SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
3
บทที่2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาค้นคว้าโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง ต้นไม้กับตรีโกณมิติ ในครั้งนี้
มีเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้
1. การหาความสูงของต้นไม้
2. ตรีโกณมิติ
3. ต้นหมาก
1. การหาความสูงของต้นไม้
ใช้เครื่องวัดมุมเอียงหรืออุปกรณ์ส่องกล้องรังวัด
รูปภาพที่ 1เครื่องมือวัดมุมเอียง
1. ใช้วิธีนี้เพื่อการวัดที่แม่นยามากขึ้น ยังมีวิธีอื่นแม่นยากว่านี้อีก
แต่นี่จะไม่ต้องคานวณมากและใช้อุปกรณ์พิเศษที่อ่านค่าได้แม่นยา
มันไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิดหรอก: สิ่งที่จาเป็นก็แค่เครื่องคิดเลขที่คิดค่า tan ได้ซักเครื่อง
และไม้โปรแทคเตอร์พลาสติกถูกๆ หลอดดูด และเชือกซักเส้นเท่านั้นเอง
ก็จะเอามาใช้ทาเครื่องวัดมุมเอียง (clinometer) ด้วยตัวเองได้แล้ว
โดยเครื่องนี้จะวัดความชันของสิ่งของหรือใช้ในกรณีที่มีมุมอยู่ระหว่างคุณ กับยอดของต้นไม้
ส่วนอุปกรณ์ส่องกล้องรังวัด (transit)
จะเป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่าที่ให้ผลอย่างเดียวกันแต่ต้องใช้กล้องส่องทาง
ไกลหรือเลเซอร์ช่วยด้วยเพื่อความแม่นยามากขึ้น
4
รูปภาพที่ 2 วัดระยะทางตามระยะสายตา
2. วัดระยะทางไปตามระยะสายตา
ยืนแล้วถอยหลังไปยังต้นไม้และเดินผ่านจุดที่อยู่แถวพื้นของฐานต้นไม้และจะทา
ให้มองเห็นยอดต้นไม้ได้ชัดเจน เดินตรงและใช้ตลับเมตรเพื่อวัดระยะทางของคุณจากต้นไม้
ซึ่งไม่จาเป็นต้องยืนไกลจากต้นไม้ตามระยะทางที่กาหนดก็ได้
แต่ถ้าจะให้ได้ผลดีที่สุดต้องยืนห่างออกมาประมาณ 1-1.5 เท่าของความสูงต้นไม้
รูปภาพที่ 3 วัดระยะทางตามระยะสายตา
3. วัดมุมเงยไปหายอดต้นไม้
มองไปที่ยอดต้นไม้และใช้เครื่องวัดมุมเอียงหรืออุปกรณ์ส่องกล้องรังวัดเพื่อ จะวัด “มุมเงย”
ระหว่างต้นไม้กับพื้น ซึ่งมุมเงยก็คือมุมที่เกิดจากสองเส้นคือ
พื้นราบและระดับสายตาที่มองไปยังจุดที่ยกสูงขึ้น (ในกรณีนี้คือยอดของต้นไม้) กับคุณด้วยมุมยอด
5
รูปภาพที่ 4 วัดระยะทางตามระยะสายตา
4. คูณระยะห่างจากต้นไม้ด้วยค่า tan
จาตอนที่วัดระยะห่างจากต้นไม้ในขั้นตอนแรกได้ไหม ให้เอามันมาคูณด้วยค่า tan
โดยใช้เครื่องคิดเลข แล้วผลลัพธ์ที่ได้จะบอกความสูงของต้นไม้ที่อยู่เหนือระดับสายตา
ซึ่งมาจากระดับที่ใช้คานวณค่า tan
ถ้าอ่านขั้นตอนย่อยๆ ก่อนหน้านี้เรื่องความหมายของค่า tan มาแล้วจะเข้าใจว่าทาไมวิธีนี้ถึงดี
และอย่างที่ได้อธิบายไปแล้ว ค่าแทนก็คือ (ความสูงของต้นไม้) หารด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้)
แล้วคูณแต่ละข้างของสมการด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้) และจะได้เป็น (ค่า tan) x
(ระยะห่างจากต้นไม้) = (ความสูงของต้นไม้) นั่นเอง
รูปภาพที่ 5 วัดความสูงของตัวเอง
5. เพิ่มความสูงของตัวเองเข้าไปในขั้นตอนก่อนหน้านี้
แล้วตอนนี้ก็จะได้ความสูงของต้นไม้แล้ว
เพราะเราใช้เครื่องวัดมุมลาดหรือทรานซิสในระดับสายตาไม่ใช่ในระดับพื้นดิน
6
จึงต้องเพิ่มความสูงเข้าไปในการวัดเพื่อจะได้ความสูงทั้งหมดของต้นไม้
แล้วจะได้ความแม่นยาที่มากขึ้นจากการวัดความสูงจากระดับสายตาไม่ใช่บนสุดของ หัว
ตัวอย่างที่1
ต้นไม้ใหญ่ต้นหนึ่งในป่า จุด A เป็นจุดที่ คุณฉวียืนอยู่ ห่างจากโคนต้นไม้คือจุด B
เป็นระยะทางยาว 7 เมตร คุณฉวีจะมองผ่านกล้องส่องทางไกลเห็นยอดต้นไม้คือที่จุด C พอดี
แนวสายตาที่คุณฉวีมองเห็นยอดต้นไม้คือจุด C ทามุม 75
กับแนวระดับ จงให้อัตราส่วนตรีโกณมิติหาความสูงของต้นไม้ใหญ่ต้นนี้
แนวคิดในการแก้โจทย์
1. ศึกษาโจทย์ให้เข้าใจ
2. เขียนรายละเอียดต่าง ๆ ตามที่โจทย์กาหนด
3. สร้างรูปขึ้นมาตามที่โจทย์กาหนดเพื่อง่ายต่อการคานวณ
4. พิจารณาจะใช้อัตราส่วนตรีโกณมิติใดจึงจะได้ค่าตามที่โจทย์ต้องการ
5. สร้างสมการโดยอาศัยอัตราส่วนตรีโกณมิตินั้น นั่นคือ
อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมที่โจทย์กาหนด = ด้านตรงกันข้าม A/ด้านประชิดมุม A
กาหนดขึ้นมาแล้ววาดรูปตามข้อ 3 จะได้ดังรูป
รายละเอียดที่โจทย์กาหนดให้คือ
1. จุด A ห่างจากจุด B ระยะทาง 7 เมตร
2. จุด A ทามุม 75 กับจุด B
สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบคือความยาวของ BC
ขั้นตอนต่อไปคือเรามาพิจารณาว่าเราจะใช้อัตราส่วนตรีโกณมิติใดหาจึงจะได้ความยาวของ BC
1. ถ้าใช้ sine A = ด้านตรงข้ามมุม A/ด้านตรงกันข้ามมุมฉาก
เมื่อพิจารณาแล้วเราไม่ทราบความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากคือ AC
2. ถ้าใช้ cos A = ด้านประชิดมุม A/ด้านตรงกันข้ามมุมฉาก
เมื่อพิจารณาแล้วเราไม่ทราบความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากคือ AC ด้านที่จะหาไม่มีใน
อัตราส่วน
7
3. ถ้าใช้ tan A= ด้านตรงข้ามมุม A/ด้านประชิดมุม
A จะเห็นว่าอัตราส่วนนี้เราสามารถที่จะหาค่าความยาวตามที่โจทย์ต้องการได้
จากแนวคิดข้อ 5
อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมที่โจทย์กาหนด = ด้านตรงกันข้าม A/ด้านประชิดมุม Aจะได้
1. อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมที่โจทย์กาหนดคือ 75
2. ด้านที่ทราบความยาวแล้วคือ AB ยาว = 7 เมตร
3. ด้านที่จะหาคือความสูงของต้นไม้นั่นคือ BC
แทนค่าจะได้:- tan75 =
-> ( tan 75 ) 7 = BC (ค่าของ tan 75 องศาหาได้โดยการเปิดดูตารางที่นี่)
-> 3.732 7 = BC หรือ
-> BC = 3.732 7 = 26.124
ตอบ ต้นไม้สูง 26.124 เมตร
2. ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ (จากภาษากรีก trigonon มุม 3มุม และ metro การวัด)
เป็นสาขาของคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับมุม, รูปสามเหลี่ยม และฟังก์ชันตรีโกณมิติ เช่นไซน์ และ
โคไซน์ มีความเกี่ยวข้องกับเรขาคณิต แม้ว่าจะสรุปไม่ได้อย่างแน่ชัดว่า
ตรีโกณมิติเป็นหัวข้อย่อยของเรขาคณิต
ประวัติของตรีโกณมิติ
นักคณิตศาสตร์มุสลิมในยุคกลาง (หรือยุคมืด ตามคาเรียกของชาวยุโรป)
มีส่วนเป็นอย่างมากในการพัฒนาและอุทิศผลงานในคณิตศาสตร์สาขาตรีโกณมิติ
โดยพวกเขาได้รับแนวคิดพื้นฐานมาจาก
ตาราคณิตศาสตร์อินเดียที่ชื่อ Surya Siddhanta (สูรยสิทธานตะ) ตาราอัลมาเกส
(เป็นภาษาอาหรับแปลว่ายิ่งใหญ่ที่สุด
แสดงให้เห็นว่านักคณิตศาสตร์อาหรับยกย่องหนังสือเล่มนี้มาก)
8
ของทอเลมีนักคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียงชาวกรีก และตาราสเฟียริก
ของเมเนลาอุสนักคณิตศาสตร์ชาวกรีกเช่นกัน
อย่างไรก็ตาม
ถึงแม้ว่านักคณิตศาสตร์กรีกและอินเดียจะมีบทบาทในการพัฒนาตรีโกณมิติ
แต่ทว่านักประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์หลายท่าน ได้ให้เกียรตินักคณิตศาสตร์อาหรับว่า
เป็นผู้พัฒนาความรู้ในสาขานี้อย่างแท้จริง
ตรีโกณมิติในปัจจุบัน
ปัจจุบัน มีการนาตรีโกณมิติไปใช้ในงานสาขาต่าง ๆเช่น
เป็นเทคนิคในการสร้างรูปสามเหลี่ยม ซึ่งใช้ในวิชาดาราศาสตร์เพื่อวัดระยะทางของดาวที่อยู่ใกล้
ในภูมิศาสตร์ใช้วัดระยะทางระหว่างหลักเขตที่ดิน และใช้ในดาวเทียมนาทาง
งานที่มีการใช้ประโยชน์จากตรีโกณมิติ ได้แก่ดาราศาสตร์ (และการนาทางในมหาสมุทร
บนเครื่องบิน และในอวกาศ) ,ทฤษฎีดนตรี, สวนศาสตร์, ทัศนศาสตร์, การวิเคราะห์ตลาดการเงิน,
อิเล็กทรอนิกส์, ทฤษฎีความน่าจะเป็น, สถิติศาสตร์, ชีววิทยา, การสร้างภาพทางการแพทย์
(การกราดภาพตัดขวางใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (CAT scans) และ คลื่นเสียงความถี่สูง) , เภสัชศาสตร์,
เคมี, ทฤษฎีจานวน (รวมถึง วิทยาการเข้ารหัสลับ) , วิทยาแผ่นดินไหว, อุตุนิยมวิทยา, สมุทรศาสตร์,
วิทยาศาสตร์กายภาพสาขาต่างๆ, การสารวจพื้นดิน และภูมิมาตรศาสตร์, สถาปัตยกรรม,
สัทศาสตร์, เศรษฐศาสตร์, วิศวกรรมไฟฟ้า, วิศวกรรมเครื่องกล, วิศวกรรมโยธา,
เรขภาพคอมพิวเตอร์, การทาแผนที่, ผลิกศาสตร์
เกี่ยวกับตรีโกณมิติ
รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะเรียกว่าคล้ายกัน ถ้ารูปหนึ่งสามารถขยายได้เป็นอีกรูปหนึ่ง
และจะเป็นกรณีนี้ก็ต่อเมื่อมุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน ตัวอย่างเช่น
รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีมุมร่วมกันมุมหนึ่ง และด้านที่ตรงข้ามกับมุมนั้นขนานกัน
เป็นข้อเท็จจริงว่ารูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ด้านแต่ละด้านจะเป็นสัดส่วนกัน นั่นคือ
ถ้าด้านที่ยาวที่สุดของรูปสามเหลี่ยมหนึ่ง
9
ยาวเป็นสองเท่าของด้านที่ยาวที่สุดของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน จะกล่าวได้ว่า
ด้านที่สั้นที่สุดจะยาวเป็นสองเท่าของด้านที่สั้นที่สุดของอีกรูปสามเหลี่ยม
และด้านที่ยาวปานกลางก็จะเป็นสองเท่าของอีกรูปสามเหลี่ยมเช่นกัน
อัตราส่วนระหว่างด้านที่ยาวที่สุดและด้านที่สั้นที่สุดของรูปสามเหลี่ยมแรก จะเท่ากับ
อัตราส่วนระหว่างด้านที่ยาวที่สุดและด้านที่สั้นที่สุดของรูปสามเหลี่ยมอีก รูปด้วย
รูปภาพที่ 6 สามเหลี่ยมมุมฉาก
จากข้อเท็จจริงเหล่านี้ เราจะนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติ เริ่มต้นด้วยรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ซึ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมซึ่งมีมุมฉากหนึ่งมุม (90 องศา หรือ π/2เรเดียน)
ด้านที่ยาวที่สุดในรูปสามเหลี่ยมใดๆจะอยู่ตรงข้ามกับมุมที่ใหญ่ที่สุด
แต่เพราะว่าผลรวมของมุมภายในรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ 180 องศา หรือ π เรเดียน
ดังนั้นมุมที่ใหญ่ที่สุดในรูปสามเหลี่ยมนี้คือมุมฉาก
ด้านที่ยาวที่สุดในรูปสามเหลี่ยมจึงเป็นด้านที่ตรงข้ามกับมุมฉาก เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก
นารูปสามเหลี่ยมมุมฉากมาสองรูปที่มีมุม A ร่วมกัน รูปสามเหลี่ยมทั้งสองนี้จะคล้ายกัน
และอัตราส่วนของด้านตรงข้ามมุม A ต่อด้านตรงข้ามมุมฉาก จะเท่ากันทั้งสองรูป
มันจะเป็นจานวนระหว่าง 0ถึง 1ขึ้นอยู่กับขนาดของมุม A เท่านั้น เราเรียกว่า ไซน์ของ A
และเขียนด้วย sin (A) ในทานองเดียวกัน เรานิยาม โคไซน์ของ A คืออัตราส่วนระหว่าง
ด้านประชิดมุม A ต่อด้านตรงข้ามมุมฉาก
ฟังก์ชันเหล่านี้เป็นฟังก์ชันตรีโกณมิติที่สาคัญ
ฟังก์ชันอื่นๆสามารถนิยามโดยใช้อัตราส่วนของด้านต่างๆของรูปสามเหลี่ยม
แต่มันก็สามารถเขียนได้ในรูปของ ไซน์ และ โคไซน์ ฟังก์ชันเหล่านี้คือ แทนเจนต์, ซีแคนต์,
โคแทนเจนต์, และ โคซีแคนต์
10
วิธีจา ไซน์ โคไซน์ แทนเจนต์ อย่างง่ายๆคือจาว่า ข้ามฉาก ชิดฉาก ข้ามชิด (ไซน์-ด้านตรงข้าม-
ด้านตรงข้ามมุมฉาก โคไซน์-ด้านประชิด-ด้านตรงข้ามมุมฉาก แทนเจนต์-ด้านตรงข้าม-
ด้านประชิด)
ที่ผ่านมา ฟังก์ชันตรีโกณมิติถูกนิยามขึ้นสาหรับมุมระหว่าง 0ถึง 90 องศา (0ถึง π/2เรเดียน)
เท่านั้น หากใช้วงกลมหนึ่งหน่วยจะขยายได้เป็นจานวนบวกและจานวนลบทั้งหมด (ดูใน
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ)
ครั้งหนึ่ง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ถูกจัดลงในตาราง (หรือคานวณด้วยเครื่องคิดเลข)
ทาให้ตอบคาถามทั้งหมดเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมใดๆได้อย่างแท้จริง โดยใช้กฎไซน์ และ กฎโคไซน์
กฎเหล่านี้สามารถใช้ในการคานวณมุมที่เหลือและด้านของรูปสามเหลี่ยมได้
เมื่อรู้ความยาวด้านสองด้านและขนาดของมุมหนึ่งมุม
หรือรู้ขนาดของมุมสองมุมและความยาวของด้านหนึ่งด้าน หรือ รู้ความยาวของด้านทั้งสามด้าน
นักคณิตศาสตร์บางคนเชื่อว่าตรีโกณมิติแต่เดิมนั้น ถูกประดิษฐ์ชิ้นเพื่อใช้คานวณนาฬิกาแดด
ซึ่งมักเป็นโจทย์ในหนังสือเก่าๆ มันมีความสาคัญมากในเรื่องการสารวจ
3. ต้นหมาก
รูปภาพที่ 7ต้นหมาก
11
หมากสง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Areca catechu) หรือที่เรียกทั่วไปว่า "หมาก" (พืชที่เรียกว่า
"หมาก" นั้น มีด้วยกันหลายชนิด นักพฤกษศาสตร์จึงเรียกหมากที่ใช้กินกับใบพลูว่า "หมากสง")
เป็นพืชจาพวกปาล์ม เป็นชนิดหนึ่งในสกุลArecaceae
นับว่ามีความสาคัญมากทั้งในด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในหลายท้องถิ่น ในทวีปเอเชีย
รวมทั้งประเทศไทยด้วย ส่วนสาคัญของพืชชนิดนี้ คือ เมล็ด ซึ่งมีสารจาพวก อัลคาลอยด์ (alkaloid)
อันประกอบด้วย อาเรเคน (arecaine) และ อาเรโคลีน (arecoline)
นิยมนามาเคี้ยวกับหมากใบและใบพลู ซึ่งนับว่าเป็นสารเสพติดอย่างอ่อน
หมากพบได้ในหลายประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้
แถบมหาสมุทรแปซิฟิ กในส่วนที่เป็นเขตร้อน และบางส่วนของทวีปแอฟริกา

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมkroojaja
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนIct Krutao
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
หลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียน
หลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียนหลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียน
หลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียนDuangnapa Inyayot
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)mickytanawin
 
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์ssuser214242
 
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียงใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียงKruPor Sirirat Namthai
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาThongsawan Seeha
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว sawed kodnara
 
สัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกสัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกkunkrooyim
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5Tikaben Phutako
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่Sopa
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
หลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียน
หลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียนหลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียน
หลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียน
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
 
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
 
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียงใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
สัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกสัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวก
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
 

Similar to บทที่ 2

การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรYui Piyaporn
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ทับทิม เจริญตา
 
บทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศบทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศTanakorn Ngonmanee
 
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdfแผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdfPuttidaSuttiprapa
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดทับทิม เจริญตา
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
ตรีโกณ.
ตรีโกณ.ตรีโกณ.
ตรีโกณ.guestf22633
 
คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรJiraprapa Suwannajak
 

Similar to บทที่ 2 (19)

การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
 
แผนการสอน
แผนการสอนแผนการสอน
แผนการสอน
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
บทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศบทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศ
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdfแผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
ตรีโกณ.
ตรีโกณ.ตรีโกณ.
ตรีโกณ.
 
คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไร
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
3 1
3 13 1
3 1
 
กิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัดกิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัด
 
1 3
1 31 3
1 3
 

More from Tanakorn Ngonmanee

More from Tanakorn Ngonmanee (6)

ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
หน้าปกรวมสารบัญ
หน้าปกรวมสารบัญหน้าปกรวมสารบัญ
หน้าปกรวมสารบัญ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 2

  • 1. 3 บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาค้นคว้าโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง ต้นไม้กับตรีโกณมิติ ในครั้งนี้ มีเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. การหาความสูงของต้นไม้ 2. ตรีโกณมิติ 3. ต้นหมาก 1. การหาความสูงของต้นไม้ ใช้เครื่องวัดมุมเอียงหรืออุปกรณ์ส่องกล้องรังวัด รูปภาพที่ 1เครื่องมือวัดมุมเอียง 1. ใช้วิธีนี้เพื่อการวัดที่แม่นยามากขึ้น ยังมีวิธีอื่นแม่นยากว่านี้อีก แต่นี่จะไม่ต้องคานวณมากและใช้อุปกรณ์พิเศษที่อ่านค่าได้แม่นยา มันไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิดหรอก: สิ่งที่จาเป็นก็แค่เครื่องคิดเลขที่คิดค่า tan ได้ซักเครื่อง และไม้โปรแทคเตอร์พลาสติกถูกๆ หลอดดูด และเชือกซักเส้นเท่านั้นเอง ก็จะเอามาใช้ทาเครื่องวัดมุมเอียง (clinometer) ด้วยตัวเองได้แล้ว โดยเครื่องนี้จะวัดความชันของสิ่งของหรือใช้ในกรณีที่มีมุมอยู่ระหว่างคุณ กับยอดของต้นไม้ ส่วนอุปกรณ์ส่องกล้องรังวัด (transit) จะเป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่าที่ให้ผลอย่างเดียวกันแต่ต้องใช้กล้องส่องทาง ไกลหรือเลเซอร์ช่วยด้วยเพื่อความแม่นยามากขึ้น
  • 2. 4 รูปภาพที่ 2 วัดระยะทางตามระยะสายตา 2. วัดระยะทางไปตามระยะสายตา ยืนแล้วถอยหลังไปยังต้นไม้และเดินผ่านจุดที่อยู่แถวพื้นของฐานต้นไม้และจะทา ให้มองเห็นยอดต้นไม้ได้ชัดเจน เดินตรงและใช้ตลับเมตรเพื่อวัดระยะทางของคุณจากต้นไม้ ซึ่งไม่จาเป็นต้องยืนไกลจากต้นไม้ตามระยะทางที่กาหนดก็ได้ แต่ถ้าจะให้ได้ผลดีที่สุดต้องยืนห่างออกมาประมาณ 1-1.5 เท่าของความสูงต้นไม้ รูปภาพที่ 3 วัดระยะทางตามระยะสายตา 3. วัดมุมเงยไปหายอดต้นไม้ มองไปที่ยอดต้นไม้และใช้เครื่องวัดมุมเอียงหรืออุปกรณ์ส่องกล้องรังวัดเพื่อ จะวัด “มุมเงย” ระหว่างต้นไม้กับพื้น ซึ่งมุมเงยก็คือมุมที่เกิดจากสองเส้นคือ พื้นราบและระดับสายตาที่มองไปยังจุดที่ยกสูงขึ้น (ในกรณีนี้คือยอดของต้นไม้) กับคุณด้วยมุมยอด
  • 3. 5 รูปภาพที่ 4 วัดระยะทางตามระยะสายตา 4. คูณระยะห่างจากต้นไม้ด้วยค่า tan จาตอนที่วัดระยะห่างจากต้นไม้ในขั้นตอนแรกได้ไหม ให้เอามันมาคูณด้วยค่า tan โดยใช้เครื่องคิดเลข แล้วผลลัพธ์ที่ได้จะบอกความสูงของต้นไม้ที่อยู่เหนือระดับสายตา ซึ่งมาจากระดับที่ใช้คานวณค่า tan ถ้าอ่านขั้นตอนย่อยๆ ก่อนหน้านี้เรื่องความหมายของค่า tan มาแล้วจะเข้าใจว่าทาไมวิธีนี้ถึงดี และอย่างที่ได้อธิบายไปแล้ว ค่าแทนก็คือ (ความสูงของต้นไม้) หารด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้) แล้วคูณแต่ละข้างของสมการด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้) และจะได้เป็น (ค่า tan) x (ระยะห่างจากต้นไม้) = (ความสูงของต้นไม้) นั่นเอง รูปภาพที่ 5 วัดความสูงของตัวเอง 5. เพิ่มความสูงของตัวเองเข้าไปในขั้นตอนก่อนหน้านี้ แล้วตอนนี้ก็จะได้ความสูงของต้นไม้แล้ว เพราะเราใช้เครื่องวัดมุมลาดหรือทรานซิสในระดับสายตาไม่ใช่ในระดับพื้นดิน
  • 4. 6 จึงต้องเพิ่มความสูงเข้าไปในการวัดเพื่อจะได้ความสูงทั้งหมดของต้นไม้ แล้วจะได้ความแม่นยาที่มากขึ้นจากการวัดความสูงจากระดับสายตาไม่ใช่บนสุดของ หัว ตัวอย่างที่1 ต้นไม้ใหญ่ต้นหนึ่งในป่า จุด A เป็นจุดที่ คุณฉวียืนอยู่ ห่างจากโคนต้นไม้คือจุด B เป็นระยะทางยาว 7 เมตร คุณฉวีจะมองผ่านกล้องส่องทางไกลเห็นยอดต้นไม้คือที่จุด C พอดี แนวสายตาที่คุณฉวีมองเห็นยอดต้นไม้คือจุด C ทามุม 75 กับแนวระดับ จงให้อัตราส่วนตรีโกณมิติหาความสูงของต้นไม้ใหญ่ต้นนี้ แนวคิดในการแก้โจทย์ 1. ศึกษาโจทย์ให้เข้าใจ 2. เขียนรายละเอียดต่าง ๆ ตามที่โจทย์กาหนด 3. สร้างรูปขึ้นมาตามที่โจทย์กาหนดเพื่อง่ายต่อการคานวณ 4. พิจารณาจะใช้อัตราส่วนตรีโกณมิติใดจึงจะได้ค่าตามที่โจทย์ต้องการ 5. สร้างสมการโดยอาศัยอัตราส่วนตรีโกณมิตินั้น นั่นคือ อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมที่โจทย์กาหนด = ด้านตรงกันข้าม A/ด้านประชิดมุม A กาหนดขึ้นมาแล้ววาดรูปตามข้อ 3 จะได้ดังรูป รายละเอียดที่โจทย์กาหนดให้คือ 1. จุด A ห่างจากจุด B ระยะทาง 7 เมตร 2. จุด A ทามุม 75 กับจุด B สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบคือความยาวของ BC ขั้นตอนต่อไปคือเรามาพิจารณาว่าเราจะใช้อัตราส่วนตรีโกณมิติใดหาจึงจะได้ความยาวของ BC 1. ถ้าใช้ sine A = ด้านตรงข้ามมุม A/ด้านตรงกันข้ามมุมฉาก เมื่อพิจารณาแล้วเราไม่ทราบความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากคือ AC 2. ถ้าใช้ cos A = ด้านประชิดมุม A/ด้านตรงกันข้ามมุมฉาก เมื่อพิจารณาแล้วเราไม่ทราบความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากคือ AC ด้านที่จะหาไม่มีใน อัตราส่วน
  • 5. 7 3. ถ้าใช้ tan A= ด้านตรงข้ามมุม A/ด้านประชิดมุม A จะเห็นว่าอัตราส่วนนี้เราสามารถที่จะหาค่าความยาวตามที่โจทย์ต้องการได้ จากแนวคิดข้อ 5 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมที่โจทย์กาหนด = ด้านตรงกันข้าม A/ด้านประชิดมุม Aจะได้ 1. อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมที่โจทย์กาหนดคือ 75 2. ด้านที่ทราบความยาวแล้วคือ AB ยาว = 7 เมตร 3. ด้านที่จะหาคือความสูงของต้นไม้นั่นคือ BC แทนค่าจะได้:- tan75 = -> ( tan 75 ) 7 = BC (ค่าของ tan 75 องศาหาได้โดยการเปิดดูตารางที่นี่) -> 3.732 7 = BC หรือ -> BC = 3.732 7 = 26.124 ตอบ ต้นไม้สูง 26.124 เมตร 2. ตรีโกณมิติ ตรีโกณมิติ (จากภาษากรีก trigonon มุม 3มุม และ metro การวัด) เป็นสาขาของคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับมุม, รูปสามเหลี่ยม และฟังก์ชันตรีโกณมิติ เช่นไซน์ และ โคไซน์ มีความเกี่ยวข้องกับเรขาคณิต แม้ว่าจะสรุปไม่ได้อย่างแน่ชัดว่า ตรีโกณมิติเป็นหัวข้อย่อยของเรขาคณิต ประวัติของตรีโกณมิติ นักคณิตศาสตร์มุสลิมในยุคกลาง (หรือยุคมืด ตามคาเรียกของชาวยุโรป) มีส่วนเป็นอย่างมากในการพัฒนาและอุทิศผลงานในคณิตศาสตร์สาขาตรีโกณมิติ โดยพวกเขาได้รับแนวคิดพื้นฐานมาจาก ตาราคณิตศาสตร์อินเดียที่ชื่อ Surya Siddhanta (สูรยสิทธานตะ) ตาราอัลมาเกส (เป็นภาษาอาหรับแปลว่ายิ่งใหญ่ที่สุด แสดงให้เห็นว่านักคณิตศาสตร์อาหรับยกย่องหนังสือเล่มนี้มาก)
  • 6. 8 ของทอเลมีนักคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียงชาวกรีก และตาราสเฟียริก ของเมเนลาอุสนักคณิตศาสตร์ชาวกรีกเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่านักคณิตศาสตร์กรีกและอินเดียจะมีบทบาทในการพัฒนาตรีโกณมิติ แต่ทว่านักประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์หลายท่าน ได้ให้เกียรตินักคณิตศาสตร์อาหรับว่า เป็นผู้พัฒนาความรู้ในสาขานี้อย่างแท้จริง ตรีโกณมิติในปัจจุบัน ปัจจุบัน มีการนาตรีโกณมิติไปใช้ในงานสาขาต่าง ๆเช่น เป็นเทคนิคในการสร้างรูปสามเหลี่ยม ซึ่งใช้ในวิชาดาราศาสตร์เพื่อวัดระยะทางของดาวที่อยู่ใกล้ ในภูมิศาสตร์ใช้วัดระยะทางระหว่างหลักเขตที่ดิน และใช้ในดาวเทียมนาทาง งานที่มีการใช้ประโยชน์จากตรีโกณมิติ ได้แก่ดาราศาสตร์ (และการนาทางในมหาสมุทร บนเครื่องบิน และในอวกาศ) ,ทฤษฎีดนตรี, สวนศาสตร์, ทัศนศาสตร์, การวิเคราะห์ตลาดการเงิน, อิเล็กทรอนิกส์, ทฤษฎีความน่าจะเป็น, สถิติศาสตร์, ชีววิทยา, การสร้างภาพทางการแพทย์ (การกราดภาพตัดขวางใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (CAT scans) และ คลื่นเสียงความถี่สูง) , เภสัชศาสตร์, เคมี, ทฤษฎีจานวน (รวมถึง วิทยาการเข้ารหัสลับ) , วิทยาแผ่นดินไหว, อุตุนิยมวิทยา, สมุทรศาสตร์, วิทยาศาสตร์กายภาพสาขาต่างๆ, การสารวจพื้นดิน และภูมิมาตรศาสตร์, สถาปัตยกรรม, สัทศาสตร์, เศรษฐศาสตร์, วิศวกรรมไฟฟ้า, วิศวกรรมเครื่องกล, วิศวกรรมโยธา, เรขภาพคอมพิวเตอร์, การทาแผนที่, ผลิกศาสตร์ เกี่ยวกับตรีโกณมิติ รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะเรียกว่าคล้ายกัน ถ้ารูปหนึ่งสามารถขยายได้เป็นอีกรูปหนึ่ง และจะเป็นกรณีนี้ก็ต่อเมื่อมุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน ตัวอย่างเช่น รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีมุมร่วมกันมุมหนึ่ง และด้านที่ตรงข้ามกับมุมนั้นขนานกัน เป็นข้อเท็จจริงว่ารูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ด้านแต่ละด้านจะเป็นสัดส่วนกัน นั่นคือ ถ้าด้านที่ยาวที่สุดของรูปสามเหลี่ยมหนึ่ง
  • 7. 9 ยาวเป็นสองเท่าของด้านที่ยาวที่สุดของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน จะกล่าวได้ว่า ด้านที่สั้นที่สุดจะยาวเป็นสองเท่าของด้านที่สั้นที่สุดของอีกรูปสามเหลี่ยม และด้านที่ยาวปานกลางก็จะเป็นสองเท่าของอีกรูปสามเหลี่ยมเช่นกัน อัตราส่วนระหว่างด้านที่ยาวที่สุดและด้านที่สั้นที่สุดของรูปสามเหลี่ยมแรก จะเท่ากับ อัตราส่วนระหว่างด้านที่ยาวที่สุดและด้านที่สั้นที่สุดของรูปสามเหลี่ยมอีก รูปด้วย รูปภาพที่ 6 สามเหลี่ยมมุมฉาก จากข้อเท็จจริงเหล่านี้ เราจะนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติ เริ่มต้นด้วยรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมซึ่งมีมุมฉากหนึ่งมุม (90 องศา หรือ π/2เรเดียน) ด้านที่ยาวที่สุดในรูปสามเหลี่ยมใดๆจะอยู่ตรงข้ามกับมุมที่ใหญ่ที่สุด แต่เพราะว่าผลรวมของมุมภายในรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ 180 องศา หรือ π เรเดียน ดังนั้นมุมที่ใหญ่ที่สุดในรูปสามเหลี่ยมนี้คือมุมฉาก ด้านที่ยาวที่สุดในรูปสามเหลี่ยมจึงเป็นด้านที่ตรงข้ามกับมุมฉาก เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก นารูปสามเหลี่ยมมุมฉากมาสองรูปที่มีมุม A ร่วมกัน รูปสามเหลี่ยมทั้งสองนี้จะคล้ายกัน และอัตราส่วนของด้านตรงข้ามมุม A ต่อด้านตรงข้ามมุมฉาก จะเท่ากันทั้งสองรูป มันจะเป็นจานวนระหว่าง 0ถึง 1ขึ้นอยู่กับขนาดของมุม A เท่านั้น เราเรียกว่า ไซน์ของ A และเขียนด้วย sin (A) ในทานองเดียวกัน เรานิยาม โคไซน์ของ A คืออัตราส่วนระหว่าง ด้านประชิดมุม A ต่อด้านตรงข้ามมุมฉาก ฟังก์ชันเหล่านี้เป็นฟังก์ชันตรีโกณมิติที่สาคัญ ฟังก์ชันอื่นๆสามารถนิยามโดยใช้อัตราส่วนของด้านต่างๆของรูปสามเหลี่ยม แต่มันก็สามารถเขียนได้ในรูปของ ไซน์ และ โคไซน์ ฟังก์ชันเหล่านี้คือ แทนเจนต์, ซีแคนต์, โคแทนเจนต์, และ โคซีแคนต์
  • 8. 10 วิธีจา ไซน์ โคไซน์ แทนเจนต์ อย่างง่ายๆคือจาว่า ข้ามฉาก ชิดฉาก ข้ามชิด (ไซน์-ด้านตรงข้าม- ด้านตรงข้ามมุมฉาก โคไซน์-ด้านประชิด-ด้านตรงข้ามมุมฉาก แทนเจนต์-ด้านตรงข้าม- ด้านประชิด) ที่ผ่านมา ฟังก์ชันตรีโกณมิติถูกนิยามขึ้นสาหรับมุมระหว่าง 0ถึง 90 องศา (0ถึง π/2เรเดียน) เท่านั้น หากใช้วงกลมหนึ่งหน่วยจะขยายได้เป็นจานวนบวกและจานวนลบทั้งหมด (ดูใน ฟังก์ชันตรีโกณมิติ) ครั้งหนึ่ง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ถูกจัดลงในตาราง (หรือคานวณด้วยเครื่องคิดเลข) ทาให้ตอบคาถามทั้งหมดเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมใดๆได้อย่างแท้จริง โดยใช้กฎไซน์ และ กฎโคไซน์ กฎเหล่านี้สามารถใช้ในการคานวณมุมที่เหลือและด้านของรูปสามเหลี่ยมได้ เมื่อรู้ความยาวด้านสองด้านและขนาดของมุมหนึ่งมุม หรือรู้ขนาดของมุมสองมุมและความยาวของด้านหนึ่งด้าน หรือ รู้ความยาวของด้านทั้งสามด้าน นักคณิตศาสตร์บางคนเชื่อว่าตรีโกณมิติแต่เดิมนั้น ถูกประดิษฐ์ชิ้นเพื่อใช้คานวณนาฬิกาแดด ซึ่งมักเป็นโจทย์ในหนังสือเก่าๆ มันมีความสาคัญมากในเรื่องการสารวจ 3. ต้นหมาก รูปภาพที่ 7ต้นหมาก
  • 9. 11 หมากสง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Areca catechu) หรือที่เรียกทั่วไปว่า "หมาก" (พืชที่เรียกว่า "หมาก" นั้น มีด้วยกันหลายชนิด นักพฤกษศาสตร์จึงเรียกหมากที่ใช้กินกับใบพลูว่า "หมากสง") เป็นพืชจาพวกปาล์ม เป็นชนิดหนึ่งในสกุลArecaceae นับว่ามีความสาคัญมากทั้งในด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในหลายท้องถิ่น ในทวีปเอเชีย รวมทั้งประเทศไทยด้วย ส่วนสาคัญของพืชชนิดนี้ คือ เมล็ด ซึ่งมีสารจาพวก อัลคาลอยด์ (alkaloid) อันประกอบด้วย อาเรเคน (arecaine) และ อาเรโคลีน (arecoline) นิยมนามาเคี้ยวกับหมากใบและใบพลู ซึ่งนับว่าเป็นสารเสพติดอย่างอ่อน หมากพบได้ในหลายประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ แถบมหาสมุทรแปซิฟิ กในส่วนที่เป็นเขตร้อน และบางส่วนของทวีปแอฟริกา