SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
Download to read offline
การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจาก หนังสือคู่มือซอฟต์แวร์การวางแผนทรัพยากรองค์กร ERP
ของ ดร.คานาย อภิปรัชญาสกุล
ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่สาหรับองค์กรระดับโลก
การเชื่อมต่อเครือข่าย
โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสาหรับอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย และลูกข่ายบนอินเตอร์เน็ต
อินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ต
ระบบเว็บไร้สาย
2
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ระบบโทรคมนาคมสาหรับการจัดการซัพพลายเชน
การให้บริการในโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับไฟร์วอลล์
การให้บริการผ่านดาวเทียม
3
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
โครงสร้างระบบสารสนเทศในองค์กรสมัยใหม่ช่วยลดค่าใช้จ่ายอย่างมหาศาลสาหรับ
สาขาองค์กร และรายการทางานต่าง ๆ ทาให้เกิดเป็นรากฐานที่มั่นคงสาหรับการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีระบบ เครือข่ายที่กว้างขวางและระบบอินเตอร์เน็ตเป็นองค์ประกอบที่
สาคัญ ซึ่งมีรายละเอียดต่อไปนี้
4
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เป็นการจัดการองค์กรสาหรับฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เครือข่าย และแหล่งข้อมูลที่
สามารถผสามผสานการใช้งานฮาร์ดแวร์ที่ผลิตจากบริษัทต่างกันได้ระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่
มีความซับซ้อนสาหรับการเก็บข้อมูลของทั้งองค์กรจะถูกติดตั้งไว้ ที่เครื่องเมนเฟรมหรือเครื่อง
แม่ข่าย ฐานข้อมูลขนาดเล็กและบางส่วนของฐานข้อมูลจะถูกกระจาย เก็บไว้ตามเครื่อง
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเครือข่าย ระบบแม่ข่ายกับ
ลูกข่าย ถูกนามาใช้ในการแบ่งเบาภาระการประมวลผล จากเครื่องแม่ข่ายที่ศูนย์กลางไปยัง
เครื่องผู้ใช้ ระบบการเชื่อมต่อผู้ใช้ได้รวมความสามารถในการติดต่อกับผู้ใช้สัญจรที่มีอุปกรณ์
เช่น โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น ระบบโครงสร้างใหม่นี้ ยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับโครงสร้าง
เครือข่ายสาธารณะได้ด้วยเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตถูกนามาใช้เป็นเทคโนโลยีหลักในการเชื่อมต่อ
กับลูกค้าพนักงานและบริษัทจาหน่ายปัจจัยการผลิต
5
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แยกจากกันเข้าสู่เครือข่าย ที่สามารถเชื่อมต่อกับ
ต่างประเทศ ช่องสื่อสารหลักอาจถูกนามาใช้เชื่อมต่อระบบเครือข่ายขององค์กรเข้ากับระบบ
เครือข่ายองค์กรอื่น หรือระบบอินเตอร์เน็ต หรือระบบเครือข่ายโทรคมนาคมสาธารณะหรือ
ระบบเครือข่ายอื่น ๆ การเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ที่มีการจัดการบริหารด้วย
ตนเองเข้าด้วยกัน เรียกว่า การเชื่อมโยงระหว่างเครือข่าย ซึ่งปัจจุบันมีผู้ให้บริการหลายรายใน
ประเทศไทย เช่น TOT, True ฯลฯ
6
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เป็นการวัดความสามารถของระบบคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์พื้นฐาน ระบบ
คอมพิวเตอร์ในระบบเปิด ทั้งซอฟต์แวร์ และการดาเนินงานบนแพลทฟอร์มฮาร์ดแวร์ที่แตกต่าง
กัน ซึ่งมีรายละเอียดต่อไปนี้
7
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ในการสื่อสารระหว่างกันทาให้การ
ใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างมีความหมายโดยไม่ต้องมีคนเข้ามา ช่วยเหลือเรียกว่า การเชื่อมต่อ ซึ่ง
ปัจจุบันนิยมใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต XML และใช้ภาษา Dot Net Framework หรือ JAVA
เพื่อเขียนเวบไซต์ โดย JAVA2E เป็นภาษาในระบบเปิดไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ ช่วยให้การ
เชื่อมต่อนี้เกิดขึ้นได้เป็นบางส่วน แต่เทคโนโลยีพื้นฐานนั้นเกิดขึ้นจากการใช้ระบบ เครือข่าย
เอกชนเป็นส่วนใหญ่ การเชื่อมต่อจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีมาตรฐานสาหรับระบบเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการ และส่วนติดต่อผู้ใช้มาตรฐานระบบเปิดได้สนับสนุนการเชื่อมต่อระหว่างระบบ
เครือข่าย โดยการเสนอมาตรฐานสาหรับอุปกรณ์ทุกชนิดเพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างกันได้
8
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
มีอยู่หลายชนิด ดังนี้
1. แบบจาลอง OSI (Open System interconnect)
2. ระบบ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
9
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
OSI Model
ในปี ค.ศ. 1977 องค์กร ISO (international Oraganization for Standard)ได้จัดตั้ง
คณะกรรมการขึ้นกลุ่มหนึ่ง เพื่อทาการศึกษาจัดรูปแบบมาตราฐาน และพัฒนาสถาปัตยกรรม
เครือข่าย และใน ปี ค.ศ. 1983 องค์กร ISO ก็ได้ออกประกาศรูปแบบของสถาปัตยกรรม
เครือข่ายมาตราฐานในชื่อของ "รูปแบบ OSI " (Open System Interconnection Model)
เพื่อใช้เป็นรูปแบบมาตราฐานในการเชื่อมต่อระบบ คอมพิวเตอร์
10
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
รูปแบบ OSI มีการ แบ่งโครงสร้างของสถาปัตยกรรมออกเป็น 7 เลเยอร์ และในแต่ละเลเยอร์ได้มีการ
กาหนดหน้าที่การทางานไว้ ดังต่อไปนี้
1. เลเยอร์ชั้น Physical เป็นชั้นล่างที่สุดของการติดต่อสื่อสาร ทาหน้าที่ส่ง-รับข้อมูลจริง ๆ จากช่อง
ทางการสื่อสาร (สื่อกลาง) ระหว่างคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ มาตรฐานสาหรับ เลเยอร์
ชั้นนี้จะกาหนดว่าแต่ละคอนเนคเตอร์ (Connector) เช่น RS-232-C มีกี่พิน(pin) แต่ละพินทาหน้า ที่อะไรบ้าง
ใช้สัญญาณไฟกี่โวลต์ เทคนิคการมัลติเพล็กซ์แบบต่างๆ ก็จะถูกกาหนดอยู่ในเลเยอร์ชั้นนี้
2. เลเยอร์ชั้น Data Link จะเป็นเสมือนผู้ตรวจสอบ หรือควบคุมความผิดพลาดในข้อมูลโดยจะแบ่ง
ข้อมูลที่จะส่งออกเป็นแพ็กเกจหรือเฟรมถ้าผู้รับได้รับข้อมูลถูกต้องก็จะส่งสัญญาณยืนยันกลับมาว่า ได้รับ ข้อมูล
แล้ว เรียกว่า สัญญาณ ACK (Acknowledge) ให้กับผู้ส่ง แต่ถ้าผู้ส่งไม่ได้รับสัญญาณ ACK หรือได้รับ สัญญาณ
NAK (Negative Acknowledge) กลับมา ผู้ส่งก็อาจจะทาการส่งข้อมุลไปให้ใหม่ อีกหน้าที่หนึ่ง ของเลเยอร์ชั้นนี้
คือป้องกันไม่ให้เครื่องส่งทาการส่งข้อมูลเร็วจนเกินขีดความสามารถของเครืองผู้รับจะรับข้อ มูลได้
11
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
3. เลเยอร์ Network เป็นชั้นที่ออกแบบหรือกาหนดเส้นทางการเดินทางของข้อมูลที่จะส่ง-รับในการส่งผ่าน
ข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง ซึ่งแน่นอนว่าในการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายการสื่อสารจะ ต้องมีเส้นทาง
การส่ง-รับข้อมูลมากกว่า 1 เส้นทาง ดังนั้นเลเยอร์ชั้น Network นี้จะทาหน้าที่เลือกเส้นทางที่ ใช้เวลาในการ
สื่อสารน้อยที่สุด และระยะทางสั้นที่สุดด้วย ข่าวสารที่รับมาจากเลเยอร์ชั้นที่ 4 จะถูกแบ่งออกเป็น แพ็กเกจ ๆ
ในชั้นนี้
4. เลเยอร์ Transport บางครั้งเรียกว่า เลเยอร์ชั้น Host-to-Host หรือเครื่องต่อเครื่อง และจากเลเยอร์ชั้นที่ 4
ถึงชั้นที่ 7 นี้รวมกันจะเรียกว่า เลเยอร์ End-to-End ในเลเยอร์ชั้น Transport นี้เป็นการ สื่อสารกันระหว่างต้น
ทางและปลายทาง (คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์) กันจริง ๆ เลเยอร์ชั้น Transpot จะ ทาหน้าที่ตรวจสอบว่า
ข้อมูลที่ส่งมาจากเลเยอร์ชั้น Session นั้นไปถึงปลายทางจริง ๆ หรือไม่ ดังนั้นการกา หนดตาแหน่งของข้อมูล
(address) จึงเป็นเรื่องสาคัญในชั้นนี้ เนื่องจากจะต้องรู้ว่าใครคือผู้ส่ง และใครคือผู้รับ ข้อมูลนั้น
12
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
5. เลเยอร์ Session ทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ โดยผู้ใช้จะ
ใช้คาสั่งหรือข้อความที่กาหนดไว้ป้อนเข้าไปในระบบ ในการสร้างการเชื่อมโยงนี้ผู้ใช้จะต้อง
กาหนดรหัสตาแหน่ง ของจุดหมายปลายทางที่ต้องมีการติดต่อสื่อสารด้วย เลเยอร์
ชั้น Session จะส่งข้อมูลทั้งหมดให้กับเลเยอร์ชั้น Transport เป็นผู้จัดการต่อไป ในเครือข่าย
ทั้งเลเยอร์ Session และเลเยอร์ Transport อาจจะเป็นเลเยอร์ ชั้นเดียวกัน
6. เลเยอร์ Presentation ทาหน้าที่เหมือนบรรณารักษ์ กล่าวคือคอยรวบรวมข้อความ
(Text) และแปลงรหัส หรือแปลงรูปแบบของข้อมูลให้เป็นรูปแบบการสื่อสารเดียวกัน เพื่อช่วย
ลดปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิด ขึ้นกันผุ้ใช้งานในระบบ
13
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
7. เลเยอร์ Application เป็นเลเยอรชั้นบนสุดของรูปแบบ OSI ซึ่งเป็นชั้นที่ใช้ติดต่อระหว่าง
ผู้ใช้โดยตรงซึ่งได้แก่ โฮสต์คอมพิวเตอร์ เทอร์มินัลหรือคอมพิวเตอร์ PC เป็นต้น แอปพลิเคชัน
ในเลเยอรชั้นนี้ สามารถนาเข้า หรือออกจากระบบเครือข่ายได้โดยไม่จาเป็นต้องสนใจว่ามี
ขั้นตอนการทางานอย่างไร เพราะจะ มีเลเยอร์ชั้น Presentation โดยตรงเท่านั้น
14
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
TCP/IP Model มีแนวคิดพื้นฐานแตกต่างจาก OSI Model คือไม่ได้มีพื้นฐานของการ
สื่อสารแบบการสนทนา TCP/IP Model เป็นภาพแสดงถึงโลกของระบบเครื่อข่ายสากล
(Internetworking) ที่ทาการเคลื่อนย้ายและกาหนดเส้นทางให้กับขอ้มูลระหว่างเครือข่ายและ
ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ เมื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างทั้ง 2 โมเดล จะพบว่ามี
บางเลเยอร์ที่มีการกาหนดคุณสมบัติที่เทียบได้ไกล้เคียงกัน แต่บางเลเยอร์ก็ไม่สามารถเทียบหา
ความสัมพันธ์กันได้
17
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. ชั้นโฮสต์-เครือข่าย (Host-to-Network Layer)
โพรโตคอลสาหรับการควบคุมการสื่อสารในชั้นนี้เป็นสิ่งที่ไม่มีการกาหนดรายละเอียด
อย่างเป็นทางการ หน้าที่หลักคือการรับข้อมูลจากชั้นสื่อสาร IP มาแล้วส่งไปยังโหนดที่ระบุไว้ใน
เส้นทางเดินข้อมูลทางด้านผู้รับก็จะทางานในทางกลับกัน คือรับข้อมูลจากสายสื่อสารแล้วนาส่ง
ให้กับโปรแกรมในชั้นสื่อสาร
19
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
2. ชั้นสื่อสารอินเทอร์เน็ต (The Internet Layer)
ใช้ประเภทของระบบการสื่อสารที่เรียกว่า ระบบเครือข่ายแบบสลับช่องสื่อสาร
ระดับแพ็กเก็ต (packet-switching network) ซึ่งเป็นการติดต่อแบบไม่ต่อเนื่อง
(Connectionless) หลักการทางานคือการปล่อยให้ข้อมูลขนาดเล็กที่เรียกว่า แพ็กเก็ต
(Packet) สามารถไหลจากโหนดผู้ส่งไปตามโหนดต่างๆ ในระบบจนถึงจุดหมายปลายทางได้
โดยอิสระ หากว่ามีการส่งแพ็กเก็ตออกมาเป็นชุดโดยมีจุดหมายปลายทางเดียวกันในระหว่าง
การเดินทางในเครือข่าย แพ็กเก็ตแต่ละตัวในชุดนี้ก็จะเป็นอิสระแก่กันและกัน ดังนั้น แพ็กเก็ต
ที่ส่งไปถึงปลายทางอาจจะไม่เป็นไปตามลาดับก็ได้
20
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
3. ชั้นสื่อสารนาส่งข้อมูล (Transport Layer)
แบ่งเป็นโพรโตคอล 2 ชนิดตามลักษณะ ลักษณะแรกเรียกว่า Transmission Control Protocol (TCP)
เป็นแบบที่มีการกาหนดช่วงการสื่อสารตลอดระยะเวลาการสื่อสาร (connection-oriented) ซึ่งจะยอมให้มีการ
ส่งข้อมูลเป็นแบบ Byte stream ที่ไว้ใจได้โดยไม่มีข้อผิดพลาด ข้อมูลที่มีปริมาณมากจะถูกแบ่งออกเป็นส่วน
เล็กๆ เรียกว่า message ซึ่งจะถูกส่งไปยังผู้รับผ่านทางชั้นสื่อสารของอินเทอร์เน็ต ทางฝ่ายผู้รับจะนา message
มาเรียงต่อกันตามลาดับเป็นข้อมูลตัวเดิม TCP ยังมีความสามารถในการควบคุมการไหลของข้อมูลเพื่อป้องกัน
ไม่ให้ผู้ส่ง ส่งข้อมูลเร็วเกินกว่าที่ผู้รับจะทางานได้ทันอีกด้วย
โปรโตคอลการนาส่งข้อมูลแบบที่สองเรียกว่า UDP (User Datagram Protocol) เป็นการติดต่อแบบไม่
ต่อเนื่อง (connectionless) มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลแต่จะไม่มีการแจ้งกลับไปยังผู้ส่ง จึงถือได้ว่า
ไม่มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล อย่างไรก็ตาม วิธีการนี้มีข้อดีในด้านความรวดเร็วในการส่งข้อมูล จึง
นิยมใช้ในระบบผู้ให้และผู้ใช้บริการ (client/server system) ซึ่งมีการสื่อสารแบบ ถาม/ตอบ (request/reply)
นอกจากนั้นยังใช้ในการส่งข้อมูลประเภทภาพเคลื่อนไหวหรือการส่งเสียง (voice) ทางอินเทอร์เน็ต
21
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
4. ชั้นสื่อสารการประยุกต์ (Application Layer)
มีโพรโตคอลสาหรับสร้างจอเทอร์มินัลเสมือน เรียกว่า TELNET โพรโตคอลสาหรับการ
จัดการแฟ้มข้อมูล เรียกว่า FTP และโพรโตคอลสาหรับการให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
เรียกว่า SMTP โดยโพรโตคอลสาหรับสร้างจอเทอร์มินัลเสมือนช่วยให้ผู้ใช้สามารถติดต่อกับ
เครื่องโฮสต์ที่อยู่ไกลออกไปโดยผ่านอินเทอร์เน็ต และสามารถทางานได้เสมือนกับว่ากาลังนั่ง
ทางานอยู่ที่เครื่องโฮสต์นั้น โพรโตคอลสาหรับการจัดการแฟ้มข้อมูลช่วยในการคัดลอก
แฟ้มข้อมูลมาจากเครื่องอื่นที่อยู่ในระบบเครือข่ายหรือส่งสาเนาแฟ้มข้อมูลไปยังเครื่องใดๆก็ได้
โพรโตคอลสาหรับให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ช่วยในการจัดส่งข้อความไปยังผู้ใช้ในระบบ
หรือรับข้อความที่มีผู้ส่งเข้ามา
22
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
การต่อเชื่อมเข้าอินเตอร์เน็ทแบบ Broadband และ Packet Switching
Broadband คืออะไร
"Broadband" เป็นคาศัพท์เฉพาะที่ใช้ทั่วไปในการกล่าวถึงการติดต่อผ่านเครือข่าย
ความเร็วสูง ในที่นี้จะหมายถึงการติดต่ออินเทอร์เน็ตผ่านทางเคเบิลโมเด็มและสายชนิด Digital
Subscriber Line (DSL) ซึ่งนิยมเรียกว่าการติดต่ออินเทอร์เน็ตแบบ broadband โดยมีค่า
"Bandwidth" จะเป็นค่าที่อธิบายถึงความเร็วสัมพัทธ์ในการติดต่อกับเครือข่าย
23
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
DSL ย่อมาจาก Digital Subscriber Line หมายถึงเทคโนโลยีโมเด็ม ที่ใช้คู่สายทองแดงธรรมดา ปรับ
ให้กลายเป็นสื่อสัญญาณดิจิตอลความเร็วสูง โดยมีการเข้ารหัสสัญญาณข้อมูล (Modulation) ในย่านความถี่ที่สูง
กว่าการใช้งานโทรศัพท์โดยทั่วไป ทาให้สามารถรับ-ส่งข้อมูลได้ในขณะที่ใช้งานโทรศัพท์ สาหรับเทคโนโลยีใน
ตระกูล DSL อยู่หลายประเภท เช่น
ADSL: Asymmetric Digital Subscriber Line
HDSL: High bit rate Digital Subscriber Line
IDSL: ISDN Digital Subscriber Line
RADSL: Rate Adaptive Digital Subscriber Line
SDSL: Symmetric Digital Subscriber Line
VDSL: Very high bit rate Digital Subscriber Line
24
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ซึ่งแต่ละเทคโนโลยี DSL จะมีความสามารถในการรับ-ส่งข้อมูลแตกต่างกันออกไป โดยมีความ
แตกต่างกันในลักษณะดังนี้
1. ความเร็วในการรับ (down) ส่ง (up) ข้อมูล
2. Mode การรับ-ส่งข้อมูล
เพื่อความเหมาะสมในการใช้งานจริง การเลือกเทคโนโลยีในการรับ-ส่งข้อมูลจึงเป็นสิ่งจาเป็น
ตัวอย่างเช่น การรับ-ส่งข้อมูลของบริษัทระหว่างสาขา จะมีการรับ และส่งข้อมูลในการอัตราที่
ต้องการความเร็วพอๆ กัน แต่สาหรับผู้ใช้ตามบ้านมักจะต้องการการรับข้อมูลในการอัตรา
ความเร็วมากกว่าการส่งข้อมูล
25
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
3. ระยะทางในการรับ-ส่งข้อมูล
ซึ่งจะมีผลโดยตรงกับความเร็วในการส่งข้อมูล เช่น เทคโนโลยี VDSL สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วถึง 52
Mbps แต่จากัดในเรื่องระยะทางเพียง 1 km เท่านั้น แต่สาหรับ ADSL สามารถส่งข้อมูลได้เร็วเพียง 8 Mbps
แต่สามารถส่งสัญญาณได้ไกลถึง 5 km เป็นต้น
4. จานวนสายที่ใช้
ตัวอย่างช่น เทคโนโลยี HDSL จะใช้สายในการรับ-ส่งข้อมูลถึง 4 สาย หรือ 2 คู่ แต่เทคโนโลยีอื่นๆ ได้พัฒนาให้
ใช้สายเพียง 1 คู่หรือ 2 สายเท่านั้น
5. ความสามารถในการใช้สายโทรศัพท์ระหว่างการรับ-ส่งข้อมูล
เทคโนโลยีที่สามารถใช้งานโทรศัพท์ได้ระหว่างการใช้งานอินเตอร์เน็ตคือ เทคโนโลยี ADSL และ VDSL
26
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
คืออุปกรณ์ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ผ่านโครงข่ายใยแก้วนาแสง (HFC Network :
Hybird Fiber - Coaxial) เพื่อเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตโดยตรง โดยผ่านทางสายโทรศัพท์ แต่ไม่
ต้องมีการหมุนโทรศัพท์ (dial-up) ออกไป สาหรับ Cable Modem สามารถแบ่งออกได้ 2
แบบ คือ แบบ One way และ แบบ Two way
27
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
Hybrid Fiber Coaxial Network หรือ HFC เป็นโครงข่ายที่ผสมผสานระหว่าง
Optical Fiber Cable และ Coaxial Cable โดยการนาข้อดีของตัวนาแต่ละชนิดมาใช้งาน
ร่วมกัน โครงข่าย HFC นี้มีประสิทธิภาพสูงการส่งสัญญาณไม่ว่าจะเป็นเสียง, ภาพ และข้อมูล
28
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
แบนด์วิดท์ (Bandwidth) ในระบบคอมพิวเตอร์นั้นหมายถึงอัตราการส่งข้อมูล ผ่าน
ตัวกลางไปยังอีกสถานที่หนึ่ง ซึ่งตัวกลางนั้นจะเป็นสายทองแดงหรือสายใยแก้วนาแสง ก็จะมี
ผลให้อัตราการส่งข้อมูลไปยังสถานที่หนึ่งที่แตกต่างกัน มีหน่วยเป็น บิตต่อวินาที bps (bit per
second) , กิโลบิตต่อวินาที (Kbps) และ เมกกะบิตต่อวินาที (Mbps)
29
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
Packet switching เทคนิคในการแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่ม (Packet) แต่ละกลุ่มจะ
มีความยาวเท่ากัน (ปกติ 100บิต)ข้อมูลจะหาทิศทางเดินไปได้เอง โดยที่สายหนึ่ง ๆ จะสามารถ
ใช้กันได้หลายคน เมื่อถึงที่ปลายทางข้อมูลก็จะกลับ ไปรวมกันเอง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
เทคนิคในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง เมื่อมีการเชื่อมต่อกันแล้วจะติดต่อกันได้ตลอดเวลา ผู้อื่น
จะแทรกเข้ามาไม่ได้เลย จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะปลดวงจรออก ตัวอย่างง่าย ๆ เช่นการติดต่อทางสายโทรศัพท์
เมื่อเริ่มพูดกันได้แล้ว คนอื่นจะต่อสายแทรกเข้ามาไม่ได้ จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะวางหูลง (ปลดวงจร)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. แบบทิศทางเดียว (Simplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบทางเดียว” (One-way
Communication)เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทาง
โดยไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้
2. แบบกึ่งสองทิศทาง ( Half Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบทางใดทางหนึ่ง (Either-way
Communication)” เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้ 2 ทิศทาง แต่จะ
ไม่สามารถส่งพร้อมกันได้ โดยต้องผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น
3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบสองทาง (Both-way
Communication)” เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้ง 2
ทิศทาง ในเวลาเดียวกัน
32
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เป็นระบบเครือข่ายที่มีผู้รู้จักมากที่สุดในโลก มีขนาดใหญ่มากที่สุด มีการเชื่อมโยงระบบเครือข่าย
ขนาดต่าง ๆ เข้าด้วยกันเป็นจานวนหลายพันเครือข่ายและระบบเครือข่ายขนาดเล็กนับไม่ถ้วนที่กระจายอยู่
ทั่วโลก ระบบอินเตอร์เน็ตมีขีดความสามารถมากมาย ที่องค์กรสามารถนาไปใช้ในการสื่อสารและแลกเปลี่ยน
ข้อมูลภายในองค์กรหรือระหว่างองค์กรเทคโนโลยีระบบอินเตอร์เน็ตจึงถูกนามาใช้เป็นเทคโนโลยีหลักในการ
สร้างระบบเครือข่ายภายในองค์กรที่สนับสนุนการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และองค์กรระดับโลก
33
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตและการให้บริการ มีรากฐานมาจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ของแม่ข่ายและ
ลูกข่ายบริการ ผู้ใช้สามารถควบคุมการใช้งาน ในส่วนของตนเองผ่านโปรแกรมของผู้ใช้ เช่น เว็บบราวเซอร์
ข้อมูลอีกส่วนหนึ่ง เช่น ข้อความของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และเว็บเพจ จะถูกเก็บไว้ที่เครื่องแม่ข่ายหรือ
เครื่องแม่ข่ายสาหรับเว็บ ผู้ใช้จะใช้โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ในการเรียกดูข้อมูลที่ต้องการจากเครื่องแม่ข่าย
สาหรับเว็บที่อาจตั้งอยู่ข้างเคียงกันหรือยู่ห่างกันคนละซีกโลกก็ได้ เครื่องแม่ข่ายสาหรับเว็บจะส่งข้อมูลที่ผู้ใช้
ต้องการมาทางเครือข่าย
34
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
อินทราเน็ต คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นระบบที่ได้การกล่าวขวัญถึงกันอย่างมากคู่กับ
อินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรต่าง ๆ ได้มีการนาอินทราเน็ตมาใช้กันอย่างแพร่หลาย
จนทาให้ระบบที่เกี่ยวกับอินทราเน็ตเป็นระบบที่ผู้ค้าต่าง ๆ มุ่งเข้ามาสู่กันมากที่สุด โดยสามารถ
ให้นิยามของอินทราเน็ตได้คือ
ระบบเครือข่ายอินทราเน็ต ก็คือระบบเครือข่ายภายในองค์การที่นาเทคโนโลยีแบบเปิดจาก
อินเตอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ เพื่อช่วยในการทางานร่วมกัน (Workgroup) การแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาร ตลอดจนการทางานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ในองค์การ
35
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ประโยชน์ของการนาอินทราเน็ตมาใช้ในองค์กรต่าง ๆ คือ
ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสารข้อมูล เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารต่าง ๆ ภายในองค์กร สามารถจัดเก็บอยู่
ในรูปอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ภาษา และใช้บราวเซอร์ในการอ่านเอกสาร ทาให้ลดค่าใช้จ่าย
และเวลาในการจัดพิมพ์เอกสารกระดาษ
ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอ เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยาก
เหมือนการพิมพ์ลงกระดาษ และไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ทาให้บุคลากรในองค์กรสามารถรับข่าวสารใหม่
ล่าสุดได้เสมอ
ช่วยในการติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไว ไม่ว่าบุคลากรจะอยู่ห่างกันคนละชั้น คนละตึก หรือคนละจังหวัด
ด้วยการใช้เทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีการคุยติดต่อผ่านแป้นพิมพ์ หรือแม้กระทั่ง
เทคโนโลยีประชุมทางไกล เป็นการช่วยลดการสูญเสียเวลาของบุคลากร ตลอดจนช่วยให้ทีมงานมีการ
ประสานงานกันดีขึ้น
36
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เสียค่าใช้จ่ายต่า การติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการติดตั้ง ซอฟต์แวร์การทางานแบบกลุ่ม
(Workgroup software) ทั่วไปมาก เนื่อจากการใช้เทคโนโลยีแบบเปิดของอินเตอร์เน็ต ทาให้สามารถใช้
ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ในอินเตอร์เน็ตซึ่งมีราคาไม่สูงนัก หรือในงานบางส่วนอาจไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เนื่องจากมีแชร์
แวร์และฟรีแวร์อยู่มากมายในอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ หากองค์กรมีระบบเครือขายภายในอยู่แล้ว การติดตั้ง
ระบบอินทราเน็ตเพิ่มเติมจะเสียค่าใช้จ่ายต่ามาก เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วได้ทันทีตาม
คุณสมบัติ การใช้งานข้ามระบบ (cross platfrom) ที่แตกต่างกันได้ของอินเตอร์เน็ต
 เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด ทาให้องค์กรไม่ผูกติดอยู่กับผู้ค้ารายใดรายหนึ่ง จึงช่วยลดความเสี่ยงต่าง ๆ เช่น
ผู้ค้าเลิกกิจการ ผู้ค้าเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือผู้ค้าขึ้นราคา เป็นต้น รวมทั้งช่วยให้สามารถหาซอฟต์แวร์
ใหม่ ที่จะมาช่วยในการทางานได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งอยู่กับผู้ผลิตเพียงรายเดียว
 เตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตได้ทันที รวมทั้งเป็นการเตรียมความรู้ของบุคลากร
เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตด้วย
37
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
จากนิยามจะเห็นได้ว่าองค์ประกอบของอินทราเน็ตจะคล้ายคลึงกับอินเตอร์เน็ตอย่างมาก เนื่องจากมี
การนาเทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ตมาใช้งานนั้นเอง โดยอินทราเน็ตที่ดีควรประกอบด้วย
 การใช้โปรโตคอล TCP/IP เป็นโปรโตคอลสาหรับติดต่อสื่อสารภายในเครือข่าย
 ใช้ระบบ World Wide Web และโปรแกรมบราวเซอร์ในการแสดงข้อมูลข่าวสาร
 มีระบบอีเมลล์สาหรับแลกเปลี่ยนสาหรับข้อมูลระหว่างบุคลากรในองค์กร รวมทั้งอาจมีระบบนิวส์กรุ๊ปส์ เพื่อใช้
ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความรู้ของบุคลากร
 ในกรณีที่มีการเชื่อมต่อระบบอินทราเน็ตในองค์กรเข้ากับอินเตอร์เน็ต จะต้องมีระบบไฟร์วอลล์ (FireWall) ซึ่ง
เป็นระบบป้องกันอันตรายจากผู้ไม่หวังดีที่ติดต่อเข้ามาจากอินเตอร์เน็ต โดยระบบไฟร์วอลล์จะช่วยกรั่นกรอง
ให้ผู้ที่ติดต่อเข้ามาใช้งานได้เฉพาะบริการและพิ้นที่ในส่วนที่อนุญาตไว้เท่านั้น รวมทั้งช่วยกัน นักเจาะระบบ
(hacker) ที่จะทาการขโมยหรือทางายข้อมูลในระบบเครือข่ายขององค์กรด้วย
38
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เอ๊กซ์ทราเน็ต หรือ เครือข่ายภายนอกองค์กร ก็คือระบบเครือข่ายซึ่งเชื่อมเครือข่ายภายในองค์กร (INTERNET) เข้ากับ
ระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ภายนอกองค์กร เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ของสาขาของผู้จัดจาหน่ายหรือของลูกค้า เป็นต้น โดย
การเชื่อมต่อเครือข่ายอาจเป็นได้ทั้ง การเชื่อมต่อโดยตรง (Direct Link) ระหว่าง 2 จุด หรือการเชื่อมต่อแบบ เครือข่าย
เสมือน (Virtual Network) ระหว่างระบบเครือข่ายอินทราเน็ต จานวนหลาย ๆ เครือข่ายผ่านอินเตอร์เน็ตก็ได้
 ระบบเครือข่ายแบบเอ็กซ์ทราเน็ต โดยปกติแล้วจะอนุญาตให้ใช้งานเฉพาะสมาชิกขององค์กรหรือผู้ที่ได้รับสิทธิในการใช้
งานเท่านั้น โดยผู้ใช้จากภายนอกที่เชื่อมต่อเข้ามาผ่านเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตอาจถูกแบ่งเป็นประเภท ๆ เช่น ผู้ดูแล
ระบบ สมาชิก คู่ค้า หรือผู้สนใจทั่ว ๆ ไป เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้แต่ละกลุ่มจะได้รับสิทธิในการเข้าใช้งานเครือข่ายที่แตกต่างกัน
ไป
 เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตเป็นเทคโนโลยีเครือข่ายที่กาลังได้รับความสนใจอย่างมาก เนื่องจากแนวโน้มการใช้งานเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตที่เริ่มมีการนามาใช้ในเชิงพาณิชย์มากขึ้นเรื่อย ๆ เช่น การเปิดร้านค้าบนอินเตอร์เน็ต หรือการเปิดบริการ
ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เป็นต้น ซึ่งบริการเหล่านี้จะต้องมีการเชื่อมต่อกับบุคคลและเครือข่ายภายนอกองคกรจานวนมาก
จึงต้องมีระบบการจัดการการเชื่อมต่อเครือข่ายภายนอกที่มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย
39
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ในปัจจุบันอุปกรณ์ไร้สายจานวนหนึ่งมีขีดความสามารถในการติดต่อข้อมูล จาก
เว็บไซต์บนระบบอินเตอร์เน็ตได้ เรียกว่า ระบบไร้สาย และมีแนวโน้มที่อุปกรณ์ใหม่ ๆ จะมีขีด
ความสามารถมากขึ้นและคาดว่าจะได้รับความนิยมในการนามาใช้งานมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม
อุปกรณ์เหล่านี้ คงไม่สามารถที่จะนามาใช้ทดแทนพีซีได้แต่ก็สามารถทาให้เกิดเป็นบริการชนิด
ใหม่ซึ่งประกอบไปด้วย Wireless Application Protocol (WAP), Wireless Markup
Language (WML) Mircrobrowser, I-Mode, Voice portals และ M-Commerce เป็น
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ผ่านมือถือ
40
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
มาตรฐานสาหรับระบบเว็บไร้สายมีอยู่ 2 แบบ คือ มาตรฐาน ระบบ WAP (Wireless
Application Protocol) และมาตรฐานระบบ I-Mode
41
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 42อ้างอิงจาก : https://www.mindphp.com/คู่มือ/73-คืออะไร/
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
WAP (เว็บ) หรือ Wireless Application Protocol (ไวเลส แอพพลิเคชั่น โปรโตคอล) เป็น
Communication Protocol (คอมมิวนิเคชั่น โปรโตคอล) ที่มีพื้นฐานมาจากInternet
Protocol (อินเทอร์เน็ต โปรโตคอล) ซึ่ง WAP เป็นมาตรฐานเปิดของระบบการสื่อสารด้าน
ข้อมูลไร้สาย ที่ทาให้สามารถเชื่อมต่อโลกของข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต มาสู่บริการของเครื่องมือ
สื่อสารไร้สาย อันได้แก่ โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือ เครื่องมือสื่อสารไร้สาย อื่นๆ ซึ่งนั้นก็หมายถึง
การทาให้ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตเพื่อ ค้นหาข้อมูลหรือใช้
บริการต่างๆ โดยผ่านเครื่องโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ได้ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ใดนั้นเอง
43
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ต้นแบบของ WAP ก็คือ www (เวิลด์ วาย เว็บ) ที่เราคุ้นเคยกันดี WAP ช่วยให้เรามีบางสิ่ง
ที่คล้ายกับ Protocol stack (โปรโตคอล สแท็ค) ของ TCP/IP (ที ซี พี/ไอ พี) ซึ่งใช้กันในระบบ
อินเตอร์เน็ตข้อแตกต่าง ก็คือ Protocol stack ของ WAP ถูกออกแบบโดยอาศัยพื้นฐานของ
TCP/IP แล้วนามาปรับการทางานให้เหมาะสมกับระบบการสื่อสารแบบไร้สายโดยเฉพาะ
44
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
- WAE (เว็บ) หรือ Application layer Wireless Application Environment (แอพพลิเคชั่น เลเยอร์ ไวเลส
แอพพลิเคชั่น เอ็นไวรอนเมนท์)
- WSP (ดับบลิว เอส พี) หรือ Session Layer Wireless Session Protocol (เซสชั่น เลเยอร์ ไวเลส
โปรโตคอล)
- WTP (ดับบลิว ที พี) หรือ Transaction Layer Wireless Transaction Protocol (ทรานแซคชั่น
โปรโตคอล)
- WTLS (ดับบลิว ที แอล เอส) หรือ Security Layer Wireless Transport Layer Security (ซิเคียวริตี้ เลเยอร์
ไวเลส แทรนสพอร์ท เลเยอร์ ซิเคียวริตี้)
- WDP (ดับบลิว ดี พี) หรือ Transport Layer Wireless Datagram Protocol (แทรนสพอร์ท เลเยอร์ ไวเลส
ดาต้าแกรม โปรโตคอล)
- SMS (เอส เอ็ม เอส),USSD (ยู เอส เอส ดี),CSD (ซี เอส ดี), CDMA (ซี ดี เอ็ม เอ), IDEN (ไอ ดี อี เอ็น),CDPD
(ซี ดี พี ดี) หรือ Network Layer Wireless Bearers (เน็ตเวิร์ก เลเยอร์ ไวเลส แบเรอ)
45
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
สรุป การเรียกใช้ข้อมูลในอินเตอร์เน็ตด้วยโทรศัพท์มือถือ โดยโทรศัพท์มือถือรุ่นนั้นๆต้องมี
คุณสมบัติรองรับเทคโนโลยี Web ด้วยโดยภายในเครื่องต้องมีซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า web
browser (เว็บ บราวเซอร์) หรือ Micro Browser (ไมโคร บราวเซอร์) และฮาร์ดแวร์ของเครื่อง
ที่สนับสนุนการทางาน โดยการเปิดใช้ Web แต่ละครั้งจะต้องการส่งเพื่อขอการเปิดใช้งานด้วย
Protocol ที่แตกต่างกันไปและแปลงกลับมาเพื่อให้เปิดใช้งานบน อุปกรณ์เคลื่อนที่
46
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เป็นมาตรฐานที่กาลังแข่งขันกับระบบ WAP ซึ่งได้รับการพัฒนาโดยบริษัท NTT DoCoMo ของ
ประเทศญี่ปุ่น ระบบนี้ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในประเทศญี่ปุ่นและประเทศในทวีป
ยุโรป ระบบ I-mode ใช้ภาษา HTML ฉบับย่อ (Compact HTML) จึงเป็นการง่ายสาหรับ
องค์กรต่าง ๆ ที่จะแปลงข้อมูล HTML ของตนให้สามารถใช้งานได้ ระบบนี้ยังใช้เทคโนโลยีการ
สื่อสารแบบแพ๊กเก็ตสวิทช์ จึงช่วยให้ผู้ใช้สามารถ ออนไลน์กับเว็บไซต์ที่ต้องการได้ตลอดเวลา
ซึ่งผู้ใช้ระบบ WAP จะต้องโทรศัพท์เข้าไปตรวจสอบจึงจะทราบว่า เว็บไซต์นั้น ๆ ยังคง
ให้บริการอยู่ตามปกติและยังสามารถจัดการข้อมูลที่แสดงผลหลายสีได้ด้วย
47
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
การใช้ m-commerce ในประเทศสหรัฐอเมริกามีการพัฒนาและเติบโตช้ากว่าใน
ประเทศญี่ปุ่นและทวีปยุโรป แป้นพิมพ์ละหน้าจอบนโทรศัพท์มือถือมีขนาดเล็กมากจนเป็น
อุปสรรคต่อการใช้งานและอัตราความเร็วในการถ่ายทอดข้อมูลก็ช้ามาก คือ ประมาณ 9,600
ถึง 14,400 บิตต่อวินาที เมื่อเปรียบเทียบกับความเร็วขนาด 56,000 บิตต่อวินาที ที่เครื่องพีซี
ทั่วไปใช้อยู่แต่ละวินาทีที่ผ่านไป ล้วนแล้วแต่ทาให้ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือต้องจ่ายค่าบริการเพิ่มขึ้น
เรื่อย ๆ ประกอบกับข้อมูลที่มีอยู่ในเว็บไซต์ ทั่วไปนั้นมีข้อมูลกราฟฟิกอยู่เป็นจานวนมาก ซึ่งไม่
สามารถแสดงผลบนหน้าจอขนาดเล็กได้ เว็บไซต์ที่มีการ เตรียมการสาหรับ WML ก็มีอยู่เพียง
จานวนจากัดมาก
48
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายในประเทศสหรัฐอเมริกาก็มีการนาเทคโนโลยีหลายแบบ
มาใช้ ซึ่งไม่สามารถสื่อสารระหว่างกันได้ (ในทวีปยุโรปใช้ระบบ GSM เป็นมาตรฐาน ส่วนใน
สหรัฐอเมริกาใช้ระบบ CDMA และ TDMA เป็นส่วนใหญ่) การที่จะให้ m-commerce เกิดขึ้น
ได้นั้นต้องมีการพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาใหม่ เพื่อให้บริการระบบไร้สายโดยเฉพาะ
ปัญหาบางประการก็ได้รับการแก้ไขหรือม่แนวทางแก้ไขบ้างแล้ว เช่น การนา
เทคโนโลยี voice portals เข้ามาใช้งาน ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้อุปกรณ์ไร้สายสามารถ
เข้าใจคาสั่งที่เป็นเสียงพูดได้ ผู้ใช้จึงไม่จาเป็นต้องพิมพ์ข้อความที่ต้องการลงบนแป้นพิมพ์ขนาด
จิ๋ว แต่ใช้การออกคาสั่งแทนและในส่วนของการตอบสนองก็สามารถใช้เป็นเสียงพูดแทนการ
แสดงผลได้เช่นกัน
49
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ช่องทางสื่อสาร หมายถึง รูปแบบใด ๆ ที่สามารถนามาใช้ถ่ายทอดสัญญาณข้อมูลจาก
อุปกรณ์ตัวหนึ่งในระบบเครือข่ายไปยังอุปกรณ์อีกตัวหนึ่ง ช่องสื่อสารแต่ละช่องอาจใช้สื่อนา
สัญญาณชนิดใดก็ได้ เช่น สายคู่บิดเกลียว สายโคแอ๊กเชียล สายใยแก้วนาแสง สัญญาณ
ไมโครเวฟ สัญญาณผ่านดาวเทียมและสัญญาณไร้สายแบบต่าง ๆ สื่อแต่ละชนิดมีทั้งข้อดีและ
ข้อเสีย โดยทั่วไปแล้ว สื่อที่มีความเร็วในการถ่ายทอดข้อมูลสูงจะมีราคาสูงกว่าสื่อที่มีความเร็ว
ต่า แต่ก็มีความสามารถในการถ่ายทอดข้อมูลในปริมาณที่มากกว่าทาให้ราคาต่อหน่วยข้อมูลต่า
กว่า
50
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
การให้บริการในโครงสร้างพื้นฐาน ในปัจจุบันขึ้นกับความกว้างของช่องสัญญาณ
ความเร็วในการส่งสัญญาณ ผ่านวงจรเช่า ISDN ที่มีความเร็ว 64 kbps วงจรเช่า ADSL มี
ความเร็ว 600 kbps – 8 Mbps และ Optical Fibers มีความเร็ว 100 – 200 Mbps
51
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
Firewall นั้นหากจะแปลตรงตัวจะแปลว่ากาแพงไฟ แต่ที่จริงแล้ว firewall นั้นเป็น
กาแพงที่มีไว้เพื่อป้องกันไฟโดยที่ตัวมันเองนั้นไม่ใช่ไฟตามดังคาแปล firewall ในสิ่งปลูกสร้าง
ต่างๆนั้นจะทาด้วยอิฐเพื่อแยกส่วนต่างๆของสิ่งปลูกสร้างออกจากกันเพื่อที่ว่าในเวลาไฟไหม้ไฟ
จะได้ไม่ลามไปทั่วสิ่งปลูกสร้างนั้นๆ หรือ Firewall ในรถยนต์ก็จะเป็นแผ่นโลหะใช้แยกส่วน
ของเครื่องยนต์และส่วนของที่นั่งของผู้โดยสารออกจากกัน
ในเครือข่าย Internet นั้น firewall อาจถูกใช้สาหรับป้องกันไม่ให้ "ไฟ" จากเครือข่าย
Internet ภายนอกลามเข้ามาภายในเครือข่าย LAN ส่วนตัวของท่านได้ หรืออาจถูกใช้เพื่อ
ป้องกันไม่ให้ผู้ใช้ใน LAN ของท่านออกไปโดน "ไฟ" ในเครือข่าย Internet ภายนอกได้
52
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ความหมายของไฟร์วอลล์ หมายถึง ระบบหนึ่งหรือกลุ่มของระบบที่บังคับใช้นโยบาย
การควบคุมการเข้าถึงของระหว่างเครือข่ายสองเครือข่าย โดยที่วิธีการกระทานั้นก็จะแตกต่าง
กันไปแล้วแต่ระบบ แต่โดยหลักการแล้วเราสามารถมอง Firewall ได้ว่าประกอบด้วย กลไก
สองส่วนโดยส่วนแรกมีหน้าที่ในการกั้นจราจรข้อมูล และส่วนที่สองมีหน้าที่ในการปล่อยจราจร
ข้อมูลให้ผ่านไปได้
53
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
Firewall โดยทั่วไปจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ firewall ระดับ network
(network level firewall) และ firewall ระดับ application (application level firewall)
ก่อนที่ Firewall ระดับ network จะตัดสินใจยอมให้ traffic ใดผ่านนั้นจะดูที่
address ผู้ส่งและผู้รับ และ port ในแต่ละ IP packet เมื่อพิจารณาแล้วเห็นว่า traffic
สามารถผ่านไปได้ก็จะ route traffic ผ่านตัวมันไปโดยตรง router โดยทั่วไปแล้วก็จะถือว่า
เป็น firewall ระดับ network ชนิดหนึ่ง firewall ประเภทนี้จะมีความเร็วสูงและจะ
transparent ต่อผู้ใช้ (คือผู้ใช้มองไม่เห็นความแตกต่างระหว่างระบบที่ไม่มี firewall กับระบบ
ที่มี firewall ระดับ network อยู่) การที่จะใช้ firewall ประเภทนี้โดยมากผู้ใช้จะต้องมี IP
block (ของจริง) ของตนเอง
54
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
Firewall ระดับ application นั้นโดยทั่วไปก็คือ host ที่ run proxy server อยู่
firewall ประเภทนี้สามารถให้รายงานการ audit ได้อย่างละเอียดและสามารถบังคับใช้
นโยบายความปลอดภัยได้มากกว่า firewall ระดับ network แต่ firewall ประเภทนี้ก็จะมี
ความ transparent น้อยกว่า firewall ระดับ network โดยที่ผู้ใช้จะต้องตั้งเครื่องของตนให้ใช้
กับ firewall ประเภทนี้ได้ นอกจากนี้ firewall ประเภทนี้จะมีความเร็วน้อยกว่า firewall
ระดับ network บางแหล่งจะกล่าวถึง firewall ประเภทที่สามคือประเภท stateful
inspection filtering ซึ่งใช้การพิจารณาเนื้อหาของ packets ก่อนๆในการที่จะตัดสินใจให้
packet ที่กาลังพิจารณาอยู่เข้ามา
55
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ขีดความสามารถของ firewall ทั่วๆไปนั้นมีดังต่อไปนี้
• ป้องกันการ login ที่ไม่ได้รับอนุญาตที่มาจากภายนอกเครือข่าย
• ปิดกั้นไม่ให้ traffic จากนอกเครือข่ายเข้ามาภายในเครือข่ายแต่ก็ยอมให้ผู้ที่อยู่
ภายในเครือข่ายสามารถติดต่อกับโลกภายนอกได้
• เป็นจุดรวมสาหรับการรักษาความปลอดภัยและการทา audit (เปรียบเสมือนจุดรับ
แรงกระแทกหรือ "choke" ของเครือข่าย)
56
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ข้อจากัดของ firewall มีดังต่อไปนี้
• firewall ไม่สามารถป้องกันการโจมตีที่ไม่ได้กระทาผ่าน firewall (เช่น การโจมตี
จากภายในเครือข่ายเอง)
• ไม่สามารถป้องกันการโจมตีที่เข้ามากับ application protocols ต่างๆ (เรียกว่าการ
tunneling) หรือกับโปรแกรม client ที่มีความล่อแหลมและถูกดัดแปลงให้กระทาการโจมตีได้
(โปรแกรมที่ถูกทาให้เป็น Trojan horse)
• ไม่สามารถป้องกัน virus ได้อย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจากจานวน virus มีอยู่
มากมาย จึงจะเป็นการยากมากที่ firewall จะสามารถตรวจจับ pattern ของ virus ทั้งหมดได้
57
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ถึงแม้ว่า firewall จะเป็นเครื่องมือที่สามารถนามาใช้ป้องกันการโจมตีจากภายนอก
เครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ การที่จะใช้ firewall ให้ได้ประโยชน์สูงสุดนั้นจะขึ้นอยู่กับ
นโยบายความปลอดภัยโดยรวมขององค์กรด้วย นอกจากนี้ แม้แต่ firewall ที่ดีที่สุดก็ไม่
สามารถนามาใช้แทนการมีจิตสานึกในการที่จะรักษาความปลอดภัยภายในเครือข่ายของผู้ที่อยู่
ในเครือข่ายนั้นเอง
58
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ปัจจุบันดาวเทียมที่สามารถเชื่อมระบบการสื่อสารแบบดิจิตอล คือ IPSTAR ของไทย
ซึ่งมีอายุ 12 ปี โดยยิงขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 11 สิงหาคม 2548 ซึ่งในประเทศไทยมีผู้ให้บริการผ่าน
เครือข่ายดาวเทียมหลายราย บริษัท TOT จากัด (มหาชน) เป็นผู้ให้บริการดาวเทียม IPSTAR
ในประเทศไทยรายหนึ่ง โดยให้บริการสื่อสาร ผ่านดาวเทียมในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงการให้เช่า
ช่องสัญญาณดาวเทียม IPSTAR การประยุกต์ใช้งานดาวเทียม และบริการเสริมทางด้านสื่อสาร
ดาวเทียมต่าง ๆ
แนะนาการใช้งาน IPStar เบื้องตน โหลดไฟล์ได้ที่
http://www.totsatellite.com/new/pdf/manual.pdf
59
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
การให้บริการต่าง ๆ จาก TOT มีอะไรบ้าง
https://www.tot.co.th/
60

More Related Content

What's hot

หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีJanchai Pokmoonphon
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลSurapon Boonlue
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google SheetsDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพTerapong Piriyapan
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจKunlaya Kamwut
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศPhatthira Thongdonmuean
 

What's hot (20)

หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
Chapter 4 empathize
Chapter 4 empathizeChapter 4 empathize
Chapter 4 empathize
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter 7 prototype
Chapter 7 prototypeChapter 7 prototype
Chapter 7 prototype
 

Similar to Chapter 10 internet system and information system structures

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์delloov
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศpeter dontoom
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์oiw1234
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตKruPor Sirirat Namthai
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 

Similar to Chapter 10 internet system and information system structures (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
Internet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้นInternet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้น
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 
รายงาน[1]
รายงาน[1]รายงาน[1]
รายงาน[1]
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Internet
InternetInternet
Internet
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

Chapter 10 internet system and information system structures

  • 1. การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจาก หนังสือคู่มือซอฟต์แวร์การวางแผนทรัพยากรองค์กร ERP ของ ดร.คานาย อภิปรัชญาสกุล ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ โครงสร้างระบบสารสนเทศในองค์กรสมัยใหม่ช่วยลดค่าใช้จ่ายอย่างมหาศาลสาหรับ สาขาองค์กร และรายการทางานต่าง ๆ ทาให้เกิดเป็นรากฐานที่มั่นคงสาหรับการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีระบบ เครือข่ายที่กว้างขวางและระบบอินเตอร์เน็ตเป็นองค์ประกอบที่ สาคัญ ซึ่งมีรายละเอียดต่อไปนี้ 4
  • 5. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ เป็นการจัดการองค์กรสาหรับฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เครือข่าย และแหล่งข้อมูลที่ สามารถผสามผสานการใช้งานฮาร์ดแวร์ที่ผลิตจากบริษัทต่างกันได้ระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่ มีความซับซ้อนสาหรับการเก็บข้อมูลของทั้งองค์กรจะถูกติดตั้งไว้ ที่เครื่องเมนเฟรมหรือเครื่อง แม่ข่าย ฐานข้อมูลขนาดเล็กและบางส่วนของฐานข้อมูลจะถูกกระจาย เก็บไว้ตามเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเครือข่าย ระบบแม่ข่ายกับ ลูกข่าย ถูกนามาใช้ในการแบ่งเบาภาระการประมวลผล จากเครื่องแม่ข่ายที่ศูนย์กลางไปยัง เครื่องผู้ใช้ ระบบการเชื่อมต่อผู้ใช้ได้รวมความสามารถในการติดต่อกับผู้ใช้สัญจรที่มีอุปกรณ์ เช่น โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น ระบบโครงสร้างใหม่นี้ ยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับโครงสร้าง เครือข่ายสาธารณะได้ด้วยเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตถูกนามาใช้เป็นเทคโนโลยีหลักในการเชื่อมต่อ กับลูกค้าพนักงานและบริษัทจาหน่ายปัจจัยการผลิต 5
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แยกจากกันเข้าสู่เครือข่าย ที่สามารถเชื่อมต่อกับ ต่างประเทศ ช่องสื่อสารหลักอาจถูกนามาใช้เชื่อมต่อระบบเครือข่ายขององค์กรเข้ากับระบบ เครือข่ายองค์กรอื่น หรือระบบอินเตอร์เน็ต หรือระบบเครือข่ายโทรคมนาคมสาธารณะหรือ ระบบเครือข่ายอื่น ๆ การเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ที่มีการจัดการบริหารด้วย ตนเองเข้าด้วยกัน เรียกว่า การเชื่อมโยงระหว่างเครือข่าย ซึ่งปัจจุบันมีผู้ให้บริการหลายรายใน ประเทศไทย เช่น TOT, True ฯลฯ 6
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ เป็นการวัดความสามารถของระบบคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์พื้นฐาน ระบบ คอมพิวเตอร์ในระบบเปิด ทั้งซอฟต์แวร์ และการดาเนินงานบนแพลทฟอร์มฮาร์ดแวร์ที่แตกต่าง กัน ซึ่งมีรายละเอียดต่อไปนี้ 7
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ในการสื่อสารระหว่างกันทาให้การ ใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างมีความหมายโดยไม่ต้องมีคนเข้ามา ช่วยเหลือเรียกว่า การเชื่อมต่อ ซึ่ง ปัจจุบันนิยมใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต XML และใช้ภาษา Dot Net Framework หรือ JAVA เพื่อเขียนเวบไซต์ โดย JAVA2E เป็นภาษาในระบบเปิดไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ ช่วยให้การ เชื่อมต่อนี้เกิดขึ้นได้เป็นบางส่วน แต่เทคโนโลยีพื้นฐานนั้นเกิดขึ้นจากการใช้ระบบ เครือข่าย เอกชนเป็นส่วนใหญ่ การเชื่อมต่อจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีมาตรฐานสาหรับระบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการ และส่วนติดต่อผู้ใช้มาตรฐานระบบเปิดได้สนับสนุนการเชื่อมต่อระหว่างระบบ เครือข่าย โดยการเสนอมาตรฐานสาหรับอุปกรณ์ทุกชนิดเพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างกันได้ 8
  • 9. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ มีอยู่หลายชนิด ดังนี้ 1. แบบจาลอง OSI (Open System interconnect) 2. ระบบ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) 9
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ OSI Model ในปี ค.ศ. 1977 องค์กร ISO (international Oraganization for Standard)ได้จัดตั้ง คณะกรรมการขึ้นกลุ่มหนึ่ง เพื่อทาการศึกษาจัดรูปแบบมาตราฐาน และพัฒนาสถาปัตยกรรม เครือข่าย และใน ปี ค.ศ. 1983 องค์กร ISO ก็ได้ออกประกาศรูปแบบของสถาปัตยกรรม เครือข่ายมาตราฐานในชื่อของ "รูปแบบ OSI " (Open System Interconnection Model) เพื่อใช้เป็นรูปแบบมาตราฐานในการเชื่อมต่อระบบ คอมพิวเตอร์ 10
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ รูปแบบ OSI มีการ แบ่งโครงสร้างของสถาปัตยกรรมออกเป็น 7 เลเยอร์ และในแต่ละเลเยอร์ได้มีการ กาหนดหน้าที่การทางานไว้ ดังต่อไปนี้ 1. เลเยอร์ชั้น Physical เป็นชั้นล่างที่สุดของการติดต่อสื่อสาร ทาหน้าที่ส่ง-รับข้อมูลจริง ๆ จากช่อง ทางการสื่อสาร (สื่อกลาง) ระหว่างคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ มาตรฐานสาหรับ เลเยอร์ ชั้นนี้จะกาหนดว่าแต่ละคอนเนคเตอร์ (Connector) เช่น RS-232-C มีกี่พิน(pin) แต่ละพินทาหน้า ที่อะไรบ้าง ใช้สัญญาณไฟกี่โวลต์ เทคนิคการมัลติเพล็กซ์แบบต่างๆ ก็จะถูกกาหนดอยู่ในเลเยอร์ชั้นนี้ 2. เลเยอร์ชั้น Data Link จะเป็นเสมือนผู้ตรวจสอบ หรือควบคุมความผิดพลาดในข้อมูลโดยจะแบ่ง ข้อมูลที่จะส่งออกเป็นแพ็กเกจหรือเฟรมถ้าผู้รับได้รับข้อมูลถูกต้องก็จะส่งสัญญาณยืนยันกลับมาว่า ได้รับ ข้อมูล แล้ว เรียกว่า สัญญาณ ACK (Acknowledge) ให้กับผู้ส่ง แต่ถ้าผู้ส่งไม่ได้รับสัญญาณ ACK หรือได้รับ สัญญาณ NAK (Negative Acknowledge) กลับมา ผู้ส่งก็อาจจะทาการส่งข้อมุลไปให้ใหม่ อีกหน้าที่หนึ่ง ของเลเยอร์ชั้นนี้ คือป้องกันไม่ให้เครื่องส่งทาการส่งข้อมูลเร็วจนเกินขีดความสามารถของเครืองผู้รับจะรับข้อ มูลได้ 11
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3. เลเยอร์ Network เป็นชั้นที่ออกแบบหรือกาหนดเส้นทางการเดินทางของข้อมูลที่จะส่ง-รับในการส่งผ่าน ข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง ซึ่งแน่นอนว่าในการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายการสื่อสารจะ ต้องมีเส้นทาง การส่ง-รับข้อมูลมากกว่า 1 เส้นทาง ดังนั้นเลเยอร์ชั้น Network นี้จะทาหน้าที่เลือกเส้นทางที่ ใช้เวลาในการ สื่อสารน้อยที่สุด และระยะทางสั้นที่สุดด้วย ข่าวสารที่รับมาจากเลเยอร์ชั้นที่ 4 จะถูกแบ่งออกเป็น แพ็กเกจ ๆ ในชั้นนี้ 4. เลเยอร์ Transport บางครั้งเรียกว่า เลเยอร์ชั้น Host-to-Host หรือเครื่องต่อเครื่อง และจากเลเยอร์ชั้นที่ 4 ถึงชั้นที่ 7 นี้รวมกันจะเรียกว่า เลเยอร์ End-to-End ในเลเยอร์ชั้น Transport นี้เป็นการ สื่อสารกันระหว่างต้น ทางและปลายทาง (คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์) กันจริง ๆ เลเยอร์ชั้น Transpot จะ ทาหน้าที่ตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งมาจากเลเยอร์ชั้น Session นั้นไปถึงปลายทางจริง ๆ หรือไม่ ดังนั้นการกา หนดตาแหน่งของข้อมูล (address) จึงเป็นเรื่องสาคัญในชั้นนี้ เนื่องจากจะต้องรู้ว่าใครคือผู้ส่ง และใครคือผู้รับ ข้อมูลนั้น 12
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5. เลเยอร์ Session ทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ โดยผู้ใช้จะ ใช้คาสั่งหรือข้อความที่กาหนดไว้ป้อนเข้าไปในระบบ ในการสร้างการเชื่อมโยงนี้ผู้ใช้จะต้อง กาหนดรหัสตาแหน่ง ของจุดหมายปลายทางที่ต้องมีการติดต่อสื่อสารด้วย เลเยอร์ ชั้น Session จะส่งข้อมูลทั้งหมดให้กับเลเยอร์ชั้น Transport เป็นผู้จัดการต่อไป ในเครือข่าย ทั้งเลเยอร์ Session และเลเยอร์ Transport อาจจะเป็นเลเยอร์ ชั้นเดียวกัน 6. เลเยอร์ Presentation ทาหน้าที่เหมือนบรรณารักษ์ กล่าวคือคอยรวบรวมข้อความ (Text) และแปลงรหัส หรือแปลงรูปแบบของข้อมูลให้เป็นรูปแบบการสื่อสารเดียวกัน เพื่อช่วย ลดปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิด ขึ้นกันผุ้ใช้งานในระบบ 13
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7. เลเยอร์ Application เป็นเลเยอรชั้นบนสุดของรูปแบบ OSI ซึ่งเป็นชั้นที่ใช้ติดต่อระหว่าง ผู้ใช้โดยตรงซึ่งได้แก่ โฮสต์คอมพิวเตอร์ เทอร์มินัลหรือคอมพิวเตอร์ PC เป็นต้น แอปพลิเคชัน ในเลเยอรชั้นนี้ สามารถนาเข้า หรือออกจากระบบเครือข่ายได้โดยไม่จาเป็นต้องสนใจว่ามี ขั้นตอนการทางานอย่างไร เพราะจะ มีเลเยอร์ชั้น Presentation โดยตรงเท่านั้น 14
  • 17. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ TCP/IP Model มีแนวคิดพื้นฐานแตกต่างจาก OSI Model คือไม่ได้มีพื้นฐานของการ สื่อสารแบบการสนทนา TCP/IP Model เป็นภาพแสดงถึงโลกของระบบเครื่อข่ายสากล (Internetworking) ที่ทาการเคลื่อนย้ายและกาหนดเส้นทางให้กับขอ้มูลระหว่างเครือข่ายและ ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ เมื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างทั้ง 2 โมเดล จะพบว่ามี บางเลเยอร์ที่มีการกาหนดคุณสมบัติที่เทียบได้ไกล้เคียงกัน แต่บางเลเยอร์ก็ไม่สามารถเทียบหา ความสัมพันธ์กันได้ 17
  • 19. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1. ชั้นโฮสต์-เครือข่าย (Host-to-Network Layer) โพรโตคอลสาหรับการควบคุมการสื่อสารในชั้นนี้เป็นสิ่งที่ไม่มีการกาหนดรายละเอียด อย่างเป็นทางการ หน้าที่หลักคือการรับข้อมูลจากชั้นสื่อสาร IP มาแล้วส่งไปยังโหนดที่ระบุไว้ใน เส้นทางเดินข้อมูลทางด้านผู้รับก็จะทางานในทางกลับกัน คือรับข้อมูลจากสายสื่อสารแล้วนาส่ง ให้กับโปรแกรมในชั้นสื่อสาร 19
  • 20. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2. ชั้นสื่อสารอินเทอร์เน็ต (The Internet Layer) ใช้ประเภทของระบบการสื่อสารที่เรียกว่า ระบบเครือข่ายแบบสลับช่องสื่อสาร ระดับแพ็กเก็ต (packet-switching network) ซึ่งเป็นการติดต่อแบบไม่ต่อเนื่อง (Connectionless) หลักการทางานคือการปล่อยให้ข้อมูลขนาดเล็กที่เรียกว่า แพ็กเก็ต (Packet) สามารถไหลจากโหนดผู้ส่งไปตามโหนดต่างๆ ในระบบจนถึงจุดหมายปลายทางได้ โดยอิสระ หากว่ามีการส่งแพ็กเก็ตออกมาเป็นชุดโดยมีจุดหมายปลายทางเดียวกันในระหว่าง การเดินทางในเครือข่าย แพ็กเก็ตแต่ละตัวในชุดนี้ก็จะเป็นอิสระแก่กันและกัน ดังนั้น แพ็กเก็ต ที่ส่งไปถึงปลายทางอาจจะไม่เป็นไปตามลาดับก็ได้ 20
  • 21. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3. ชั้นสื่อสารนาส่งข้อมูล (Transport Layer) แบ่งเป็นโพรโตคอล 2 ชนิดตามลักษณะ ลักษณะแรกเรียกว่า Transmission Control Protocol (TCP) เป็นแบบที่มีการกาหนดช่วงการสื่อสารตลอดระยะเวลาการสื่อสาร (connection-oriented) ซึ่งจะยอมให้มีการ ส่งข้อมูลเป็นแบบ Byte stream ที่ไว้ใจได้โดยไม่มีข้อผิดพลาด ข้อมูลที่มีปริมาณมากจะถูกแบ่งออกเป็นส่วน เล็กๆ เรียกว่า message ซึ่งจะถูกส่งไปยังผู้รับผ่านทางชั้นสื่อสารของอินเทอร์เน็ต ทางฝ่ายผู้รับจะนา message มาเรียงต่อกันตามลาดับเป็นข้อมูลตัวเดิม TCP ยังมีความสามารถในการควบคุมการไหลของข้อมูลเพื่อป้องกัน ไม่ให้ผู้ส่ง ส่งข้อมูลเร็วเกินกว่าที่ผู้รับจะทางานได้ทันอีกด้วย โปรโตคอลการนาส่งข้อมูลแบบที่สองเรียกว่า UDP (User Datagram Protocol) เป็นการติดต่อแบบไม่ ต่อเนื่อง (connectionless) มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลแต่จะไม่มีการแจ้งกลับไปยังผู้ส่ง จึงถือได้ว่า ไม่มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล อย่างไรก็ตาม วิธีการนี้มีข้อดีในด้านความรวดเร็วในการส่งข้อมูล จึง นิยมใช้ในระบบผู้ให้และผู้ใช้บริการ (client/server system) ซึ่งมีการสื่อสารแบบ ถาม/ตอบ (request/reply) นอกจากนั้นยังใช้ในการส่งข้อมูลประเภทภาพเคลื่อนไหวหรือการส่งเสียง (voice) ทางอินเทอร์เน็ต 21
  • 22. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4. ชั้นสื่อสารการประยุกต์ (Application Layer) มีโพรโตคอลสาหรับสร้างจอเทอร์มินัลเสมือน เรียกว่า TELNET โพรโตคอลสาหรับการ จัดการแฟ้มข้อมูล เรียกว่า FTP และโพรโตคอลสาหรับการให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เรียกว่า SMTP โดยโพรโตคอลสาหรับสร้างจอเทอร์มินัลเสมือนช่วยให้ผู้ใช้สามารถติดต่อกับ เครื่องโฮสต์ที่อยู่ไกลออกไปโดยผ่านอินเทอร์เน็ต และสามารถทางานได้เสมือนกับว่ากาลังนั่ง ทางานอยู่ที่เครื่องโฮสต์นั้น โพรโตคอลสาหรับการจัดการแฟ้มข้อมูลช่วยในการคัดลอก แฟ้มข้อมูลมาจากเครื่องอื่นที่อยู่ในระบบเครือข่ายหรือส่งสาเนาแฟ้มข้อมูลไปยังเครื่องใดๆก็ได้ โพรโตคอลสาหรับให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ช่วยในการจัดส่งข้อความไปยังผู้ใช้ในระบบ หรือรับข้อความที่มีผู้ส่งเข้ามา 22
  • 23. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ การต่อเชื่อมเข้าอินเตอร์เน็ทแบบ Broadband และ Packet Switching Broadband คืออะไร "Broadband" เป็นคาศัพท์เฉพาะที่ใช้ทั่วไปในการกล่าวถึงการติดต่อผ่านเครือข่าย ความเร็วสูง ในที่นี้จะหมายถึงการติดต่ออินเทอร์เน็ตผ่านทางเคเบิลโมเด็มและสายชนิด Digital Subscriber Line (DSL) ซึ่งนิยมเรียกว่าการติดต่ออินเทอร์เน็ตแบบ broadband โดยมีค่า "Bandwidth" จะเป็นค่าที่อธิบายถึงความเร็วสัมพัทธ์ในการติดต่อกับเครือข่าย 23
  • 24. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ DSL ย่อมาจาก Digital Subscriber Line หมายถึงเทคโนโลยีโมเด็ม ที่ใช้คู่สายทองแดงธรรมดา ปรับ ให้กลายเป็นสื่อสัญญาณดิจิตอลความเร็วสูง โดยมีการเข้ารหัสสัญญาณข้อมูล (Modulation) ในย่านความถี่ที่สูง กว่าการใช้งานโทรศัพท์โดยทั่วไป ทาให้สามารถรับ-ส่งข้อมูลได้ในขณะที่ใช้งานโทรศัพท์ สาหรับเทคโนโลยีใน ตระกูล DSL อยู่หลายประเภท เช่น ADSL: Asymmetric Digital Subscriber Line HDSL: High bit rate Digital Subscriber Line IDSL: ISDN Digital Subscriber Line RADSL: Rate Adaptive Digital Subscriber Line SDSL: Symmetric Digital Subscriber Line VDSL: Very high bit rate Digital Subscriber Line 24
  • 25. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ซึ่งแต่ละเทคโนโลยี DSL จะมีความสามารถในการรับ-ส่งข้อมูลแตกต่างกันออกไป โดยมีความ แตกต่างกันในลักษณะดังนี้ 1. ความเร็วในการรับ (down) ส่ง (up) ข้อมูล 2. Mode การรับ-ส่งข้อมูล เพื่อความเหมาะสมในการใช้งานจริง การเลือกเทคโนโลยีในการรับ-ส่งข้อมูลจึงเป็นสิ่งจาเป็น ตัวอย่างเช่น การรับ-ส่งข้อมูลของบริษัทระหว่างสาขา จะมีการรับ และส่งข้อมูลในการอัตราที่ ต้องการความเร็วพอๆ กัน แต่สาหรับผู้ใช้ตามบ้านมักจะต้องการการรับข้อมูลในการอัตรา ความเร็วมากกว่าการส่งข้อมูล 25
  • 26. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3. ระยะทางในการรับ-ส่งข้อมูล ซึ่งจะมีผลโดยตรงกับความเร็วในการส่งข้อมูล เช่น เทคโนโลยี VDSL สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วถึง 52 Mbps แต่จากัดในเรื่องระยะทางเพียง 1 km เท่านั้น แต่สาหรับ ADSL สามารถส่งข้อมูลได้เร็วเพียง 8 Mbps แต่สามารถส่งสัญญาณได้ไกลถึง 5 km เป็นต้น 4. จานวนสายที่ใช้ ตัวอย่างช่น เทคโนโลยี HDSL จะใช้สายในการรับ-ส่งข้อมูลถึง 4 สาย หรือ 2 คู่ แต่เทคโนโลยีอื่นๆ ได้พัฒนาให้ ใช้สายเพียง 1 คู่หรือ 2 สายเท่านั้น 5. ความสามารถในการใช้สายโทรศัพท์ระหว่างการรับ-ส่งข้อมูล เทคโนโลยีที่สามารถใช้งานโทรศัพท์ได้ระหว่างการใช้งานอินเตอร์เน็ตคือ เทคโนโลยี ADSL และ VDSL 26
  • 27. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ คืออุปกรณ์ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ผ่านโครงข่ายใยแก้วนาแสง (HFC Network : Hybird Fiber - Coaxial) เพื่อเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตโดยตรง โดยผ่านทางสายโทรศัพท์ แต่ไม่ ต้องมีการหมุนโทรศัพท์ (dial-up) ออกไป สาหรับ Cable Modem สามารถแบ่งออกได้ 2 แบบ คือ แบบ One way และ แบบ Two way 27
  • 28. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ Hybrid Fiber Coaxial Network หรือ HFC เป็นโครงข่ายที่ผสมผสานระหว่าง Optical Fiber Cable และ Coaxial Cable โดยการนาข้อดีของตัวนาแต่ละชนิดมาใช้งาน ร่วมกัน โครงข่าย HFC นี้มีประสิทธิภาพสูงการส่งสัญญาณไม่ว่าจะเป็นเสียง, ภาพ และข้อมูล 28
  • 29. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ แบนด์วิดท์ (Bandwidth) ในระบบคอมพิวเตอร์นั้นหมายถึงอัตราการส่งข้อมูล ผ่าน ตัวกลางไปยังอีกสถานที่หนึ่ง ซึ่งตัวกลางนั้นจะเป็นสายทองแดงหรือสายใยแก้วนาแสง ก็จะมี ผลให้อัตราการส่งข้อมูลไปยังสถานที่หนึ่งที่แตกต่างกัน มีหน่วยเป็น บิตต่อวินาที bps (bit per second) , กิโลบิตต่อวินาที (Kbps) และ เมกกะบิตต่อวินาที (Mbps) 29
  • 30. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30 Packet switching เทคนิคในการแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่ม (Packet) แต่ละกลุ่มจะ มีความยาวเท่ากัน (ปกติ 100บิต)ข้อมูลจะหาทิศทางเดินไปได้เอง โดยที่สายหนึ่ง ๆ จะสามารถ ใช้กันได้หลายคน เมื่อถึงที่ปลายทางข้อมูลก็จะกลับ ไปรวมกันเอง
  • 31. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31 เทคนิคในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง เมื่อมีการเชื่อมต่อกันแล้วจะติดต่อกันได้ตลอดเวลา ผู้อื่น จะแทรกเข้ามาไม่ได้เลย จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะปลดวงจรออก ตัวอย่างง่าย ๆ เช่นการติดต่อทางสายโทรศัพท์ เมื่อเริ่มพูดกันได้แล้ว คนอื่นจะต่อสายแทรกเข้ามาไม่ได้ จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะวางหูลง (ปลดวงจร)
  • 32. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1. แบบทิศทางเดียว (Simplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบทางเดียว” (One-way Communication)เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทาง โดยไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้ 2. แบบกึ่งสองทิศทาง ( Half Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบทางใดทางหนึ่ง (Either-way Communication)” เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้ 2 ทิศทาง แต่จะ ไม่สามารถส่งพร้อมกันได้ โดยต้องผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น 3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบสองทาง (Both-way Communication)” เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทาง ในเวลาเดียวกัน 32
  • 33. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ เป็นระบบเครือข่ายที่มีผู้รู้จักมากที่สุดในโลก มีขนาดใหญ่มากที่สุด มีการเชื่อมโยงระบบเครือข่าย ขนาดต่าง ๆ เข้าด้วยกันเป็นจานวนหลายพันเครือข่ายและระบบเครือข่ายขนาดเล็กนับไม่ถ้วนที่กระจายอยู่ ทั่วโลก ระบบอินเตอร์เน็ตมีขีดความสามารถมากมาย ที่องค์กรสามารถนาไปใช้ในการสื่อสารและแลกเปลี่ยน ข้อมูลภายในองค์กรหรือระหว่างองค์กรเทคโนโลยีระบบอินเตอร์เน็ตจึงถูกนามาใช้เป็นเทคโนโลยีหลักในการ สร้างระบบเครือข่ายภายในองค์กรที่สนับสนุนการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และองค์กรระดับโลก 33
  • 34. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตและการให้บริการ มีรากฐานมาจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ของแม่ข่ายและ ลูกข่ายบริการ ผู้ใช้สามารถควบคุมการใช้งาน ในส่วนของตนเองผ่านโปรแกรมของผู้ใช้ เช่น เว็บบราวเซอร์ ข้อมูลอีกส่วนหนึ่ง เช่น ข้อความของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และเว็บเพจ จะถูกเก็บไว้ที่เครื่องแม่ข่ายหรือ เครื่องแม่ข่ายสาหรับเว็บ ผู้ใช้จะใช้โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ในการเรียกดูข้อมูลที่ต้องการจากเครื่องแม่ข่าย สาหรับเว็บที่อาจตั้งอยู่ข้างเคียงกันหรือยู่ห่างกันคนละซีกโลกก็ได้ เครื่องแม่ข่ายสาหรับเว็บจะส่งข้อมูลที่ผู้ใช้ ต้องการมาทางเครือข่าย 34
  • 35. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ อินทราเน็ต คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นระบบที่ได้การกล่าวขวัญถึงกันอย่างมากคู่กับ อินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรต่าง ๆ ได้มีการนาอินทราเน็ตมาใช้กันอย่างแพร่หลาย จนทาให้ระบบที่เกี่ยวกับอินทราเน็ตเป็นระบบที่ผู้ค้าต่าง ๆ มุ่งเข้ามาสู่กันมากที่สุด โดยสามารถ ให้นิยามของอินทราเน็ตได้คือ ระบบเครือข่ายอินทราเน็ต ก็คือระบบเครือข่ายภายในองค์การที่นาเทคโนโลยีแบบเปิดจาก อินเตอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ เพื่อช่วยในการทางานร่วมกัน (Workgroup) การแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ตลอดจนการทางานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ในองค์การ 35
  • 36. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ประโยชน์ของการนาอินทราเน็ตมาใช้ในองค์กรต่าง ๆ คือ ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสารข้อมูล เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารต่าง ๆ ภายในองค์กร สามารถจัดเก็บอยู่ ในรูปอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ภาษา และใช้บราวเซอร์ในการอ่านเอกสาร ทาให้ลดค่าใช้จ่าย และเวลาในการจัดพิมพ์เอกสารกระดาษ ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอ เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยาก เหมือนการพิมพ์ลงกระดาษ และไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ทาให้บุคลากรในองค์กรสามารถรับข่าวสารใหม่ ล่าสุดได้เสมอ ช่วยในการติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไว ไม่ว่าบุคลากรจะอยู่ห่างกันคนละชั้น คนละตึก หรือคนละจังหวัด ด้วยการใช้เทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีการคุยติดต่อผ่านแป้นพิมพ์ หรือแม้กระทั่ง เทคโนโลยีประชุมทางไกล เป็นการช่วยลดการสูญเสียเวลาของบุคลากร ตลอดจนช่วยให้ทีมงานมีการ ประสานงานกันดีขึ้น 36
  • 37. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เสียค่าใช้จ่ายต่า การติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการติดตั้ง ซอฟต์แวร์การทางานแบบกลุ่ม (Workgroup software) ทั่วไปมาก เนื่อจากการใช้เทคโนโลยีแบบเปิดของอินเตอร์เน็ต ทาให้สามารถใช้ ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ในอินเตอร์เน็ตซึ่งมีราคาไม่สูงนัก หรือในงานบางส่วนอาจไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เนื่องจากมีแชร์ แวร์และฟรีแวร์อยู่มากมายในอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ หากองค์กรมีระบบเครือขายภายในอยู่แล้ว การติดตั้ง ระบบอินทราเน็ตเพิ่มเติมจะเสียค่าใช้จ่ายต่ามาก เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วได้ทันทีตาม คุณสมบัติ การใช้งานข้ามระบบ (cross platfrom) ที่แตกต่างกันได้ของอินเตอร์เน็ต  เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด ทาให้องค์กรไม่ผูกติดอยู่กับผู้ค้ารายใดรายหนึ่ง จึงช่วยลดความเสี่ยงต่าง ๆ เช่น ผู้ค้าเลิกกิจการ ผู้ค้าเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือผู้ค้าขึ้นราคา เป็นต้น รวมทั้งช่วยให้สามารถหาซอฟต์แวร์ ใหม่ ที่จะมาช่วยในการทางานได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งอยู่กับผู้ผลิตเพียงรายเดียว  เตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตได้ทันที รวมทั้งเป็นการเตรียมความรู้ของบุคลากร เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตด้วย 37
  • 38. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ จากนิยามจะเห็นได้ว่าองค์ประกอบของอินทราเน็ตจะคล้ายคลึงกับอินเตอร์เน็ตอย่างมาก เนื่องจากมี การนาเทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ตมาใช้งานนั้นเอง โดยอินทราเน็ตที่ดีควรประกอบด้วย  การใช้โปรโตคอล TCP/IP เป็นโปรโตคอลสาหรับติดต่อสื่อสารภายในเครือข่าย  ใช้ระบบ World Wide Web และโปรแกรมบราวเซอร์ในการแสดงข้อมูลข่าวสาร  มีระบบอีเมลล์สาหรับแลกเปลี่ยนสาหรับข้อมูลระหว่างบุคลากรในองค์กร รวมทั้งอาจมีระบบนิวส์กรุ๊ปส์ เพื่อใช้ ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความรู้ของบุคลากร  ในกรณีที่มีการเชื่อมต่อระบบอินทราเน็ตในองค์กรเข้ากับอินเตอร์เน็ต จะต้องมีระบบไฟร์วอลล์ (FireWall) ซึ่ง เป็นระบบป้องกันอันตรายจากผู้ไม่หวังดีที่ติดต่อเข้ามาจากอินเตอร์เน็ต โดยระบบไฟร์วอลล์จะช่วยกรั่นกรอง ให้ผู้ที่ติดต่อเข้ามาใช้งานได้เฉพาะบริการและพิ้นที่ในส่วนที่อนุญาตไว้เท่านั้น รวมทั้งช่วยกัน นักเจาะระบบ (hacker) ที่จะทาการขโมยหรือทางายข้อมูลในระบบเครือข่ายขององค์กรด้วย 38
  • 39. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เอ๊กซ์ทราเน็ต หรือ เครือข่ายภายนอกองค์กร ก็คือระบบเครือข่ายซึ่งเชื่อมเครือข่ายภายในองค์กร (INTERNET) เข้ากับ ระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ภายนอกองค์กร เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ของสาขาของผู้จัดจาหน่ายหรือของลูกค้า เป็นต้น โดย การเชื่อมต่อเครือข่ายอาจเป็นได้ทั้ง การเชื่อมต่อโดยตรง (Direct Link) ระหว่าง 2 จุด หรือการเชื่อมต่อแบบ เครือข่าย เสมือน (Virtual Network) ระหว่างระบบเครือข่ายอินทราเน็ต จานวนหลาย ๆ เครือข่ายผ่านอินเตอร์เน็ตก็ได้  ระบบเครือข่ายแบบเอ็กซ์ทราเน็ต โดยปกติแล้วจะอนุญาตให้ใช้งานเฉพาะสมาชิกขององค์กรหรือผู้ที่ได้รับสิทธิในการใช้ งานเท่านั้น โดยผู้ใช้จากภายนอกที่เชื่อมต่อเข้ามาผ่านเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตอาจถูกแบ่งเป็นประเภท ๆ เช่น ผู้ดูแล ระบบ สมาชิก คู่ค้า หรือผู้สนใจทั่ว ๆ ไป เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้แต่ละกลุ่มจะได้รับสิทธิในการเข้าใช้งานเครือข่ายที่แตกต่างกัน ไป  เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตเป็นเทคโนโลยีเครือข่ายที่กาลังได้รับความสนใจอย่างมาก เนื่องจากแนวโน้มการใช้งานเครือข่าย อินเตอร์เน็ตที่เริ่มมีการนามาใช้ในเชิงพาณิชย์มากขึ้นเรื่อย ๆ เช่น การเปิดร้านค้าบนอินเตอร์เน็ต หรือการเปิดบริการ ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เป็นต้น ซึ่งบริการเหล่านี้จะต้องมีการเชื่อมต่อกับบุคคลและเครือข่ายภายนอกองคกรจานวนมาก จึงต้องมีระบบการจัดการการเชื่อมต่อเครือข่ายภายนอกที่มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย 39
  • 40. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ในปัจจุบันอุปกรณ์ไร้สายจานวนหนึ่งมีขีดความสามารถในการติดต่อข้อมูล จาก เว็บไซต์บนระบบอินเตอร์เน็ตได้ เรียกว่า ระบบไร้สาย และมีแนวโน้มที่อุปกรณ์ใหม่ ๆ จะมีขีด ความสามารถมากขึ้นและคาดว่าจะได้รับความนิยมในการนามาใช้งานมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม อุปกรณ์เหล่านี้ คงไม่สามารถที่จะนามาใช้ทดแทนพีซีได้แต่ก็สามารถทาให้เกิดเป็นบริการชนิด ใหม่ซึ่งประกอบไปด้วย Wireless Application Protocol (WAP), Wireless Markup Language (WML) Mircrobrowser, I-Mode, Voice portals และ M-Commerce เป็น พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ผ่านมือถือ 40
  • 41. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ มาตรฐานสาหรับระบบเว็บไร้สายมีอยู่ 2 แบบ คือ มาตรฐาน ระบบ WAP (Wireless Application Protocol) และมาตรฐานระบบ I-Mode 41
  • 42. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 42อ้างอิงจาก : https://www.mindphp.com/คู่มือ/73-คืออะไร/
  • 43. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ WAP (เว็บ) หรือ Wireless Application Protocol (ไวเลส แอพพลิเคชั่น โปรโตคอล) เป็น Communication Protocol (คอมมิวนิเคชั่น โปรโตคอล) ที่มีพื้นฐานมาจากInternet Protocol (อินเทอร์เน็ต โปรโตคอล) ซึ่ง WAP เป็นมาตรฐานเปิดของระบบการสื่อสารด้าน ข้อมูลไร้สาย ที่ทาให้สามารถเชื่อมต่อโลกของข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต มาสู่บริการของเครื่องมือ สื่อสารไร้สาย อันได้แก่ โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือ เครื่องมือสื่อสารไร้สาย อื่นๆ ซึ่งนั้นก็หมายถึง การทาให้ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตเพื่อ ค้นหาข้อมูลหรือใช้ บริการต่างๆ โดยผ่านเครื่องโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ได้ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ใดนั้นเอง 43
  • 44. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ต้นแบบของ WAP ก็คือ www (เวิลด์ วาย เว็บ) ที่เราคุ้นเคยกันดี WAP ช่วยให้เรามีบางสิ่ง ที่คล้ายกับ Protocol stack (โปรโตคอล สแท็ค) ของ TCP/IP (ที ซี พี/ไอ พี) ซึ่งใช้กันในระบบ อินเตอร์เน็ตข้อแตกต่าง ก็คือ Protocol stack ของ WAP ถูกออกแบบโดยอาศัยพื้นฐานของ TCP/IP แล้วนามาปรับการทางานให้เหมาะสมกับระบบการสื่อสารแบบไร้สายโดยเฉพาะ 44
  • 45. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ - WAE (เว็บ) หรือ Application layer Wireless Application Environment (แอพพลิเคชั่น เลเยอร์ ไวเลส แอพพลิเคชั่น เอ็นไวรอนเมนท์) - WSP (ดับบลิว เอส พี) หรือ Session Layer Wireless Session Protocol (เซสชั่น เลเยอร์ ไวเลส โปรโตคอล) - WTP (ดับบลิว ที พี) หรือ Transaction Layer Wireless Transaction Protocol (ทรานแซคชั่น โปรโตคอล) - WTLS (ดับบลิว ที แอล เอส) หรือ Security Layer Wireless Transport Layer Security (ซิเคียวริตี้ เลเยอร์ ไวเลส แทรนสพอร์ท เลเยอร์ ซิเคียวริตี้) - WDP (ดับบลิว ดี พี) หรือ Transport Layer Wireless Datagram Protocol (แทรนสพอร์ท เลเยอร์ ไวเลส ดาต้าแกรม โปรโตคอล) - SMS (เอส เอ็ม เอส),USSD (ยู เอส เอส ดี),CSD (ซี เอส ดี), CDMA (ซี ดี เอ็ม เอ), IDEN (ไอ ดี อี เอ็น),CDPD (ซี ดี พี ดี) หรือ Network Layer Wireless Bearers (เน็ตเวิร์ก เลเยอร์ ไวเลส แบเรอ) 45
  • 46. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ สรุป การเรียกใช้ข้อมูลในอินเตอร์เน็ตด้วยโทรศัพท์มือถือ โดยโทรศัพท์มือถือรุ่นนั้นๆต้องมี คุณสมบัติรองรับเทคโนโลยี Web ด้วยโดยภายในเครื่องต้องมีซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า web browser (เว็บ บราวเซอร์) หรือ Micro Browser (ไมโคร บราวเซอร์) และฮาร์ดแวร์ของเครื่อง ที่สนับสนุนการทางาน โดยการเปิดใช้ Web แต่ละครั้งจะต้องการส่งเพื่อขอการเปิดใช้งานด้วย Protocol ที่แตกต่างกันไปและแปลงกลับมาเพื่อให้เปิดใช้งานบน อุปกรณ์เคลื่อนที่ 46
  • 47. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ เป็นมาตรฐานที่กาลังแข่งขันกับระบบ WAP ซึ่งได้รับการพัฒนาโดยบริษัท NTT DoCoMo ของ ประเทศญี่ปุ่น ระบบนี้ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในประเทศญี่ปุ่นและประเทศในทวีป ยุโรป ระบบ I-mode ใช้ภาษา HTML ฉบับย่อ (Compact HTML) จึงเป็นการง่ายสาหรับ องค์กรต่าง ๆ ที่จะแปลงข้อมูล HTML ของตนให้สามารถใช้งานได้ ระบบนี้ยังใช้เทคโนโลยีการ สื่อสารแบบแพ๊กเก็ตสวิทช์ จึงช่วยให้ผู้ใช้สามารถ ออนไลน์กับเว็บไซต์ที่ต้องการได้ตลอดเวลา ซึ่งผู้ใช้ระบบ WAP จะต้องโทรศัพท์เข้าไปตรวจสอบจึงจะทราบว่า เว็บไซต์นั้น ๆ ยังคง ให้บริการอยู่ตามปกติและยังสามารถจัดการข้อมูลที่แสดงผลหลายสีได้ด้วย 47
  • 48. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ การใช้ m-commerce ในประเทศสหรัฐอเมริกามีการพัฒนาและเติบโตช้ากว่าใน ประเทศญี่ปุ่นและทวีปยุโรป แป้นพิมพ์ละหน้าจอบนโทรศัพท์มือถือมีขนาดเล็กมากจนเป็น อุปสรรคต่อการใช้งานและอัตราความเร็วในการถ่ายทอดข้อมูลก็ช้ามาก คือ ประมาณ 9,600 ถึง 14,400 บิตต่อวินาที เมื่อเปรียบเทียบกับความเร็วขนาด 56,000 บิตต่อวินาที ที่เครื่องพีซี ทั่วไปใช้อยู่แต่ละวินาทีที่ผ่านไป ล้วนแล้วแต่ทาให้ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือต้องจ่ายค่าบริการเพิ่มขึ้น เรื่อย ๆ ประกอบกับข้อมูลที่มีอยู่ในเว็บไซต์ ทั่วไปนั้นมีข้อมูลกราฟฟิกอยู่เป็นจานวนมาก ซึ่งไม่ สามารถแสดงผลบนหน้าจอขนาดเล็กได้ เว็บไซต์ที่มีการ เตรียมการสาหรับ WML ก็มีอยู่เพียง จานวนจากัดมาก 48
  • 49. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายในประเทศสหรัฐอเมริกาก็มีการนาเทคโนโลยีหลายแบบ มาใช้ ซึ่งไม่สามารถสื่อสารระหว่างกันได้ (ในทวีปยุโรปใช้ระบบ GSM เป็นมาตรฐาน ส่วนใน สหรัฐอเมริกาใช้ระบบ CDMA และ TDMA เป็นส่วนใหญ่) การที่จะให้ m-commerce เกิดขึ้น ได้นั้นต้องมีการพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาใหม่ เพื่อให้บริการระบบไร้สายโดยเฉพาะ ปัญหาบางประการก็ได้รับการแก้ไขหรือม่แนวทางแก้ไขบ้างแล้ว เช่น การนา เทคโนโลยี voice portals เข้ามาใช้งาน ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้อุปกรณ์ไร้สายสามารถ เข้าใจคาสั่งที่เป็นเสียงพูดได้ ผู้ใช้จึงไม่จาเป็นต้องพิมพ์ข้อความที่ต้องการลงบนแป้นพิมพ์ขนาด จิ๋ว แต่ใช้การออกคาสั่งแทนและในส่วนของการตอบสนองก็สามารถใช้เป็นเสียงพูดแทนการ แสดงผลได้เช่นกัน 49
  • 50. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ช่องทางสื่อสาร หมายถึง รูปแบบใด ๆ ที่สามารถนามาใช้ถ่ายทอดสัญญาณข้อมูลจาก อุปกรณ์ตัวหนึ่งในระบบเครือข่ายไปยังอุปกรณ์อีกตัวหนึ่ง ช่องสื่อสารแต่ละช่องอาจใช้สื่อนา สัญญาณชนิดใดก็ได้ เช่น สายคู่บิดเกลียว สายโคแอ๊กเชียล สายใยแก้วนาแสง สัญญาณ ไมโครเวฟ สัญญาณผ่านดาวเทียมและสัญญาณไร้สายแบบต่าง ๆ สื่อแต่ละชนิดมีทั้งข้อดีและ ข้อเสีย โดยทั่วไปแล้ว สื่อที่มีความเร็วในการถ่ายทอดข้อมูลสูงจะมีราคาสูงกว่าสื่อที่มีความเร็ว ต่า แต่ก็มีความสามารถในการถ่ายทอดข้อมูลในปริมาณที่มากกว่าทาให้ราคาต่อหน่วยข้อมูลต่า กว่า 50
  • 51. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ การให้บริการในโครงสร้างพื้นฐาน ในปัจจุบันขึ้นกับความกว้างของช่องสัญญาณ ความเร็วในการส่งสัญญาณ ผ่านวงจรเช่า ISDN ที่มีความเร็ว 64 kbps วงจรเช่า ADSL มี ความเร็ว 600 kbps – 8 Mbps และ Optical Fibers มีความเร็ว 100 – 200 Mbps 51
  • 52. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ Firewall นั้นหากจะแปลตรงตัวจะแปลว่ากาแพงไฟ แต่ที่จริงแล้ว firewall นั้นเป็น กาแพงที่มีไว้เพื่อป้องกันไฟโดยที่ตัวมันเองนั้นไม่ใช่ไฟตามดังคาแปล firewall ในสิ่งปลูกสร้าง ต่างๆนั้นจะทาด้วยอิฐเพื่อแยกส่วนต่างๆของสิ่งปลูกสร้างออกจากกันเพื่อที่ว่าในเวลาไฟไหม้ไฟ จะได้ไม่ลามไปทั่วสิ่งปลูกสร้างนั้นๆ หรือ Firewall ในรถยนต์ก็จะเป็นแผ่นโลหะใช้แยกส่วน ของเครื่องยนต์และส่วนของที่นั่งของผู้โดยสารออกจากกัน ในเครือข่าย Internet นั้น firewall อาจถูกใช้สาหรับป้องกันไม่ให้ "ไฟ" จากเครือข่าย Internet ภายนอกลามเข้ามาภายในเครือข่าย LAN ส่วนตัวของท่านได้ หรืออาจถูกใช้เพื่อ ป้องกันไม่ให้ผู้ใช้ใน LAN ของท่านออกไปโดน "ไฟ" ในเครือข่าย Internet ภายนอกได้ 52
  • 53. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ความหมายของไฟร์วอลล์ หมายถึง ระบบหนึ่งหรือกลุ่มของระบบที่บังคับใช้นโยบาย การควบคุมการเข้าถึงของระหว่างเครือข่ายสองเครือข่าย โดยที่วิธีการกระทานั้นก็จะแตกต่าง กันไปแล้วแต่ระบบ แต่โดยหลักการแล้วเราสามารถมอง Firewall ได้ว่าประกอบด้วย กลไก สองส่วนโดยส่วนแรกมีหน้าที่ในการกั้นจราจรข้อมูล และส่วนที่สองมีหน้าที่ในการปล่อยจราจร ข้อมูลให้ผ่านไปได้ 53
  • 54. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ Firewall โดยทั่วไปจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ firewall ระดับ network (network level firewall) และ firewall ระดับ application (application level firewall) ก่อนที่ Firewall ระดับ network จะตัดสินใจยอมให้ traffic ใดผ่านนั้นจะดูที่ address ผู้ส่งและผู้รับ และ port ในแต่ละ IP packet เมื่อพิจารณาแล้วเห็นว่า traffic สามารถผ่านไปได้ก็จะ route traffic ผ่านตัวมันไปโดยตรง router โดยทั่วไปแล้วก็จะถือว่า เป็น firewall ระดับ network ชนิดหนึ่ง firewall ประเภทนี้จะมีความเร็วสูงและจะ transparent ต่อผู้ใช้ (คือผู้ใช้มองไม่เห็นความแตกต่างระหว่างระบบที่ไม่มี firewall กับระบบ ที่มี firewall ระดับ network อยู่) การที่จะใช้ firewall ประเภทนี้โดยมากผู้ใช้จะต้องมี IP block (ของจริง) ของตนเอง 54
  • 55. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ Firewall ระดับ application นั้นโดยทั่วไปก็คือ host ที่ run proxy server อยู่ firewall ประเภทนี้สามารถให้รายงานการ audit ได้อย่างละเอียดและสามารถบังคับใช้ นโยบายความปลอดภัยได้มากกว่า firewall ระดับ network แต่ firewall ประเภทนี้ก็จะมี ความ transparent น้อยกว่า firewall ระดับ network โดยที่ผู้ใช้จะต้องตั้งเครื่องของตนให้ใช้ กับ firewall ประเภทนี้ได้ นอกจากนี้ firewall ประเภทนี้จะมีความเร็วน้อยกว่า firewall ระดับ network บางแหล่งจะกล่าวถึง firewall ประเภทที่สามคือประเภท stateful inspection filtering ซึ่งใช้การพิจารณาเนื้อหาของ packets ก่อนๆในการที่จะตัดสินใจให้ packet ที่กาลังพิจารณาอยู่เข้ามา 55
  • 56. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ขีดความสามารถของ firewall ทั่วๆไปนั้นมีดังต่อไปนี้ • ป้องกันการ login ที่ไม่ได้รับอนุญาตที่มาจากภายนอกเครือข่าย • ปิดกั้นไม่ให้ traffic จากนอกเครือข่ายเข้ามาภายในเครือข่ายแต่ก็ยอมให้ผู้ที่อยู่ ภายในเครือข่ายสามารถติดต่อกับโลกภายนอกได้ • เป็นจุดรวมสาหรับการรักษาความปลอดภัยและการทา audit (เปรียบเสมือนจุดรับ แรงกระแทกหรือ "choke" ของเครือข่าย) 56
  • 57. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ข้อจากัดของ firewall มีดังต่อไปนี้ • firewall ไม่สามารถป้องกันการโจมตีที่ไม่ได้กระทาผ่าน firewall (เช่น การโจมตี จากภายในเครือข่ายเอง) • ไม่สามารถป้องกันการโจมตีที่เข้ามากับ application protocols ต่างๆ (เรียกว่าการ tunneling) หรือกับโปรแกรม client ที่มีความล่อแหลมและถูกดัดแปลงให้กระทาการโจมตีได้ (โปรแกรมที่ถูกทาให้เป็น Trojan horse) • ไม่สามารถป้องกัน virus ได้อย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจากจานวน virus มีอยู่ มากมาย จึงจะเป็นการยากมากที่ firewall จะสามารถตรวจจับ pattern ของ virus ทั้งหมดได้ 57
  • 58. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ถึงแม้ว่า firewall จะเป็นเครื่องมือที่สามารถนามาใช้ป้องกันการโจมตีจากภายนอก เครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ การที่จะใช้ firewall ให้ได้ประโยชน์สูงสุดนั้นจะขึ้นอยู่กับ นโยบายความปลอดภัยโดยรวมขององค์กรด้วย นอกจากนี้ แม้แต่ firewall ที่ดีที่สุดก็ไม่ สามารถนามาใช้แทนการมีจิตสานึกในการที่จะรักษาความปลอดภัยภายในเครือข่ายของผู้ที่อยู่ ในเครือข่ายนั้นเอง 58
  • 59. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ปัจจุบันดาวเทียมที่สามารถเชื่อมระบบการสื่อสารแบบดิจิตอล คือ IPSTAR ของไทย ซึ่งมีอายุ 12 ปี โดยยิงขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 11 สิงหาคม 2548 ซึ่งในประเทศไทยมีผู้ให้บริการผ่าน เครือข่ายดาวเทียมหลายราย บริษัท TOT จากัด (มหาชน) เป็นผู้ให้บริการดาวเทียม IPSTAR ในประเทศไทยรายหนึ่ง โดยให้บริการสื่อสาร ผ่านดาวเทียมในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงการให้เช่า ช่องสัญญาณดาวเทียม IPSTAR การประยุกต์ใช้งานดาวเทียม และบริการเสริมทางด้านสื่อสาร ดาวเทียมต่าง ๆ แนะนาการใช้งาน IPStar เบื้องตน โหลดไฟล์ได้ที่ http://www.totsatellite.com/new/pdf/manual.pdf 59
  • 60. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ การให้บริการต่าง ๆ จาก TOT มีอะไรบ้าง https://www.tot.co.th/ 60