SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
18
บทที่5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผล
จากการดาเนินงานพบว่า Blog
ทางคณิตศาสตร์แห่งการเรียนรู้นั้นจะประกอบไปด้วยหน้าทั้งหมด 5หน้า
1. ตรีโกณมิติ ก็จะอยู่สามตัวแปรหลัก คือ ค่าของ sin คือ
อัตราส่วนระหว่างด้านตรงข้ามมุม กับด้านตรงข้ามมุมฉาก ค่าของ cosin คือ
อัตราส่วนระหว่างด้านประชิดมุม กับด้านตรงข้ามมุมฉาก ค่าของ tan คือ
อัตราส่วนระหว่างด้านตรงข้ามมุม กับด้านประชิดมุม
2. ความสูงของต้นไม้ tan(θ) เท่ากับ (ความสูงของต้นไม้) ลบด้วยความสูงของคนที่วัด
หารด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้) แล้วคูณแต่ละข้างของสมการด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้)
และจะได้เป็น (ค่า tan) x (ระยะห่างจากต้นไม้) = (ความสูงของต้นไม้) ลบด้วยความสูงของคนที่วัด
หารด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้) ก็จะได้เป็นสมการ คือ tan(θ) =H - X/S
tan(θ) คือ วัดมุมเงยไปหายอดต้นไม้
H คือ ความสูงของต้นไม้
X คือ ความสูงของคนที่วัดมุมเอียง
S คือ ระยะที่เรายืนห่างจากต้นไม้
วิธีนี้ใช้ในกรณีที่วัดระดับสายตา ถ้าวัดระดับพื้นดินไม่ต้องเพิ่มความสูงของตนเองนั้นคือให้เอาค่า
X ออกนั้นเอง
อภิปรายผล
จากการหาความสูงของต้นหมาก สามารถหาได้โดยเครื่องวัดมุมเอียง
เครื่องมือวัดมุมเอียงเราก็จาทาขึ้นโดยไม้โปรแทคเตอร์พลาสติก หลอดดูด และเชือกซักเส้น
พอได้อุปกรณ์แล้ว เราวัดระยะทางไปตามระยะสายตา ความสูงของคนที่วัด 175เซนติดมตร
เดินตรงและใช้ตลับเมตรเพื่อวัดระยะทางของเราจากต้นไม้ได้ 230 เซนติเมตร
จากนั้นวัดมุมเงยไปหายอดต้นหมาก
มองไปที่ยอดต้นหมากและใช้เครื่องวัดมุมเอียงหรืออุปกรณ์ส่องกล้องรังวัดเพื่อ จะวัด “มุมเงย”
19
ระหว่างต้นหมากกับพื้น ได้มุม 48 องศา ซึ่งคือค่า Tan คูณระยะห่างจากต้นหมากด้วยค่า tan
จากสูตร tan(θ) = H-X/S แทนค่า tan48 องศา = H-X/230เพราะฉะนั้น h = (tan48 x230) +175
จะได้ความสูงของต้นหมากต้นนี้เท่ากับ 430เซนติเมตร (tan48องศา = 1.11)
สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และในการประกอบอาชีพต่างๆได้มากมาย
เอาไปใช้ในการสารวจป่าไม้ ใช้ในการวัดความสูงของตึกเล็กๆ เป็นต้น
ข้อเสนอแนะ
1. ควรศึกษาเกี่ยวกับตรีโกณมิติให้มากกว่านี้
2. ควรศึกษาการใช้ประโยชน์ตรีโกณมิติให้ละเอียดมากกว่านี้
3. ควรศึกษาการวิธีการวัดต้นไม้ที่เกี่ยวกับตรีโกณมิติให้มากยิ่งขึ้น

More Related Content

What's hot

สูตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
WaterSweet Sangphet
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Jiraprapa Suwannajak
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
Pao Pro
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
sawed kodnara
 
การหาพื้นที่
การหาพื้นที่การหาพื้นที่
การหาพื้นที่
Kanchana Phuangmali
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
sawed kodnara
 

What's hot (19)

44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
เรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติเรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติ
 
สูตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึมตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตรรวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
 
โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)
โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)
โจทย์ท้าทายความสามารถอัตราส่วนตรีโกณมิติ(ข้อสอบสมาคมฯ)
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
 
การหาพื้นที่
การหาพื้นที่การหาพื้นที่
การหาพื้นที่
 
ปริมาตรของทรงตัน
ปริมาตรของทรงตันปริมาตรของทรงตัน
ปริมาตรของทรงตัน
 
สูตรรูปเรขาคณิตสองมิติ
สูตรรูปเรขาคณิตสองมิติสูตรรูปเรขาคณิตสองมิติ
สูตรรูปเรขาคณิตสองมิติ
 
เรขาคณิต (Geometry)
เรขาคณิต (Geometry) เรขาคณิต (Geometry)
เรขาคณิต (Geometry)
 
สรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูป
สรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูปสรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูป
สรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูป
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
 

Viewers also liked

Procesos De Formacion
Procesos De FormacionProcesos De Formacion
Procesos De Formacion
regolitos
 
Energías renovables en la informatica
Energías renovables en la informaticaEnergías renovables en la informatica
Energías renovables en la informatica
Ruben Cruz
 

Viewers also liked (14)

What is zika virus
What is zika virusWhat is zika virus
What is zika virus
 
anup _CV (1)
anup _CV (1)anup _CV (1)
anup _CV (1)
 
Diary of success
Diary of successDiary of success
Diary of success
 
Coldplay juan manuel ponce díaz 234
Coldplay juan manuel ponce díaz 234Coldplay juan manuel ponce díaz 234
Coldplay juan manuel ponce díaz 234
 
Inss 2015
Inss 2015Inss 2015
Inss 2015
 
disposicion de escreta letrinas
disposicion de escreta letrinasdisposicion de escreta letrinas
disposicion de escreta letrinas
 
Tipos Distribuciones de probabilidad
Tipos Distribuciones de probabilidadTipos Distribuciones de probabilidad
Tipos Distribuciones de probabilidad
 
La butaca que soñaba con un tapizado nuevo.
La butaca que soñaba con un tapizado nuevo.La butaca que soñaba con un tapizado nuevo.
La butaca que soñaba con un tapizado nuevo.
 
Procesos De Formacion
Procesos De FormacionProcesos De Formacion
Procesos De Formacion
 
Warhol Inspired Relief Printing Project
Warhol Inspired Relief Printing ProjectWarhol Inspired Relief Printing Project
Warhol Inspired Relief Printing Project
 
X Targi eHandlu - SMSAPI - Andrzej Ogonowski
X Targi eHandlu - SMSAPI - Andrzej OgonowskiX Targi eHandlu - SMSAPI - Andrzej Ogonowski
X Targi eHandlu - SMSAPI - Andrzej Ogonowski
 
Gregg braden libro el efecto isaías
Gregg braden   libro el efecto isaíasGregg braden   libro el efecto isaías
Gregg braden libro el efecto isaías
 
Anne bradstreet and To My Dear and Loving Husband
Anne bradstreet and To My Dear and Loving HusbandAnne bradstreet and To My Dear and Loving Husband
Anne bradstreet and To My Dear and Loving Husband
 
Energías renovables en la informatica
Energías renovables en la informaticaEnergías renovables en la informatica
Energías renovables en la informatica
 

บทที่ 5

  • 1. 18 บทที่5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผล จากการดาเนินงานพบว่า Blog ทางคณิตศาสตร์แห่งการเรียนรู้นั้นจะประกอบไปด้วยหน้าทั้งหมด 5หน้า 1. ตรีโกณมิติ ก็จะอยู่สามตัวแปรหลัก คือ ค่าของ sin คือ อัตราส่วนระหว่างด้านตรงข้ามมุม กับด้านตรงข้ามมุมฉาก ค่าของ cosin คือ อัตราส่วนระหว่างด้านประชิดมุม กับด้านตรงข้ามมุมฉาก ค่าของ tan คือ อัตราส่วนระหว่างด้านตรงข้ามมุม กับด้านประชิดมุม 2. ความสูงของต้นไม้ tan(θ) เท่ากับ (ความสูงของต้นไม้) ลบด้วยความสูงของคนที่วัด หารด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้) แล้วคูณแต่ละข้างของสมการด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้) และจะได้เป็น (ค่า tan) x (ระยะห่างจากต้นไม้) = (ความสูงของต้นไม้) ลบด้วยความสูงของคนที่วัด หารด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้) ก็จะได้เป็นสมการ คือ tan(θ) =H - X/S tan(θ) คือ วัดมุมเงยไปหายอดต้นไม้ H คือ ความสูงของต้นไม้ X คือ ความสูงของคนที่วัดมุมเอียง S คือ ระยะที่เรายืนห่างจากต้นไม้ วิธีนี้ใช้ในกรณีที่วัดระดับสายตา ถ้าวัดระดับพื้นดินไม่ต้องเพิ่มความสูงของตนเองนั้นคือให้เอาค่า X ออกนั้นเอง อภิปรายผล จากการหาความสูงของต้นหมาก สามารถหาได้โดยเครื่องวัดมุมเอียง เครื่องมือวัดมุมเอียงเราก็จาทาขึ้นโดยไม้โปรแทคเตอร์พลาสติก หลอดดูด และเชือกซักเส้น พอได้อุปกรณ์แล้ว เราวัดระยะทางไปตามระยะสายตา ความสูงของคนที่วัด 175เซนติดมตร เดินตรงและใช้ตลับเมตรเพื่อวัดระยะทางของเราจากต้นไม้ได้ 230 เซนติเมตร จากนั้นวัดมุมเงยไปหายอดต้นหมาก มองไปที่ยอดต้นหมากและใช้เครื่องวัดมุมเอียงหรืออุปกรณ์ส่องกล้องรังวัดเพื่อ จะวัด “มุมเงย”
  • 2. 19 ระหว่างต้นหมากกับพื้น ได้มุม 48 องศา ซึ่งคือค่า Tan คูณระยะห่างจากต้นหมากด้วยค่า tan จากสูตร tan(θ) = H-X/S แทนค่า tan48 องศา = H-X/230เพราะฉะนั้น h = (tan48 x230) +175 จะได้ความสูงของต้นหมากต้นนี้เท่ากับ 430เซนติเมตร (tan48องศา = 1.11) สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และในการประกอบอาชีพต่างๆได้มากมาย เอาไปใช้ในการสารวจป่าไม้ ใช้ในการวัดความสูงของตึกเล็กๆ เป็นต้น ข้อเสนอแนะ 1. ควรศึกษาเกี่ยวกับตรีโกณมิติให้มากกว่านี้ 2. ควรศึกษาการใช้ประโยชน์ตรีโกณมิติให้ละเอียดมากกว่านี้ 3. ควรศึกษาการวิธีการวัดต้นไม้ที่เกี่ยวกับตรีโกณมิติให้มากยิ่งขึ้น