหมาย (legal authority) - ภาระหน้าที่ (duty) หมายถึงภารกิจหน้าที่การงานที่ถูกกาหนด หรือได้รับมอบหมาย ให้กระทา ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
  • 17.  ความถูกต้องเหมาะสมของแนวปฏิบัติที่จะนามาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานให้ บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ  ประสิทธิผล (effective) การทางานหรือการดาเนินกิจการใด ๆ ที่สามารถ ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนดไว้  ประสิทธิภาพ (efficiency) ความสามารถในการที่จะใช้ทรัพยากรบริหารต่าง ๆ ที่มีอยู่ ซึ่งได้แก่ คน เงิน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เวลาไปในทางที่จะ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการดาเนินงานนั้นได้มากที่สุด  ประหยัด (economic) ความสามารถในการที่จะประหยัดทรัพยากรบริหาร แต่สามารถที่จะให้บริการ หรือผลิตออกมาให้ได้ระดับเดิม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
  • 18.  - การปฏิบัติงานใด ๆ จะต้องมุ่งสู่เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์การเสมอ (ประสิทธิผล)  - ประสิทธิผล หรือผลสาเร็จจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยปัจจัยอย่างน้อย 3 อย่างคือ 1. เจ้าหน้าที่ต้องมีหลักการและวิธีการในการตัดสินใจเลือกหนทางปฏิบัติได้อย่าง ถูกต้อง โดย ถือหลัก ประสิทธิภาพ หรือ หลักประหยัด หลักประสิทธิภาพ (efficiency) - ในระหว่างทางเลือกหลาย ๆ ทางที่จะต้องใช้จ่ายเงินเท่ากัน ควรเลือกทางเลือกที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด หลักประหยัด (economy) - ถ้ามีทางเลือกที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลได้เท่า ๆ กัน หลาย ทางเลือก ควรเลือกทางเลือกที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด 2. ความมีประสิทธิผลในการบริหารงานจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีการแบ่งงานกันทาตามความชานาญ เฉพาะด้าน 3. การบริหารจะได้รับประสิทธิผลสูงสุดต่อเมื่อมีการกาหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ ถูกต้อง เหมาะสมกับลักษณะงาน สถานที่ ช่วงเวลา สภาพแวดล้อม ในทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ เป้าหมายหรือผลสาเร็จที่ต้องการ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
  • 19.  ลักษณะทางโครงสร้างขององค์การแบบระบบราชการ ต้องมีการแบ่งงาน และจัดแผนกงาน หรือจัดส่วนงาน (departmentation) ขึ้นมา เพราะภารกิจการงานขององค์การขนาดใหญ่มี จานวนมากจึงต้องมีการแบ่งงานที่ต้อง ทาออกเป็นส่วนๆ แล้วหน่วยงานมารองรับการจัดส่วน งานอาจยึดหลักการจัดองค์การได้หลายรูปแบบ คือ 1. การแบ่งส่วนงานตามพื้นที่ เป็นการแบ่งงานโดยการกาหนดพื้นที่ที่ต้องรับผิดชอบไว้ อย่างชัดเจน และมีการกาหนดภาระกิจ บทบาท อานาจหน้าที่ ที่องค์การต้องบริหารจัดการไว้ด้วย เช่น การแบ่งพื้นที่การบริหารราชการออกเป็น จังหวัด อาเภอ อ.บ.จ. อ.บ.ต. เทศบาล 2. การแบ่งงานตามหน้าที่ หรือภารกิจที่องค์การจะต้องปฏิบัติจัดทา เช่นการจัดแบ่ง งานของกระทรวงต่างๆ เช่น กระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการคลัง 3. การแบ่งงานตามลูกค้า หรือผู้รับบริการ เช่น การแบ่งโรงพยาบาล ออกเป็น โรงพยาบาลเด็ก โรงพยาบาลหญิง โรงพยาบาลสงฆ์ 4. การแบ่งงานตามขั้นตอนหรือกระบวนการทางาน โดยคานึงว่างานที่จะทาสามารถ แบ่งออกเป็นกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง แล้วกาหนดหน่วยงานมารองรับ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
  • 20.  ต้องมีการกาหนดระเบียบ วินัย และบทลงโทษ ขึ้นมาเพื่อเป็นกลไกการควบคุมความ ประพฤติของสมาชิกทุกคนในองค์การ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
  • 21. - ผู้ปฏิบัติงานในองค์การราชการ ถือเป็นอาชีพอย่างหนึ่ง และต้องปฏิบัติงานเต็มเวลา - ความเป็นวิชาชีพ “รับราชการ” นั้น ผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในภาระหน้าที่ของตนด้วย ความสาเร็จของระบบราชการในอดีตเกือบ 100 ปี ที่ผ่านมา เพราะ - มีวิธีการจัดองค์การที่มีระบบการทางานที่ชัดเจน ตั้งอยู่บนหลักการของความสมเหตุสมผล - มีการใช้อานาจตามสายการบังคับบัญชา มีการแบ่งงานตามหลักความชานาญเฉพาะด้าน ทา ให้ระบบราชการสามารถทางานที่มีขนาดใหญ่ และสลับซับซ้อนได้อย่างดี - ระบบราชการพัฒนาและใช้มาในช่วงที่สังคมยังเดินไปอย่างช้า ๆ และเพิ่งปรับเปลี่ยนมาจาก สังคมศักดินา ประชาชนยังไม่ตื่นตัวในเรื่องสิทธิเสรีภาพ - ผู้มีอานาจในระดับสูงยังเป็นผู้มีข้อมูลที่มากพอต่อการตัดสินใจได้ดีกว่าคนในระดับล่าง หรือ ประชาชนทั่วไป - คนส่วนใหญ่ยังมีความจาเป็นและต้องการบริการสาธารณะจากรัฐเหมือน ๆ กัน เช่นบริการ ทางด้านการรักษาพยาบาล การศึกษา สาธารณูปโภคต่าง ๆ องค์การภาครัฐที่บริหารแบบระบบราชการจึง สามารถดาเนินงานได้อย่างไม่มีปัญหามากนัก ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
  • 22. ข้อดีของระบบราชการ 1.วิธีการจัดรูปแบบองค์การที่มีกฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และขั้นตอนการ ทางานที่ชัดเจน สามารถป้องกันการใช้อานาจตามอาเภอใจได้ เพราะการทางานต้อง เป็นไปตามขั้นตอน กฎเกณฑ์ และมีหลักฐานเสมอ 2. การทางานตามระบบราชการ เปรียบเสมือนการผลิตสิ่งของด้วยเครื่องจักร สามารถผลิตสิ่งของออกมาตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ 3.การสั่งการตามสายการบังคับบัญชา และการแบ่งงานกันทาตามความชานาญ เฉพาะด้าน ช่วยทาให้ระบบราชการสามารถทางานขนาดใหญ่ ที่มีความสลับซับซ้อนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 4.การที่ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องทางานตามขั้นตอน กฎระเบียบและ มีหลักฐาน อย่างสมเหตุสมผล ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างบุคคล และหน่วยงาน ต่าง ๆ ได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
  • 23. 1.การทางานตามระเบียบ ข้อบังคับ ทาให้คนต้องทาตามขั้นตอน กฎเกณฑ์ต่าง ๆ อย่าง เคร่งครัด ทาให้การทางานเต็มไปด้วยเอกสาร เกิดความล่าช้า เฉื่อยชา ซึ่งอาจนามาซึ่งการขาด ประสิทธิภาพ 2. การบริหารตามลาดับขั้น ทาให้เกิดการทางาน แบบรวมศูนย์ รวมอานาจไว้ที่ผู้บริหาร ระดับสูง อาจก่อให้เกิดปัญหาการใช้อานาจโดยมิชอบ และเกิดความไม่คล่องตัวในการทางานของ ผู้ปฏิบัติงาน 3.ระบบราชการ มองคนเป็นแค่วัตถุ สิ่งของ คนที่ทางานในองค์กร จึงไม่มีบทบาทอะไร เลย เพราะต้องทาตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา ทาให้คนกลายเป็นหุ่นยนต์ (yes man or organization man) เพราะไม่สามารถตัดสินใจทาอะไรได้เอง 4.ระบบราชการ เป็นรูปแบบการจัดองค์กรที่แข็งเหมือนกรงเหล็ก(iron cage) ขาดความ ยืดหยุ่นและต่อต้านการเปลี่ยนแปลงเพราะการทางานที่เน้นรูปแบบที่เป็นทางการเป็นลายลักษณ์ อักษร ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
  • 24. ยกเครื่องระบบราชการ (Reinventing Government) การบริหารแบบผู้ประกอบการ 1. ต้องมีการส่งเสริมการแข่งขันระหว่างผู้ให้บริการ 2. ต้องมีการให้อานาจแก่พลเมือง 3. ต้องมีการเน้นเป้าหมาย และภารกิจ 4. ต้องไม่มุ่งเน้นกฎเกณฑ์และระเบียบต่างๆ มากจนเกินไป 5. ต้องมีการให้คาจากัดความผู้รับบริการ(ประชาชน) ใหม่ว่าเป็น “ลูกค้า” / ต้องเสนอ ทางเลือกต่างๆ ให้ 6. ต้องมีการป้องกันปัญหาก่อนที่จะเกิดขึ้น(รู้จักวิเคราะห์ความเสี่ยง) 7. ต้องมีการหาทางได้มาซึ่งรายได้ก่อน ไม่ใช่เอาแต่การใช้จ่าย 8. ต้องมีการกระจายอานาจหน้าที่ขณะเดียวกันมีการเน้นการมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการมากขึ้น 9. ต้องมีการให้ความสนใจเรื่องของ “กลไกตลาด” มากกว่า “กลไกของระบบราชการ” 10. ต้องมีการกระตุ้นให้ทุกภาคไม่ว่าภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้งพวกอาสาสมัคร ร่วมกันแก้ไขปัญหาชุมชน Osborne & Gaebler, 1992 ,รัฐบาลสหรัฐฯ ยุคคลินตัน
  • 25. การพัฒนาระบบราชการอังกฤษ - ยุค Margaret Thatcher ปี 1979 : Thatcherism - ลดขนาดราชการและเพิ่มประสิทธิภาพ - ลดภาระผู้เสียภาษีและดึงเอกชนมาจัดบริการ - สาเหตุจากเงินเฟ้อและค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สูงถึง 49% ของ GDP
  • 26.  ลัทธิแทตเชอร์ (อังกฤษ: Thatcherism) อธิบายนโยบายการเมืองที่ยึดค่านิยม (conviction politics) นโยบายเศรษฐกิจ สังคมและลีลาการเมืองของนักการเมือง พรรคอนุรักษนิยมบริติช มาร์กาเรต แทตเชอร์ ซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคดังกล่าวระหว่างปี 2518 ถึง 2533 นอกจากนี้ยังใช้อธิบายความเชื่อของรัฐบาลบริติชที่แทตเชอร์เป็น นายกรัฐมนตรีตั้งแต่ปี 2522 ถึง 2533 และถัดมาในรัฐบาลจอห์น เมเจอร์, โทนี แบลร์ และเดวิด แคเมอรอน ผู้อธิบายหรือผู้สนับสนุนลัทธิแทตเชอร์เรียกว่า แทตเชอร์ไรต์ (Thatcherite) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
  • 27. Thatcherism 1. เน้นประสิทธิภาพ (Efficiency) - Fulton Recommendation – คณะ กก.ปฏิรูป - ยกเลิก Public Service Department - ลดจานวนข้าราชการ 1981-1990 - โครงการ Financial Management Initiative : FMI - ตั้ง Efficiency Unit – ส่งเสริม ประสิทธิภาพ ภาครัฐ
  • 28. Thatcherism 2.การสร้างระบบตลาด (Commercialism) นาหลักการสร้างระบบตลาดเข้ามาใช้ เช่น - กระทรวง/กรมต้องรับผิดชอบเรื่องการลงทุน - การปฏิรูประบบสาธารณสุขมูลฐาน ฯลฯ ล้วนนาหลัก Business-Like Management มาใช้
  • 29. Thatcherism 3.การสร้าง Public Accountability - สาหรับหน่วยราชการที่ไม่มีการแข่งขัน - เน้น Accountability ทางการเงิน – ความคุ้มค่า - มี Citizen’s Charter (กฎบัตรพลเมือง) เป็น สัญญาประชาคม ที่จะทางานด้วยมาตรฐานและ คุณภาพให้แก่ประชาชน
  • 30. Tony Blair สานต่อนโยบายปฏิรูประบบราชการของ Conservative Party (Thatcher และ Major) - เงินอุดหนุนเอกชนในการทางานภาครัฐ - สร้างจิตสานึกผู้ประกอบการในภาครัฐ - การวัดผลงานในการบริหารภาครัฐ - การแทรกแซงหน่วยงานที่ทางานล้มเหลว
  • 31. Tony Blair 1. การแข่งขันระหว่างผู้ให้บริการ ซึ่งเน้นที่การใช้เงินที่ได้รับ การจัดสรรจากส่วนกลาง - เช่น National Health Service : NHS - Public service provider / purchaser 2.การปรับปรุงคุณภาพการบริการโดยการจัด Rating เพื่อให้ การเกิดการแข่งขันในการให้บริการระหว่างหน่วยงานของรัฐ/ เอกชน / ภาคอื่นๆ
  • 32. Tony Blair 3.รัฐบาลให้ความสาคัญกับผู้ใช้บริการและพลเมือง - ให้พลเมืองเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการให้บริการสาธารณะ - เช่น ให้ผู้แทนคนไข้ร่วมวางแผนบริการสุขภาพแห่งชาติ หรือ Citizen’s Charter 4.รัฐบาลสนใจควบคุมการทางานของกลุ่มวิชาชีพและสหภาพแรงงาน - ใช้วิธีให้ควบคุมกันเอง - การประเมินและตรวจสอบจากภายนอกและภายในกลุ่มวิชาชีพ - Joined-up government ให้หน่วยงานของรัฐหลายๆ หน่วยงาน ร่วมกันให้บริการประชาชน - No wrong door (ประชาชนไม่มีวันเข้าประตูผิด) รัฐบาลจัดองค์การ ให้มีตัวแทนที่รู้ความต้องการของประชาชน ให้บริการประชาชนได้ทุก เรื่อง
  • 34. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน (ประชาชนเป็นศูนย์กลาง) ประชาชนเป็นปัจจัยสาคัญ เป็นหัวใจของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ - การมุ่งให้บริการแก่ประชาชนไม่ใช่การกากับ ข้าราชการจึงไม่เพียงแต่ตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชนแต่ต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับประชาชนด้วย - การสารวจความสนใจและความต้องการของสาธารณชน เพื่อสร้างความสนใจร่วมและ รับผิดชอบร่วมกัน - การให้คุณค่าแก่ประชาชนในฐานะของการเป็นพลเมืองมากกว่าการเป็นผู้ประกอบการ โดยข้าราชการจะยอมรับที่จะเป็นผู้ช่วยเหลือสังคมมากกว่าการเป็นผู้จัดการธุรกิจที่คิดและทา เสมือนเงินหลวงเป็นเงินของตนเอง
  • 35. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) มุ่งผลประโยชน์สาธารณะ ( Seek the Public Interest ) ต้องสร้าง แนวคิดร่วมกันในเรื่องผลประโยชน์สาธารณะ เป้าหมาย คือ การสร้าง ผลประโยชน์ร่วมกัน (shared interest) ผลประโยชน์สาธารณะ (public interest) เป็นผลสัมฤทธิ์ ของ การแชร์ค่านิยม (shared values) มากกว่าที่จะเป็นเรื่องผลประโยชน์ส่วนบุคคล (individual self-interests)
  • 36. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) Governance (การจัดการปกครอง) การทางานร่วมกับของภาครัฐ ภาคประชาสังคม NGOs อาสาสมัคร ชุมชน และ ภาคเอกชน ในลักษณะเครือข่าย (Network)
  • 37. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ลดการควบคุมจากส่วนกลาง และเพิ่มอิสระในการบริหารให้แก่ หน่วยงาน (การกระจายอานาจ)
  • 38. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ให้ความสาคัญกับการแยกและ กระจายการบริการ
  • 39. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การจัดการโครงสร้างที่ กะทัดรัดและแนวราบ
  • 40. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การเปิ ดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องของการ แข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่างหน่วยงานของ รัฐด้วยกัน และระหว่างหน่วยงานของรัฐกับ หน่วยงานของภาคเอกชน ในขณะเดียวกัน ภาครัฐก็หันมาทบทวนตัวเองว่าสิ่งใดควรทา เองและสิ่งใดควรปล่อยให้เอกชนทา
  • 41. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ต้องมุ่งเน้นที่การบริหารจัดการ ไม่ใช่มุ่งเน้นไปที่นโยบาย
  • 42. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการจัดการตามแบบแผน ของภาคเอกชน Christopher Hood (1991)
  • 43. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการจัดการตามแบบภาคเอกชน (Stress on private sector styles of management practice) มุ่งแสวงหา ที่ใช้ แนวทางของภาค เอกชนและธุรกิจ (private sector and business approaches) ในการ บริหารภาครัฐ กล่าวง่ายๆว่า เป็น “การบริหารรัฐบาล เฉกเช่นเดียวกันธุรกิจ” (run government like a business)
  • 44. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการใช้ระบบกึ่งตลาด และการ จ้างเหมาบริการภายนอกให้ หน่วยงานในภาคเอกชนดาเนินการ ภาครัฐจะต้องลดบทบาทลงโดยการจ้าง ภาคเอกชนดาเนินการแทน (Out Sourcing)
  • 45. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การเปิ ดโอกาสให้เอกชนเข้ามา แข่งขันการให้บริการสาธารณะ
  • 46. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การกาหนด การวัด และการให้ รางวัลแก่ผลการดาเนินงานทั้งใน ระดับองค์กร และระดับบุคคล
  • 47. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) มีมาตรฐานและ การวัดผลงานที่ชัดเจน Christopher Hood (1991)
  • 48. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการควบคุมผลผลิต (output controls) Christopher Hood (1991)
  • 49. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการควบคุมผลผลิตที่มากขึ้น (Greater emphasis on output controls) การใช้ทรัพยากรต้องเป็นไปตามผลงานที่วัดได้ เพราะเน้นผลสาเร็จมากกว่าระเบียบวิธี
  • 50. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การเปลี่ยนระบบราชการที่เน้นระเบียบ และขั้นตอนไปสู่การบริหารแบบใหม่ เน้นผลสาเร็จและความรับผิดชอบ รวมทั้งใช้เทคนิคและวิธีการของเอกชน มาปรับปรุงการทางาน
  • 51. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน และประสิทธิภาพ
  • 52. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) มีมาตรฐานและการวัดผลงานที่ชัดเจน (Explicit standards and measures of performance) ภาครัฐจึงต้องมีจุดมุ่งหมายและเป้าหมายของ ผลงาน และการตรวจสอบจะมีได้ก็ต้องมี จุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
  • 53. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การให้ความสาคัญต่อค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรม และจริยธรรม
  • 54. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การคานึงถึงหลักความคุ้มค่า “ 3 Es ” Rhodes การประหยัด(Economy) ความมีประสิทธิภาพ(Efficiency) ความมีประสิทธิผล (Effectiveness)
  • 55. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีวินัยและประหยัด (Stress on greater discipline and parsimony in resource use) ต้องการตรวจสอบความต้องการใช้ทรัพยากรของภาครัฐ และ “ทางานมากขึ้นโดยใช้ทรัพยากรน้อยลง” (do more with less)
  • 56. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นลักษณะการบริหารที่ ใช้แรงจูงใจและ การมีอิสระในการบริหารจัดการ มอบอานาจการใช้ดุลยพินิจและให้อิสระในการจัดการ (Empowerment)
  • 57. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การให้รางวัลหรือโบนัส แก่ผลงานที่เป็นเลิศ ลงโทษผลงานที่ไม่ได้เรื่อง
  • 58. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้าน บุคลากร (เช่น การฝึกอบรม ระบบ ค่าตอบแทนและระบบคุณธรรม) เทคโนโลยี เพื่อช่วยให้หน่วยงานสามารถ ทางานได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์
  • 59. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เปลี่ยนไปส่งเสริมการแข่งขัน ในการบริการ มุ่งการแข่งขันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและการพัฒนา (Competitive to Efficiency and Development) Christopher Hood (1991)
  • 60. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ใช้ กลไกตลาด(market mechanism) และ มีการแข่งขัน (competition)
  • 62. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ค้นหาวิธีการใหม่ๆ (New way) และ อินโนเวทีพ (Innovative)
  • 63. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เพิ่มผลิตภาพ (productivity)
  • 64. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ต้องค้นหากลไกทางเลือกอื่น ในการส่งมอบการบริการ (alternative service-delivery mechanisms)
  • 65. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การมุ่งเน้นการให้บริการแก่ ประชาชนโดยคานึงถึงคุณภาพ เป็นสาคัญ
  • 66. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) Service Citizens, Not Customers - ผู้ให้บริการสาธารณะ(public servants) ต้องดาเนินการไม่เพียงตอบสนองต่อความ ต้องการของ “ลูกค้า” (customers) เท่านั้น แต่ยังต้อง มุ่งไปที่การสร้างความสัมพันธ์ ของ ความไว้วางใจ และ ความร่วมมือ (collaboration) ระหว่างและในหมู่พลเมือง (citizens) - การคานึงว่าประชาชนเป็นผู้มีคุณค่าไม่ใช่แค่ผลผลิต หน่วยงานราชการต่างๆจะ ประสบความสาเร็จในระยะยาวหากดาเนินการด้วยการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน และสร้างการเป็นผู้นาร่วมกันกับประชาชนบนพื้นฐานของการเคารพประชาชน - ประชาชนมีฐานะของการเป็นพลเมือง - การเป็นหุ้นส่วนในการดาเนินกิจกรรม - การเป็นพลเมืองและหุ้นส่วน การปรึกษาหารือ การเปิ ดเผยข้อมูล การมีส่วนร่วม การทางานอย่างโปร่งใส การทางานที่มีหลักการ การยึดหลักนิติธรรม
  • 67. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การบริหารงานแบบมืออาชีพ - การสวมจิตวิญญาณผู้ประกอบการ (Entrepreneur) โดยนากลไกตลาด เน้น ลูกค้า ทางานเชิงรุก ชอบเสี่ยง แสวงหาโอกาส เจรจาต่อรอง ฯลฯ - สรรหาผู้บริหารที่มีสมรรถนะสูงจากบุคคลนอกระบบ (Performance Appraisal)
  • 68. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นนักบริหารที่มุ่งปฏิบัติและ เป็นผู้ประกอบการ (ตรงกันข้ามกับจุดเน้นของนักบริหารภาครัฐที่ เน้นการทางานแบบระบบราชการดั้งเดิม) Christopher Hood (1991)
  • 69. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การจัดการโดยนักวิชาชีพที่ชานาญการ (Hands-on professional management) ผู้จัดการมืออาชีพได้จัดการด้วยตัวเอง ด้วยความชานาญ โปร่งใส และมีความสามารถในการใช้ดุลพินิจ เหตุผลก็เพราะ เมื่อผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายแล้ว ก็จะเกิดความ รับผิดชอบต่อการตรวจสอบจากภายนอก
  • 70. แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) แยกหน่วยงานภาครัฐออกเป็นหน่วยย่อยๆ (Shift to disaggregation of units in the public sector) แยกตามลักษณะสินค้าและบริการที่ผลิต ให้เงิน สนับสนุนแยกกัน และติดต่อกันอย่างเป็นอิสระ
  • 72.  การจัดการ ทักษะในการทางานให้สาเร็จจากผู้อื่น ไม่ เหมือนกับ การบริหาร ซึ่งหมายถึง กระบวนการบริหาร องค์กรทั้งหมดอย่างมีประสิทธิภาพ  อ้างอิงจาก : https://th.gadget-info.com/difference-between-management ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 72
  • 73.  การจัดการหมายถึงการบริหารคนและงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมกันโดยใช้ ทรัพยากรขององค์กร มันสร้างสภาพแวดล้อมที่ผู้จัดการและผู้ใต้บังคับบัญชาของเขา สามารถทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกลุ่ม เป็นกลุ่มคนที่ใช้ทักษะและ ความสามารถของพวกเขาในการใช้ระบบที่สมบูรณ์ขององค์กร มันเป็นกิจกรรมฟังก์ชั่น กระบวนการวินัยและอื่น ๆ อีกมากมาย  การวางแผนการจัดระเบียบผู้นาการจูงใจการควบคุมการประสานงานและการตัดสินใจ เป็นกิจกรรมที่สาคัญที่ดาเนินการโดยฝ่ายบริหาร ฝ่ายบริหารนา 5M มารวมกันใน องค์กร ได้แก่ ผู้ชายวัสดุเครื่องจักรวิธีการและเงิน เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ซึ่ง มุ่งเน้นไปที่การบรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 73
  • 74.  การบริหารเป็นกระบวนการที่เป็นระบบในการบริหารการจัดการขององค์กรธุรกิจ สถาบันการศึกษาเช่นโรงเรียนหรือวิทยาลัยหน่วยงานราชการหรือองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร หน้าที่หลักของการบริหารคือการจัดทาแผนนโยบายและขั้นตอนการกาหนดเป้าหมายและ วัตถุประสงค์การบังคับใช้กฎระเบียบและข้อบังคับ ฯลฯ  การบริหารวางโครงร่างพื้นฐานขององค์กรซึ่งการจัดการขององค์กรทาหน้าที่  ลักษณะของการบริหารราชการคือระบบราชการ เป็นคาที่กว้างขึ้นเนื่องจากเกี่ยวข้องกับการ พยากรณ์การวางแผนการจัดระเบียบและการตัดสินใจในระดับสูงสุดขององค์กร การบริหาร หมายถึงชั้นบนสุดของลาดับชั้นการจัดการขององค์กร หน่วยงานระดับสูงเหล่านี้เป็นเจ้าของ หรือหุ้นส่วนธุรกิจที่ลงทุนเงินทุนในการเริ่มต้นธุรกิจ พวกเขาได้รับผลตอบแทนในรูปแบบของ ผลกาไรหรือเป็นเงินปันผล ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 74
  • 75. ระบบ (System) มีความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้ความหมายเอาไว้ว่า ระบบ คือ ระเบียบเกี่ยวกับการรวมสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมี ลักษณะซับซ้อนให้เข้าลาดับประสานเป็นอันเดียวกันตามหลักเหตุผลทางวิชาการ หรือ หมายถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติซึ่งมีความสัมพันธ์ ประสานเข้ากัน โดยกาหนดรวมเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ระบบ (System) คือ กระบวนการต่าง ๆ ที่อยู่ในเครือข่ายเดียวกันและมี ความสัมพันธ์กันระหว่างกระบวนการเหล่านั้น และเชื่อมต่อกันเพื่อทางานใดงานหนึ่งให้ บรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้ ระบบ (System) คือ กลุ่มขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ทางานร่วมกัน เพื่อ จุดประสงค์อันเดียวกันและเพื่อให้เข้าใจในความหมายของคาว่าระบบที่จะต้องทาการ วิเคราะห์ จึงต้องเข้าใจลักษณะของระบบก่อน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 75
  • 76.  การรวมของสิ่งย่อย ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน ตั้งแต่หนึ่งส่วนขึ้นไปเป็นหน่วยเดียวกัน เพื่อวัตถุประสงค์ หรือความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน เช่น ระบบราชการแผ่นดิน ประกอบด้วย กระทรวง ทบวง กรมและกองต่าง ๆ เป็นต้น หรือระบบสุริยจักรวาล (Solar System)  ระบบการทางานขององค์การต่าง ๆ ที่ประกอบด้วยระบบย่อย ๆ หลายระบบรวมกันและ ทางานร่วมกัน ซึ่งจะต้องมีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อประโยชน์หรือวัตถุประสงค์ ร่วมกันหรืออย่างเดียวกัน เช่น ระบบโรงเรียน ระบบโรงพยาบาล ระบบธนาคาร ระบบบริษัท ระบบห้างร้าน เป็นต้น  การทางานของหน่วยงานย่อยต่าง ๆ ของระบบ จะต้องมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องประสานกัน โดยมีวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายร่วมกันหรืออย่างเดียวกัน เช่น ในองค์กรหนึ่งอาจแบ่ง ออกเป็นหลายฝ่าย หรือหลายแผนก โดยแต่ละฝ่ายหรือแต่ละแผนกจะมีหน้าที่ในการทางาน ร่วมประสานเพื่อนวัตถุประสงค์เดียวกัน  ระบบอาจถูกจาแนกแยกเป็นประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือหลายประเภท ทั้งนี้สุดแต่ใครเป็นผู้ จาแนก และผู้ที่ทาการจาแนกจะเห็นว่าควรแบ่งหรือควรจะจัดเป็นประเภทใด เช่น เป็นระบบ เปิดหรือระบบปิด ระบบเครื่องจักร หรือระบบกึ่งเครื่องจักร เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 76
  • 78. ➢ 1 Man หมายถึง บุคลากร คือ ผู้ที่จะต้องเกี่ยวข้องกับระบบงาน หรือหมายถึง คนทุก คนที่เกี่ยวข้องกับระบบนั้นเอง อาจจะประกอบไปด้วยผู้บริหารระดับต่าง ๆ ซึ่งจะมีทั้ง ผู้บริหาร ระดับสูง ระดับกลาง และระดับปฏิบัติงาน และอาจประกอบด้วยนักวิชาการ ในระดับต่าง ๆ แต่จะนับรวมลูกค้าหรือผู้บริโภค ซึ่งเป็นผู้ที่มีความสาคัญไม่น้อยของ ระบบด้วยหรือไม่ก็ย่อมสุดแล้วแต่นักวิชาการทางด้านบริหารระบบจะตัดสินใจ ➢ 2 Money หมายถึง เงินหรือทรัพย์สินที่มีค่าเป็นเงินของระบบ ซึ่งนับเป็นหัวใจที่สาคัญ อย่างหนึ่งของระบบ เช่น เงินทุน เงินสด เงินหมุนเวียน เงินคาใช้จ่าย หรือ เงินรายรับ รายจ่ายต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นต้น ถ้าการเงินของระบบไม่ดีพอแล้ว ระบบนั้นย่อมจะ ประสบกับความยุ่งยากหรืออาจถึงแก่การหายนะได้ เพราะฉะนั้น ระบบธุรกิจทุกชนิด จะต้องมีความระมัดระวังในเรื่องของการเงินเป็นพิเศษ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 78
  • 79. ➢ 3 Material หมายถึง ตัวสินค้าหรือวัสดุที่ใช้ในการผลิตสินค้า ซึ่งเป็นอีกองค์ประกอบ หนึ่งที่มีความสาคัญของระบบไม่น้อย ปัญหาในเรื่อง Material หรือสินค้าและวัสดุนี้มี 2 ประการใหญ่ๆ 1 ประการแรก เป็นการขาดแคลนวัสดุ เช่น การขาดวัตถุดิบสาหับใช้ในการผลิต สินค้าของโรงงานอุตสาหกรรม เมื่อขาดวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ก็จะทาให้ไม่มีสินค้าสาหรับ ขาย ผลก็คือการขาดทุน 2 ประการที่สอง คือ การมีวัตถุดิบมากเกินความต้องการ เช่น มีสินค้าที่จาหน่าย หรือขายไม่ออกมากเกินไป ทาให้เงินทุนไปจมอยู่กับวัตถุดิบทาให้เกิดการขาดทุน เช่นเดียวกันนั้นเอง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 79
  • 80. ➢ 4 Machine หมายถึง เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ในโรงงานหรือใน สานักงาน ซึ่งนับว่าเป็นองค์ประกอบที่สร้างปัญหาให้กับระบบอย่างสาคัญประการหนึ่ง เหมือนกัน ปัญหาที่ทาให้ได้กาไรหรือขาดทุนมากที่สุดของธุรกิจมักเกิดจากเครื่องจักร และอุปกรณ์การทางานเป็นส่วนใหญ่ เช่น เครื่องมีกาลังผลิตไม่พอ เครื่องเก่า หรือเป็น เครื่องที่ล้าสมัย ทาให้ต้องเสียค่าซ่อมบารุงสูง มีกาลังผลิตน้อยประสิทธิภาพ ในการ ทางานต่า แต่ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบารุงหรือค่าทางานที่ล่าช้า ทางานไม่ทันกาหนดเวลา ที่กาหนดไว้ ทาให้เกิดความเสียหายและขาดรายได้หรือขาดทุน เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 80
  • 81. ➢ 5 Management หมายถึง การบริหารระบบ ซึ่งเป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ทาให้ระบบเกิด ปัญหา เพราะการบริหารที่ไม่ดีหรือการบริหารที่ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของสภาวะ แวดล้อมหรือไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงต่อสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ที่เรียกกันว่า ไม่เป็นไปตามโลกานุวัตร หรือการได้ผู้บริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพมาบริหารงาน ซึ่ง ส่วนมากมักเกิดขึ้นในระบบราชการ สาหรับระบบทางธุรกิจของเอกชนจะถือว่า การ บริหารงานเป็นเรื่องที่สาคัญที่สุด เพราะถ้าการบริหารไม่ดีแล้วธุรกิจนั้นก็ไม่สามารถที่ จะอยู่ได้ กิจการต้องล้มเลิกไปในที่สุด ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 81
  • 82. ➢ 6 Morale หมายถึง ขวัญและกาลังใจของบุคคลในระบบ หรือหมายถึง ค่านิยมของคน ที่มีต่อระบบหรือต่อองค์กรมากกว่า ซึ่งเป็นค่านิยมของคนในระบบที่มีขวัญและกาลังใจ ในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นค่านิยมของผู้บริโภคหรือบุคคลภายนอก ที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนให้ระบบอยู่รอด และกระตุ้นจูงใจด้วยวิธีต่าง ๆ ก็มีจุดมุ่งหมาย ในสิ่งนี้ระบบที่ขาดค่านิยมหรือขาดความเชื่อมั่นของบุคคล ระบบนั้นก็มักจะอยู่ต่อไป ไม่ได้ จะต้องประสบกับความล้มเหลวในที่สุด ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 82
  • 84.  Input หมายถึง ข้อมูลหรือระบบข้อมูลที่ใช้ป้อนเข้าสู่ระบบ เพื่อ ประโยชน์ในการนาไปใช้ ในที่นี้ยกตัวอย่างเป็น ระบบสารสนเทศ เพื่อใช้ในการบริหารหรือเพื่อการตัดสินใจ ดังนั้น ข้อมูลซึ่งเป็นตัว ป้อนเข้าระบบ จะมีอยู่ในหลายลักษณะด้วยกัน เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบสั่งซื้อสินค้า เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 84
  • 85.  Processing หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจจะแบ่งได้เป็น 1 การปฏิบัติงานตามขั้นตอนต่าง ๆ ตามที่กาหนดไว้ 2 การควบคุมการปฏิบัติงาน 3 การตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน 4 การรวบรวมข้อมูล 5 การตรวจสอบข้อมูล 6 การ Update ข้อมูล 7 การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้ Output ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 85
  • 86.  Output หมายถึง ผลการปฏิบัติงานต่าง ๆ ซึ่งอาจแบ่งได้เป็น 1 ข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติงาน 2 ข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล 3 ใบรายงานต่าง ๆ จากการปฏิบัติงาน 4 ใบบันทึกการปฏิบัติงาน 5 การทาทะเบียนและบัญชีต่าง ๆ เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 86
  • 87.  Feedback หมายถึง ข้อมูลย้อนกลับ หรือผลสะท้อนที่ ได้รับจากการปฏิบัติงาน เช่น ความนิยมในผลงานที่ได้ ปฏิบัติ ความเจริญหรือความเสื่อมของธุรกิจ เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 87
  • 88. ในระบบของสังคมมักจะประกอบด้วยองค์การที่มีกิจกรรมที่เป็นรูปแบบต่าง ๆ ซึ่ง มีความสัมพันธ์และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันในผลผลิตหรือปัจจัยนาออก และเป็นกิจกรรม ที่เกิดขึ้นซ้า ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยนาเข้าที่เป็นพลังงาน (energic input) มีการ เปลี่ยนแปลงพลังงานในระบบ และได้ผลลัพธ์ออกมาเป็นสินค้า หรือปัจจัยนาออกที่ เป็นพลังงาน (energic output) โดยใช้การแลกเปลี่ยนที่เป็นเงินในการซื้อขายปัจจัยนาเข้า ที่เป็นวัตถุดิบต่าง ๆ หรือ ปัจจัยนาออกที่เป็นสินค้าต่าง ๆ เพื่อมาใช้หมุนเวียนต่อในระบบ อย่างต่อเนื่องและซ้า ๆ (Katz & Kahn, 2004, หน้า 207) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 88 อ้างอิง : Katz, Daniel & Kahn Robert. “Organization and System Concept ”, in Shafritz, Jay M &Hyde,Albert C. (2004). Classics of PublicAdministration.Wadswort: Cengage Learning, pp.446-455.
  • 89. 1) มีพลังงานที่นาเข้ามา (importation of energy) ระบบเปิดจะต้องนาเข้า รูปแบบของพลังงานจากสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น ร่างกายต้องการอ็อกซิเจนจากอากาศ ต้องการอาหารจากโลกภายนอก ลักษณะนิสัยก็ขึ้นอยู่กับสิ่งเร้าในโลกภายนอกเช่นกัน ไม่มี สังคมใดที่มีโครงสร้างที่อยู่ได้ด้วยตัวเองลาพังได้ 2) มีกระบวนการเปลี่ยนแปลง (though-put) ระบบเปิดต้องมีการเปลี่ยน พลังงานที่มีอยู่ เช่น ร่างกายเปลี่ยนแป้งและน้าตาลเป็นความร้อนและพลังงาน ลักษณะ นิสัยเปลี่ยนรูปแบบของสารเคมีและอนุภาคไฟฟ้าของสิ่งเร้าเป็นการรับรู้และข้อมูลในระบบ ความคิด หรือการแปลงวัตถุดิบเป็นสินค้าและบริการต่างๆ รวมถึงคนที่ได้รับการฝึกอบรม 3) ปัจจัยนาออก (output) ระบบเปิดต้องส่งผลผลิตไปสู่สิ่งแวดล้อม เช่น ร่างกาย จะปล่อยคาร์บอนไดอ็อกไซด์จากปอดให้กับต้นไม้ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อม เช่น ผลผลิตที่เป็น สินค้าและบริการต่าง ๆ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 89
  • 90. 4) มีการหมุนเวียนอย่างต่อเนื่องของเหตุการณ์ (systems as cycles of events) รูปแบบของกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนพลังงานจะมีลักษณะการหมุนเวียนอย่างต่อเนื่อง กิจกรรม นั้นก็จะเกิดขึ้นซ้าแล้วซ้าอีก เช่น ในอุตสาหกรรมมีการแลกเปลี่ยนจากปัจจัยนาเข้าที่เป็นวัตถุดิบ และแรงงานเป็นปัจจัยนาออกที่เป็นสินค้าที่ขายได้ในท้องตลาด ได้เงินกลับมาเพื่อที่จะซื้อวัตถุดิบ ใหม่และจ่ายค่าแรงในการผลิตต่อไป โดยเป็นกิจกรรมที่หมุนเวียนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งก็ตรงกับ แนวคิดเหตุการณ์ที่เกิดอย่างซ้า ๆ ต่อเนื่อง (chain of events) ของ Allport 5) หยุดภาวะเสื่อมสลาย (negative entropy) ระบบเปิดจะต้องมีดักจับกระบวนการ เสื่อมสลาย (entropic process) ให้ได้เพื่อความอยู่รอด ซึ่งกระบวนการเสื่อมสลายนี้เป็นกฎ ธรรมชาติที่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นจะต้องมีอันเสื่อมดับสูญ หรือตายไป โดยที่ระบบเปิดจะต้องนา พลังงานเข้ามามากกว่าที่จะใช้และเก็บพลังงานนี้ไว้ และสามารถที่จะหยุดความเสื่อมสลายนี้ได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 90
  • 91. 6) ปัจจัยนาเข้าที่เป็นข้อมูล ข้อมูลป้อนกลับที่เป็นลบ และกระบวนการแปลงความหมาย (information input, negative feed-back and coding process) ข้อมูลมีความสาคัญที่ใช้สัญญาณให้ทา หน้าที่ต่าง ๆ ส่วนข้อมูลป้อนกลับที่เป็นลบจะทาให้ระบบแก้ไขตัวเองจากสิ่งที่ผิดปกติ เช่น เครื่องปรับอุณหภูมิ (thermostat) ใช้ในการควบคุณอุณหภูมิของห้อง และมีกระบวนการตรวจสอบว่าข้อมูลข่าวสารอันใดมี ประโยชน์หรือไม่ เพราะเป็นไปไม่ได้ที่จะรับข้อมูลเข้าไปในระบบทั้งหมด จึงจาเป็นที่จะต้องเลือก 7) การรักษาตนเองให้อยู่ในภาวะสมดุล (steady state and dynamic homeostasis) พลังงานจะ ถูกนามาใช้ในการรักษาความเสถียรในการแลกเปลี่ยนพลังงานของระบบ เช่น การรักษาระดับอุณหภูมิของ ร่างกาย ไม่ว่าสิ่งแวดล้อมภายนอกจะมีความ ชื้น หนาว หรือร้อน ระบบของร่างกายก็จะทาหน้าที่ปรับสมดุลให้ ร่างกายมีอุณหภูมิเท่าเดิมตลอดเวลา นอกจากนั้น เรายังสามารถคาดการณ์สิ่งที่รบกวนหรือปัญหาในอนาคตได้ เช่น เราจะกินก่อนที่จะรู้สึกหิวจัด สภาวะนี้เรียกว่า การรักษาสมดุลที่เป็นพลวัต (dynamic homeostasis) คือ การคงรักษารูปแบบลักษณะของระบบไว้ โดยนาเข้าพลังงานมากกว่าที่จะส่งออกไปหมด เพื่อเก็บสารองไว้ใช้ ยามฉุกเฉิน เช่น ร่างกายจะเก็บไขมันไว้เป็นพลังงานสารอง เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 91
  • 92. 8) ความแตกต่างของหน้าที่ (differentiation) ระบบเปิดจะ มุ่งไปสู่รูปแบบของหน้าที่แตกต่างกันโดยแบ่งตามความชานาญ เช่น อวัยวะที่ใช้รับรู้จะประกอบด้วยระบบประสาทต่าง ๆที่มีความ ซับซ้อนโดยพัฒนามาจากเนื้อเยื่อเซลล์ประสาท 9) การไปถึงจุดหมายเดียวกัน (equifinality) ระบบสามารถ ที่จะไปถึงจุดหมายเดียวกันได้ โดยมีเงื่อนไขที่แตกต่างกันรวม ทั้งมี วิธีการที่แตกต่างกันที่จะไปถึงเป้าหมายเดียวกัน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 92
  • 94.  ให้นักศึกษา อธิบาย Input Processing Output และ Feedback ของระบบมา 1 ระบบ ในที่ทางานของนักศึกษา ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 94
  • 95.  วิธีการระบบที่ดี จะต้องเป็นการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้อย่าง ประหยัดและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ เพื่อให้การ ทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมายที่วางไว้  ถ้าระบบใดมีผลผลิตทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพมากกว่าข้อมูล วัตถุดิบ ที่ป้อนเข้าไป ก็ถือได้ว่าเป็นระบบที่มีคุณภาพ ในทางตรงข้ามถ้าระบบมี ผลผลิตที่ต่ากว่าข้อมูลวัตถุดิบที่ไปใช้ ก็ถือว่าระบบนั้นมีประสิทธิภาพต่า ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 95
  • 96.  1.ระบบธรรมชาติ (Natural System) และระบบที่คนสร้างขึ้น (Manmade System) 1.1 ระบบธรรมชาติ (Natural System) หมายถึง ระบบที่เป็นไปตามธรรมชาติ หรือปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ หรือโดยการอาศัยธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ เช่น ระบบ ไฟฟ้าน้าตก ระบบการค้าขายของเอกชนที่เป็นไปโดยธรรมชาติ ต่างคนต่างทา ซึ่งไม่มีการ จัดระบบหรือระเบียบอย่างใดอย่างหนึ่งไว้ 1.2 ระบบที่คนสร้างขึ้น (Manmade System) หมายถึง ระบบที่มีการสร้างขึ้น ซึ่งอาจเป็นการสร้างจากระบบธรรมชาติเดิมหรืออาจจะไม่ได้อาศัยธรรมชาติเดิมก็ได้ เช่น ระบบบริหารราชการแผ่นดินที่เป็นไปตามกฎหมาย ระบบธนาคาร ระบบบริษัท ระบบ เครื่องจักร เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 96
  • 97.  2. ระบบปิด (Close System) และระบบเปิด (Open System) 2.1 ระบบปิด (Close System) หมายถึง ระบบที่มีการควบคุมการทางาน และการ แก้ไขด้วยตัวของระบบเองอย่างอัตโนมัติ โดยระบบไม่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าไปปฏิบัติได้ ด้วยตนเอง หรือไม่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกได้เข้าร่วมการดาเนินการ เมื่อบุคคลภายนอก ต้องการขอใช้บริการจะต้องส่งงานให้บุคคล ในระบบงานเป็นผู้ปฏิบัติให้ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกัน ความเสียหายอันจะเกิดขึ้น ของระบบหรือเพื่อป้องกันความลับของการปฏิบัติงานก็ได้ 2.2 ระบบเปิด (Open System) หมายถึง ระบบที่ไม่มีการควบคุมการทางานด้วยตัว ระบบเอง จะต้องควบคุมดูแลโดยมนุษย์ ระบบที่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าไปปฏิบัติงานได้ เช่น ยอมให้บุคคลภายนอกเข้าไปทางานกับ เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตัวเองเป็นต้น ระบบเปิด ส่วนมากเป็นระบบการใช้เครื่องจักร เช่น ระบบเครื่อง ATM หรือระบบการใช้ห้องสมุดเป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 97
  • 98.  3.ระบบคน (Man System) ระบบเครื่องจักร (Machine System) และระบบคน – เครื่องจักร (Man-Machine System) 3.1 ระบบคน (Man System หรือ Manual System) หมายถึง ระบบที่การปฏิบัติงาน ส่วนใหญ่จะใช้แรงงานคน หรือระบบที่ใช้แรงงานคนในการทางานโดยตรงอาจจะมีเครื่องจักรช่วย ในการทางานบ้างก็ได้ แต่จะต้องเป็นเครื่องจักร ที่มีอยู่ภายใต้การควบคุมของคนโดยตรง เช่น ระบบการประมวลผลด้วยมือ ระบบการลงบัญชีหรือทะเบียนโดยใช้คนเป็นผู้ทาได้แก่ การรับส่ง หนังสือ การพิมพ์หนังสือ การลงทะเบียน ระบบการควบคุมการจราจรโดยใช้เจ้าหน้าที่ไปทาการ โบกรถที่ถนน การทางานอุตสาหกรรมในครัวเรือนโดยใช้คนทา การตัดเย็บเสื้อผ้าด้วยมือ เป็นต้น 3.2 ระบบเครื่องจักร (Machine System) หมายถึง ระบบการทางานที่ใช้เครื่องจักร โดยตรง คือ เครื่องจักรจะเป็นผู้ทางานให้ ซึ่งอาจจะจะใช้คนบ้างเพื่อควบคุมให้เครื่องจักรทางาน ไปได้เท่านั้น เช่น การฝากถอนเงินโดยเครื่อง ATM การทอผ้าด้วยเครื่องทอผ้า การพิมพ์หนังสือ ของโรงพิมพ์ การบรรจุขวดของน้าอัดลม ยา หรือ อาหารกระป๋อง การบรรจุหีบห่อที่ทาโดยตรง ด้วยเครื่องจักร เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 98
  • 99.  4.ระบบหลัก (Main System) และระบบรอง (Minor System) 4.1 ระบบหลัก (Main System) หมายถึง ระบบที่วางไว้เป็นหลัก หรือแนวทาง สาหรับการกาหนด หรือสาหรับการจัดทาระบบรองเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ บางอย่างหรือเพื่อให้เหมาะสมกับหน่วยปฏิบัติงานย่อย ระบบหลักส่วนมากจะเป็นระบบที่ วางไว้อย่างกว้างๆ เพื่อให้เข้ากันได้กับทุกสถานการณ์หรือทุกหน่วยงาน 4.2 ระบบรอง (Minor System) หมายถึง ระบบที่ช่วยเสริมระบบหลักให้สมบูรณ์ หรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การทางานที่มีแผนระบบสั้นและแผนระยะยาว ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 99
  • 100.  5. ระบบใหญ่ (System) และระบบย่อย (Sub System) 5.1 ระบบใหญ่ (System) หมายถึง ระบบรวม หรือระบบที่รวมระบบย่อย ๆ ตั้งแต่หนึ่งระบบขึ้นไป เพื่อปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมาย เดียวกันหรือร่วมกัน เช่นระบบบริหารราชการแผ่นดินที่ประกอบด้วยกระทรวงและทบวง หรือระบบองค์ประกอบธุรกิจที่ประกอบด้วยฝ่ายหรือแผนกงานต่าง ๆ 5.2 ระบบย่อย (Sub System) หมายถึง ระบบย่อยของระบบใหญ่ เพื่อ ปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งของระบบใหญ่ หรือเป็นส่วนหนึ่งของระบบใหญ่ ซึ่งถ้าขาด ระบบย่อยส่วนใดส่วนหนึ่งแล้ว ระบบใหญ่จะดาเนินการต่อไปไม่ได้ และระบบย่อย เหล่านี้ อาจจะแบ่งออกเป็นระบบย่อย ๆ ต่อไปได้อีกเป็นลาดับๆ ไป ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 100
  • 101.  6.ระบบธุรกิจ (Business System) และระบบสารสนเทศ (Information System) 6.1 ระบบธุรกิจ (Business System) หมายถึงระบบที่ทางานเพื่อจุดประสงค์ด้านธุรกิจ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นระบบธุรกิจเพื่อจุดประสงค์ด้านการผลิต ระบบขนส่ง ระบบโรงแรม ระบบการพิมพ์ ระบบธนาคาร และอื่น ๆ อีกมากมาย ล้วนแล้วแต่เป็นระบบธุรกิจทั้งนั้นแต่ละ ระบบมีจุดประสงค์แตกต่างกันออกไป ระบบธุรกิจอาจจะแบ่งเป็นย่อย ๆ ลงไปได้อีก 6.2 ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง ระบบที่ช่วยในการจัดการ ข้อมูลที่ต้องการใช้ในการจัดการข้อมูลที่ต้องการใช้ในระบบธุรกิจ ช่วยเก็บตัวเลขและข่าวสารเพื่อ ช่วยในการดาเนินธุรกิจและการตัดสินใจ เช่น ระบบการเก็บข้อมูลลูกค้า อันได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ สินค้า ที่ซื้อขาย การจ่ายเงิน ของลูกค้าเป็นอย่างไร มีการติดหนี้หรือหนี้สูญหรือไม่อย่างไร ซึ่งระบบ สารสนเทศนี้อาจจะใช้หรือไม่ใช้คอมพิวเตอร์ก็ได้ การแผนข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพเป็นกุญแจ สาคัญที่นาไปสู่ความสาเร็จในด้านธุรกิจอย่างมาก ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 101
  • 102.  7.ระบบงานประมวลผลข้อมูล (Data – Processing System) หมายถึง ระบบข้อมูล ของคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของธุรกิจเพื่อใช้ ประมวลผลข้อมูลจานวนมาก ๆ เป็นประจา เช่น การประมวลผลเงินเดือน สินค้าคง คลัง เป็นต้น ระบบงานประมวลผลข้อมูลจะเป็นระบบที่ช่วยลดเวลาในการปฏิบัติงานลง โดยอาศัยความสามารถของคอมพิวเตอร์มาทดแทนการประมวลผลข้อมูลด้วยคน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 102
  • 103.  8.ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System) หมายถึง ระบบที่นาข้อมูลมาทางานวิเคราะห์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างข้อมูลให้กับนักบริหาร เพื่อประกอบการตัดสินใจ หรือเรียกระบบนี้ว่า MIS ระบบนี้เป็นระบบงาน ข้อมูลคอมพิวเตอร์ (Information System) แบบหนึ่ง ซึ่งต้องการปัจจัย 3 ประการ คือ 8.1 คน (People) 8.2 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 8.3 ซอฟต์แวร์ (Software) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 103