SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
49



                                          1 สารรอบตัว
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
       1. สํารวจ ทดลอง วิเคราะห และอธิบายสมบัติทางกายภาพของสาร
       2. จําแนกสารเปนกลุมตามลักษณะของเนื้อสารและขนาดของอนุภาค
       3. สํารวจ ทดลอง และอธิบายความแตกตางระหวางสมบัติ ลักษณะเนื้อสารของสารเนื้อ
           เดียว สารเนื้อผสม ขนาดอนุภาคของสารแขวนลอย คอลลอยด สารละลาย
       4. สํารวจและอธิบายองคประกอบของสารละลาย ความเขมขนของสารละลาย
       5. เตรียมสารละลายที่มีความเขมขนตามหนวยที่กําหนด
       6. ยกตั ว อย า งการใช ป ระโยชน จ ากสารละลายและนํ าความรู เ รื่ องสารละลายไปใช
           ประโยชนในชีวิตประจําวัน
       7. อธิบายความหมายของคําตอไปนี้ได สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม สารแขวนลอย
           คอลลอยด สารละลาย ตัวทําละลาย ตัวละลาย ความเขมขนของสารละลาย

แนวความคิดหลัก
             สารตาง ๆ รอบตัวมีสมบัติทั้งที่คลายกันและแตกตางกัน สมบัติของสารสามารถใชเปน
เกณฑในการจัดกลุม ลักษณะเนื้อสารและขนาดของอนุภาคสารก็เปนเกณฑหนึ่งที่ใชในการจัดกลุม
สาร ถาใชเนื้อสารเปนเกณฑในการจัดกลุมจะจัดไดเปนสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม ถาใชขนาด
ของอนุภาคสารเปนเกณฑ จะจัดไดเปนสารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลาย สารแตละกลุมมี
สมบัติและองคประกอบตางกัน สารแขวนลอยประกอบดวยอนุภาคที่มีขนาดใหญมองเห็นไดดวย
ตาเปลา เมื่อตั้งไวอนุภาคที่เปนของแข็งจะตกตะกอน คอลลอยดประกอบดวยอนุภาคที่มีขนาดใกล
เคียงกับความยาวคลื่นแสง เมื่อฉายแสงผานจะทําใหเกิดการกระเจิงแสง สารละลายเปนของผสม
เนื้ อ เดี ย วที่ ป ระกอบด ว ยตั ว ทํ าละลายและตั ว ละลายซึ่ ง มี อ นุ ภ าคขนาดเล็ ก กว า อนุ ภ าคในสาร
แขวนลอยและคอลลอยด การละลายของสารขึ้นอยูกับชนิดของตัวทําละลาย สารละลายที่มีตัวทํา
ละลายเทากัน ถามีปริมาณตัวละลายตางกันจะมีความเขมขนตางกัน สามารถเตรียมสารละลายที่
ความเขมขนในหนวยที่กําหนดได เชน รอยละโดยมวลตอมวล รอยละโดยมวลตอปริมาตร รอยละ
โดยปริมาตรตอปริมาตร

         บทนี้ควรใชเวลาประมาณ 14 ชั่วโมง

1.1 การจําแนกสารรอบตัว
       หัวขอนีมจุดมุงหมายใหสํารวจสมบัติทางกายภาพของสาร เชน ลักษณะเนื้อสาร ขนาดของ
               ้ ี
อนุภาคสาร เพื่อใชเปนเกณฑในการจัดกลุมสาร แลววางแผน ออกแบบ หรือสรางแบบจําลอง
แสดงการทํานํ้าใหสะอาดโดยใชความรูเรื่องลักษณะเนื้อสารและขนาดของอนุภาคสาร
50



ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
       1. สํารวจ สังเกต สมบัติทางกายภาพของสารเพื่อใชเปนเกณฑในการจัดกลุมสาร และ
           อธิบายลักษณะของสารแตละกลุม
       2. จัดกลุมสารไดเปนสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสมโดยใชลักษณะเนื้อสารเปนเกณฑ
                   
       3. จัดกลุมสารไดเปนสารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลายโดยใชขนาดของอนุภาค
           สารเปนเกณฑ
       4. อธิบายสมบัติและยกตัวอยางสารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลายที่พบในชีวิต
           ประจําวัน
       5. อธิบายการแยกสิ่งเจือปนออกจากนํ้าโดยการเติมสารบางอยางใหส่ิงเจือปนตกตะกอน
           และการกรอง
       6. ออกแบบและสรางเครื่องกรองนํ้ าที่มีการเติมสารใหสิ่งเจือปนตกตะกอนและ/หรือ
           กรองสิ่งเจือปน
       7. รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการทํานํ้าใหสะอาด นําเสนอขอมูลในรูปแบบตาง ๆ รวมทั้ง
           แบบจําลองแสดงวิธการทํานํ้าใหสะอาดที่ใชในทองถิ่น
                             ี
       ผูเ รียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการจัดหมวดหมูสินคาที่ขายในตลาดสด ในรานชําใกลบาน
ในโรงอาหารของโรงเรียน การจัดวางสิ่งของในบาน หรือการจัดหนังสือเปนหมวดหมูในหองสมุด
ของโรงเรียน โดยรวมกันอภิปรายวาการจัดหมวดหมูสิ่งของในแตละแหงนั้น จัดอยางไร ใชอะไร
เปนเกณฑ เพื่อนําเขาสูกิจกรรม 1.1

กิจกรรม 1.1 การจัดกลุมสารรอบตัว
        กิจกรรมนี้มีจุดมุงหมายเพื่อสํารวจ สังเกต สมบัติทางกายภาพของสาร และใชสมบัติของ
สารเปนเกณฑในการจัดกลุมสาร

จุดประสงคของกิจกรรม
       1. สังเกต เปรียบเทียบสมบัติ ลักษณะที่ปรากฏของสารรอบตัว และอธิบายลักษณะของ
           สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม
       2. จัดกลุมสารเปนสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม โดยใชลักษณะเนื้อสารเปนเกณฑ
                
       3. ยกตัวอยางสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสมในชีวิตประจําวัน

เวลาที่ใช
         อภิปรายกอนกิจกรรม     10     นาที
         ทํากิจกรรม             20     นาที
         อภิปรายหลังกิจกรรม     30     นาที
51



        รวม                         60      นาที

วัสดุอุปกรณและสารเคมี

                              รายการ                         ปริมาณตอ 10 กลุม
          1. ขาวสุก แกงจืด ดิน นมสด กระดาษ นํ้าตาล ชนิดละ 10 g หรือ 10 cm3
             ทราย นํ้าอัดลม นํ้าโคลน นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม
             นําแปงสุก นํ้ากลั่น และสารอื่น ๆ ที่ผูเรียนสน
               ้
             ใจนํามาทํากิจกรรม

แนวการจัดกิจกรรม
      ผูเ รียนชวยกันจัดหาสารตัวอยางตามความสนใจของแตละกลุม โดยครูควรจะจัดหาไวดวย 1
ชุด ตามกิจกรรม 1.1 สังเกตลักษณะของสารแตละชนิดโดยละเอียด ไดแก ลักษณะเนื้อสาร สถานะ
สี กลิน แลวพิจารณาความเหมือน ความแตกตางของสารแตละชนิด เพื่อจัดสารเปนกลุมโดยใช
      ่
สมบัตตาง ๆ เปนเกณฑในการจัดกลุม จากนั้นนําเสนอผลการจัดกลุมสารและเกณฑที่แตละกลุมใช
      ิ
ในการจัดกลุมสาร รวมกันพิจารณาเปรียบเทียบการจัดกลุมสารที่ใชเกณฑตาง ๆ กัน

อภิปรายหลังการทํากิจกรรม
             ผูเ รียนแตละกลุมอาจใชสถานะ สี กลิ่น ลักษณะเนื้อสาร เปนเกณฑในการจัดกลุมสาร
             ผลการจัดสารของแตละกลุมแตกตางกัน เชน
             • ใชสถานะ            - สารที่เปนของแข็ง ไดแก ขาวสุก ดิน กระดาษ นํ้าตาลทราย
                                   - สารที่เปนของเหลว ไดแก แกงจืด นมสด นํ้าอัดลม นํ้าโคลน
                                      นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นํ้าแปงสุก นํ้ากลั่น
             • ใชลกษณะเนื้อสาร - สารที่มลักษณะเปนเนื้อเดียวตลอด ไดแก ขาวสุก นมสด
                        ั                           ี
                                            กระดาษ นํ้าตาลทราย นํ้าอัดลม นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นํ้าแปง
                                            สุก นํ้ากลั่น
                                         - สารที่ไมเปนเนื้อเดียวตลอด ไดแก แกงจืด ดิน นํ้าโคลน
             • อื่น ๆ
             ถาจัดกลุมโดยใชลักษณะของเนื้อสารเปนเกณฑ อาจจัดไดเปนสารที่มีลักษณะเปนเนื้อ
             เดียวกับสารที่ไมเปนเนื้อเดียว
        จากผลการทํากิจกรรม การตอบคําถาม และการอภิปราย ควรสรุปไดวาถาใชเกณฑตางกันจะ
                                                                                 
จัดกลุมสารรอบตัวไดตาง ๆ กัน ถาใชลักษณะเนื้อสารเปนเกณฑจะจัดสารไดเปน 2 กลุม คือสารที่มี
      
เนือเดียวตลอด อาจประกอบดวยสารเพียงชนิดเดียวหรือมากกวา 1 ชนิดก็ได และสารที่ไมเปนเนื้อ
   ้
เดียวตลอด ประกอบดวยสารมากกวา 1 ชนิด สามารถแยกไดดวยตาเปลา
52



      เราอาจนําความรูเกี่ยวกับการจัดกลุมสารรอบตัวไปใชประโยชน เชน การจัดสิ่งของเครื่องใช
เครืองแตงกาย หรือหนังสือตาง ๆ ใหเปนระเบียบเรียบรอยตามลักษณะการใชงาน ทําใหหยิบใชได
    ่
สะดวก ถูกตอง และไมเกิดการสูญหาย
      ใหผูเรียนอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับสารที่มีลักษณะเปนสารเนื้อเดียว แตยังไมสามารถสรุปได
วาสารนั้นมีองคประกอบเพียงชนิดเดียว ตามรายละเอียดในบทเรียน เพื่อนําเขาสูเรื่องการจัดกลุม
สาร

1.1.1 การจัดกลุมสารตามลักษณะเนื้อสารและขนาดของอนุภาค
          ผูเ รียนอภิปรายเกี่ยวกับการแยกของที่ผสมกันโดยการคัดขนาดของสาร เชน การรอนผาน
ตะแกรง และยกตัวอยางของเหลวที่พบในชีวิตประจําวัน เชน นํ้าโคลน นมสด นํ้าหวานที่มีสี นํ้า
เกลือ นําเชื่อม นํ้าสมสายชู นํ้าแปง นํ้าหมึก ถามีตัวอยางมาศึกษา ใหสังเกตลักษณะและอภิปราย
        ้
รวมกันเกียวกับลักษณะของของเหลวแตละชนิด ประกอบดวยอะไรบาง สารที่มีลักษณะเปนเนื้อ
           ่
เดียวมีองคประกอบเพียงชนิดเดียวหรือไม ทราบไดอยางไร ถาตองการทราบวาอนุภาคที่เปนองค
ประกอบในของเหลวแตละชนิดมีขนาดตางกันอยางไร จะตรวจสอบไดอยางไร เพื่อนําไปสูการทํา
กิจกรรม 1.2

กิจกรรม 1.2     การตรวจสอบขนาดของเนื้อสาร

จุดประสงคของกิจกรรม
       1. อธิบายสมบัติและยกตัวอยางสารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลายที่พบในชีวต ิ
           ประจําวัน
       2. ตรวจสอบและเปรียบเทียบขนาดของอนุภาคสารในนํ้าโคลน นมสด และนํ้าหวานสี
           แดงโดยใชกระดาษกรองและเซลโลเฟน
       3. ใชขนาดของอนุภาคสารเปนเกณฑในการจัดกลุมสารไดเปนสารแขวนลอย คอลลอยด
           และสารละลาย

เวลาที่ใช
         อภิปรายกอนกิจกรรม     10      นาที
         ทํากิจกรรม             40      นาที
         อภิปรายหลังกิจกรรม     30      นาที
         รวม                    80      นาที
53



วัสดุอุปกรณและสารเคมี

                               รายการ                    ปริมาณตอ 10 กลุม
         1. นําโคลน (หรือนํ้าแปงดิบ 1%)
               ้                                             200 cm3
         2. นมสด (หรือนํ้าแปงสุก 1%)                        200 cm3
         3. นําหวานที่ใสสี (หรือนํ้าสีผสมอาหาร 0.5%)
                 ้                                           200 cm3
         4. บีกเกอรขนาด 50 cm3                                60 ใบ
         5. บีกเกอรขนาด 250 cm3                                3 ใบ
         6. กระดาษกรองขนาด ∅ 11 cm                            30 แผน
         7. กระดาษเซลโลเฟนขนาด 10 cm × 10 cm                  30 แผน
         8. กรวยพลาสติก                                        10 อัน
         9. ขวดรูปกรวย ขนาด 250 cm3                            10 ใบ
         10. แทงแกวคนสาร                                     10 อัน
         11. ขาตั้งพรอมที่จับ                                 10 ชุด
         12. ยางรัดของ                                        30 เสน
         13. ชอนตักสารเบอร 2                                 10 อัน

การเตรียมลวงหนา
        1. ตัดกระดาษเซลโลเฟนขนาด 10 cm × 10 cm กลุมละ 3 แผน
        2. เตรียมนํ้าโคลน โดยใชนํ้าโคลน 1 cm3 ผสมนํ้ากลั่น หรือนํ้าประปา 250 cm3 คนใหเขา
           กัน หรือใชนํ้าแปงดิบแทน โดยใชแปงมัน 2.0 กรัม (ประมาณ 2 ชอนเบอร 2) ผสมกับ
           นํ้ากลั่น 200 cm3 คนใหเขากัน
        3. เตรียมนมสด โดยใชนมสด 2.0 cm3 ผสมกับนํ้ากลั่นใหไดปริมาตรรวม 200 cm3 คนให
           เขากัน หรือใชน้าแปงสุกแทน โดยใชแปงมัน 2.0 กรัม (ประมาณ 2 ชอนเบอร 2) ละลาย
                            ํ
           ในนํ้า 50 cm3 คนใหเขากัน แลวเติมนํ้าเดือดลงไปใหไดปริมาตรรวม 200 cm3
        4. เตรียมนํ้าหวานที่ใสสี โดยใชนํ้าหวานเขมขน 2.0 cm3 ผสมกับนํ้ากลั่นใหไดปริมาตร
           รวม 200 cm3 หรือใชนํ้าสี โดยใชสีผสมอาหารครึ่งชอนเบอร 1 ละลายในนํ้ากลั่น 200
           cm3 คนใหเขากัน
        หมายเหตุ นําโคลน นมสด นํ้าแปง ควรเตรียมใหมทุกครั้งกอนการทํากิจกรรม
                       ้

อภิปรายกอนกิจกรรม
       1. แนะนําวิธการทํากิจกรรม เชน ใชแทงแกวคนนํ้าโคลนหรือนํ้าแปงดิบทุกครั้งกอนที่จะ
                   ี
           นําไปทดลอง เพราะนํ้าโคลนหรือนํ้าแปงดิบตกตะกอนไดงาย
54



         2. ผูเรียนตองสังเกตนํ้าในบีกเกอรทั้งกอนและหลังแชถุงเซลโลเฟน วามีลักษณะแตกตาง
            กันหรือไม อยางไร
         3. เพือเปนการประหยัดเวลาและสารที่ใช อาจใหผูเรียนแตละกลุมตรวจสอบสารตัวอยาง
                ่
            เพียง 1 ชนิด แลวนําผลมาอภิปรายรวมกัน

ตัวอยางผลการทํากิจกรรม
                      ลักษณะของเหลว                       ผลที่สังเกตได
    สารตัวอยาง
                         ที่สังเกตได    เมื่อกรองดวยกระดาษกรอง เมื่อผานเซลโลเฟน
1. นํ้าโคลน        สีเทาดําขุน มีตะกอน มีตะกอนเทาดําติดอยูบน       นํ้าในบีกเกอรไม
                                        กระดาษกรอง และไดของ เปลี่ยนแปลง
                                        เหลวใส
    (นํ้าแปงดิบ) สีขาวขุน มีตะกอน มีตะกอนขาวติดอยูบน              นํ้าในบีกเกอรไม
                                        กระดาษกรอง และไดของ เปลี่ยนแปลง
                                        เหลวใส

2. นมสด              สีขาวขุน ไมมตะกอน ไมมีสารตกคางบนกระดาษ
                                   ี                                 นํ้าในบีกเกอรไม
                                         กรอง และไดของเหลวสีขาว     เปลี่ยนแปลง
                                         ขุน
     (นํ้าแปงสุก)   ของเหลวขุนเล็กนอย ไมมีสารตกคางบนกระดาษ      นํ้าในบีกเกอรไม
                     ไมมีตะกอน          กรอง ไดของเหลวขุนเล็ก     เปลี่ยนแปลง
                                         นอย

3. นําหวานใสสี ของเหลวใสมีสี
     ้                                 ไดของเหลวใสมีสี    นํ้าในบีกเกอรมีสี
   (นํ้าสี)     ของเหลวใสและมีสี ไดของเหลวใสและมีสเี ดียว นํ้าในบีกเกอรมีสเี ดียว
                เดียวกับสีที่ใชเตรียม กับสีที่ใชเตรียม   กับสีที่ใชเตรียม

อภิปรายหลังกิจกรรม
         จากผลการทํากิจกรรม การตอบคําถามทายกิจกรรม และการอภิปรายในกลุม แลวนําขอสรุป
ของแตละกลุมมาอภิปรายรวมกัน เพื่อชวยกันสรุปสมบัติที่ตางกันของสารตัวอยางทั้ง 3 ชนิด ขอ
สรุปที่ไดอาจเปนดังนี้
         สารตัวอยางที่นํามาทํากิจกรรม เมื่อแบงตามลักษณะสาร จะแบงได 3 กลุม คือ
             กลุมที่ 1 มีลกษณะขุนหรือทึบแสง เมื่อตั้งไวจะตกตะกอน ไดแก นํ้าโคลนหรือ
                              ั
                          นํ้าแปงดิบ
55



            กลุมที่ 2     มีลกษณะขุน ทึบแสงหรือโปรงแสง ตั้งไวไมตกตะกอน ไดแก นมสด
                               ั
                           หรือนํ้าแปงสุก
             กลุมที่ 3 มีลกษณะใส ตั้งไวไมตกตะกอน ไดแก นํ้าหวานสีแดงหรือนํ้าสี
                                 ั
        เมื่อตรวจสอบการผานกระดาษกรองและถุงเซลโลเฟน รวมทั้งการอภิปรายความรูในบท
เรียน จะสรุปไดวา
        - นํ้าโคลนหรือนํ้าแปงดิบไมสามารถผานทั้งกระดาษกรองและถุงเซลโลเฟน แสดงวา
             อนุภาคของสารในนํ้าโคลนหรือนํ้าแปงดิบมีขนาดใหญกวารูพรุนของกระดาษทั้งสอง
             ชนิด เมือตั้งทิ้งไวจะตกตะกอน สารกลุมนี้จัดเปนสารแขวนลอย
                       ่
        - นมสดหรือนํ้าแปงสุกสามารถผานกระดาษกรองได แตไมผานถุงเซลโลเฟน แสดงวา
             อนุภาคของสารในนมสดและนํ้าแปงสุกมีขนาดเล็กกวารูพรุนของกระดาษกรอง แต
             ใหญกวารูพรุนของถุงเซลโลเฟน เมื่อตั้งทิ้งไวไมตกตะกอน สารกลุมนี้จัดเปนคอล
             ลอยด
        - นํ้าหวานที่มีสีหรือนํ้าสีสามารถผานไดทั้งกระดาษกรองและถุงเซลโลเฟน แสดงวา
             อนุภาคของสารที่มีสีในนํ้าหวานหรือนํ้าสีเล็กกวารูพรุนของกระดาษทั้งสองชนิด เมื่อ
             ตังทิงไว ไมตกตะกอน สารกลุมนี้จัดเปนสารละลาย
               ้ ้
        - การจัดกลุมสารโดยใชขนาดของอนุภาคสารเปนเกณฑ จะจัดไดเปนสารแขวนลอย
             คอลลอยด สารละลาย

          อภิปรายตอไปวาสารที่พบในชีวิตประจําวัน มีทั้งสารแขวนลอย เชน นํ้าคลอง คอลลอยด
เชน นมสด และสารละลาย เชน นํ้าหวาน สารแตละกลุมมีสมบัติตางกัน
          อาจนําความรูเกี่ยวกับการตรวจสอบขนาดของเนื้อสารไปใชประโยชน เชน การใชแผน
กรองอากาศในเครื่องปรับอากาศ หรือเครื่องฟอกอากาศ เพื่อกําจัดฝุนละอองออกจากอากาศ การ
กรองกากมะพราวออกจากนํ้ากะทิ โดยใชผาขาวบางหรือกระชอนกรอง การกรองแปงที่โมละเอียด
ออกจากนําแปง โดยใชถุงผาดิบ ทําใหไดนํ้ากะทิ หรือแปงผง ไปใชประโยชนตามตองการ
             ้
          จากกิจกรรม 1.2 ทําใหทราบวานํ้าโคลนหรือนํ้าจากแหลงนํ้าตามธรรมชาติตาง ๆ เชน
แมนา ลําคลอง หนอง บึง แตละแหลงมีลักษณะตางกัน ทั้งสี กลิ่น ความขุน เนื่องมาจากสารเจือปน
       ํ้
ที่อยูในนํ้าซึ่งบางชนิดเปนสารแขวนลอยที่อนุภาคมีขนาดใหญกวารูของกระดาษกรอง เมื่อจะใช
ประโยชนจากแหลงนํ้าเหลานั้น จะมีวิธีแยกสิ่งเจือปนที่อยูในนํ้าออกไดอยางไร จากนั้นใหผูเรียน
ทํากิจกรรม 1.3
56



กิจกรรม 1.3    การแยกสิ่งเจือปนในนํ้า

จุดประสงคของกิจกรรม
       1. อธิบายหลักการแยกสิ่งเจือปนออกจากนํ้ าไดโดยการเติมสารบางอยางใหสิ่งเจือปน
           ตกตะกอนและการกรอง
       2. ออกแบบและทํ าเครื่องกรองนํ้ าที่เติมสารใหสิ่งเจือปนตกตะกอนและ/หรือกรองสิ่ง
           เจือปน
       3. รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการทํานํ้าใหสะอาด รวมทั้งนําเสนอขอมูลในรูปแบบตาง ๆ
           รวมทั้งเสนอแบบจําลองแสดงวิธีการทํานํ้าใหสะอาด

เวลาที่ใช
         อภิปรายกอนกิจกรรม 10          นาที
         ทํากิจกรรม          60         นาที
         อภิปรายหลังกิจกรรม 30          นาที
         รวม                100         นาที

วัสดุอุปกรณและสารเคมี
                              รายการ                     ปริมาณตอ 10 กลุม
        1. นําจากแหลงตาง ๆ อยางละ (ประมาณ 5 แหง)
               ้                                             100 cm3
        2. นํ้ากลั่น                                         100 cm3
        3. สารสม (หรือ FeCl3)                                25 กรัม
        4. หลอดทดลองขนาดใหญ                                 50 หลอด
        5. บีกเกอรขนาด 50 cm3                                 50 ใบ
        6. กรวยกรอง                                            10 อัน
        7. ขวดรูปกรวย ขนาด 250 cm3                             10 ใบ
        8. กระบอกตวงขนาด 10 cm3                                10 ใบ
        9. แทงแกวคนสาร                                       10 อัน
        10. ชอนตักสาร                                        10 อัน
        11. ขาตั้งพรอมที่จับหลอดทดลอง                         10 ชุด
        12. กระดาษกรองขนาด ∅ 11 cm                            50 แผน
        13. ที่ต้งหลอดทดลอง
                 ั                                             10 อัน
57



การเตรียมลวงหนา
        ใหผเู รียนชวยกันจัดหานํ้าจากแหลงตาง ๆ อยางละ 10 cm3 โดยครูควรจัดเตรียมไวดวย
จํานวน 1 ชุด เชน นํ้าทิ้งจากครัวเรือน โรงอาหาร นํ้าจากแมนํ้า นํ้าคลอง นํ้าบอ เปนตน

อภิปรายกอนกิจกรรม
       1. ใหผูเรียนฝกเขยาหลอดทดลองที่มีนํ้าประปา โดยเคาะหลอดทดลองกับฝามือเบา ๆ
           (ตามรูปในหนังสือเรียนหนา 27) ไมใชนิ้วอุดปากหลอดแลวเขยา หรือเคาะหลอดกับ
           โตะ
       2. การเติมสารสม ใหใชชอนเบอร 1 ตักสารใสลงไป 1 ชอน (1 ชอนเต็มปาด จะได
           สารสมประมาณ 0.5 กรัม)

ตัวอยางผลการทํากิจกรรม
                                                            ผลที่สังเกตได
นํ้าจากแหลงนํ้าตาง ๆ
                                 สี          กลิ่น ความขุน เมื่อผานกระดาษกรอง                เมื่อเติมสารสม
        นํ้าโคลน             นํ้าตาล        มีกลิ่น   ขุน ใสขึ้น แตยังมีตะกอนอยูบาง   ใส มีตะกอนที่กนภาชนะ
         นํ้าแมนํ้า         นํ้าตาล        มีกลิ่น   ขุน ใสขึ้น แตยังมีตะกอนอยูบาง   ใส มีตะกอนที่กนภาชนะ
     นํ้าบอบาดาล             ไมมีสี       มีกลิ่น   ใส                 ใส                           ใส
         นํ้าคลอง            นํ้าตาล        มีกลิ่น   ขุน ใสขึ้น แตยังมีตะกอนอยูบาง   ใส มีตะกอนที่กนภาชนะ
         นํ้ากลั่น            ไมมีสี      ไมมีกลิ่น ใส        ใส ไมเปลี่ยนแปลง           ใส ไมเปลี่ยนแปลง
 นํ้าทิ้งจากครัวเรือน    ขุน มีนํ้ามันที่ มีกลิ่น    ขุน  ใสขึ้น แตยังมีน้ามันลอยที่
                                                                             ํ            ใส มีตะกอนที่กนภาชนะ
                                                                                                           
                             ผิวหนา                                  ผิวหนา              แตยังคงมีนํ้ามันลอยอยู

อภิปรายหลังกิจกรรม

                   นําทีใส ไมมีสี ยังอาจมีสิ่งเจือปน เพราะเมื่อเติมสารบางชนิดแลวไดตะกอนเกิดขึ้น
                     ้ ่
                   ในนํ้ามีสิ่งเจือปนในรูปของสารแขวนลอย สารละลาย

          จากผลการทํากิจกรรม การตอบคําถามและการอภิปรายตามเนื้อหาในบทเรียน ควรไดขอ
สรุปวานํ้าที่ใส ไมมีสี ยังอาจมีสิ่งเจือปน ซึ่งอาจเปนสารแขวนลอยหรือสารละลายก็ได การแยก
สารที่เจือปนอยูในนํ้าทําไดหลายวิธี เชน
         • การกรอง โดยใชกระดาษกรอง ซึ่งเปนวิธีแยกสารที่ไมละลายนํ้าออกจากนํ้าหรือของ
              เหลว โดยสารเหลานั้นมีขนาดใหญกวารูพรุนของกระดาษกรอง จึงติดคางอยูบน
              กระดาษกรอง สวนนํ้าหรือของเหลวจะผานรูพรุนกระดาษกรองไปได นํ้าหรือของเหลว
              ทีกรองไดจะใสขึ้น
                ่
58



        • การเติมสารบางอยางลงไป เชน สารสม หรือไอรออน (III) คลอไรด, FeCl3 ทําใหสาร
          เจือปนตาง ๆ ตกตะกอน ไดนํ้าหรือของเหลวสวนบนที่ใสแยกจากกันไดงาย
        • สําหรับนําทิ้งจากครัวเรือน หรือนํ้าทิ้งที่มีน้ามันปนนั้น อาจแยกนํ้ามันออกไดบาง โดย
                    ้                                   ํ
          ทําเครื่องกรองนํ้ามันอยางงายจากขวดนํ้าพลาสติก ขนาด 5 ลิตร หรือ 2 ลิตร โดยนําขวด
          นํ้ามาผากนขวดออก วางควํ่าลงจะมีลักษณะคลายกรวยกรอง แลวใสเศษวัสดุพวกขน
          เปด ขนไก เศษฟางขาว ตนออ กากชา เชือกฟางฉีกฝอย อยางใดอยางหนึ่ง ใสไวในขวด
          ใหเต็ม เศษวัสดุจะชวยดูดซับนํ้ามันไว ชวยลดปริมาณนํ้ามัน ไขมัน ที่ปนเปอนในนํ้าทิ้ง
          กอนปลอยออกสูสิ่งแวดลอม พรอมทั้งคอยเปลี่ยนเศษวัสดุบอย ๆ 

          อาจใหผูเรียนชวยกันออกแบบและทําชุดการกรองอยางงายโดยใชกอนถาน กรวดหยาบ
(ขนาดประมาณเทาเมล็ดถั่วเขียว) กรวดละเอียด ทรายหยาบ และทรายละเอียด เปนวัสดุที่ใชกรอง
นํ้ าใหใสขึ้น ตรวจสอบการใชงานโดยเปรียบเทียบนํ้าที่ยังไมผานเครื่องกรองกับนํ้าที่ผานเครื่อง
กรองแลว จากนั้นนําชุดกรองนํ้าที่ไดนี้ไปปรับปรุงใหดีขึ้น เพื่อนําไปใชกรองนํ้าใชตอไป
          อภิปรายตอไปวา การกรองและการเติมสารบางชนิดใหสิ่งเจือปนตกตะกอนยังอาจแยกสิ่ง
เจือปนออกจากนํ้าไมหมด นํ้าที่เห็นวาใสนั้นสะอาดพอที่จะใชบริโภคไดหรือไม ยังมีสารใดที่อาจ
จะเจือปนอยูในนํ้าที่ใสบาง ถาตองการนํ้าสะอาดสําหรับการบริโภคจะตองทําอยางไร การทํานํ้าให
สะอาดแตละกระบวนการตองมีคาใชจายเทาไร ทําอยางไรจึงจะลดคาใชจายในการทํานํ้าใหสะอาด
พรอมทั้งชวยกันตอบคําถาม
               ทุก ๆ คนที่อยูภายในบาน ภายในชุมชน ทองถิ่น ตลอดจนทุกคนภายในประเทศตาง ๆ
               ทัวโลก ควรมีสวนรวมกันเฝาระวังรักษาคุณภาพของนํ้าและอนุรักษแหลงนํ้า เพราะวา
                 ่
               นํ้าจืดเปนทรัพยากรธรรมชาติที่จําเปนสําหรับสิ่งมีชีวิตทุกชีวิตที่อยูบนโลกนี้ ถาขาด
               นํ้าสะอาดแลวทุกๆชีวิตบนโลกนี้ก็จะมีชีวิตอยูไมได ดังนั้นจึงตองสรางจิตสํานึกรวม
               กันที่จะชวยกันดูแลรักษาคุณภาพนํ้าและอนุรักษแหลงนํ้าในธรรมชาติใหคงอยูตลอด
               ไป

        จากนันใหผูเรียนรวมกันทํากิจกรรมเพิ่มเติม
             ้

แนวการทํากิจกรรมเพิ่มเติม
        กิจกรรมนี้มีจุดมุงหมายใหผูเรียนไดสืบคนขอมูลจากแหลงความรูตาง ๆ เกี่ยวกับการทํา
นําใหสะอาด เชน จากหนังสือ เอกสารในหองสมุด การประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค
   ้
หนวยงานที่ผลิตนํ้าประปาในทองถิ่น วิทยากรในชุมชน อินเทอรเน็ต เปนตน จากนั้นสรางแบบ
จํ าลองแสดงกระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้ า แลวนํ ามาเสนอในชั้นเรียนหรือจัดแสดงในรูป
นิทรรศการ โปสเตอร หรืออื่น ๆ
59



ตัวอยางผลการทํากิจกรรม
        การทํานํ้าประปาใหสะอาดมีหลายวิธี เชน
                 - การนํานํ้าประปามาตม
                 - การกรองผานเครื่องกรองนํ้า
                 - การกลั่น
        เปรียบเทียบวิธีการตาง ๆ ที่ใชในการทํานํ้าใหสะอาด
                 - การตม โดยการนํานํ้าประปามาตม เปนวิธการที่สะดวก ประหยัด อุปกรณ
                                                                ี
                    งาย ๆ มีเพียงกาตมนํ้ากับเตาไฟเทานั้น และไดนํ้าที่สะอาดดวย เนื่องจากนํ้า
                    ประปาไดผานกระบวนการผลิตมาแลว ซึ่งเปนนํ้าที่ดื่มได เมื่อนํามาตมให
                    เดือดนานประมาณ 5 นาที จึงเปนนํ้าที่สะอาด ปราศจากเชื้อโรค
                 - การกรองผานเครื่องกรองนํ้ า ถานํ านํ้ าประปามาผานเครื่องกรองนํ้ าที่เปน
                    คอลัมน ซึ่งมีเม็ดเรซินชนิดแลกเปลี่ยนไอออนบวก (cation exchange resin
                    beads) เม็ ดเรซินเหลานั้นจะทํ าหนาที่จับแคลเซียมไอออน (Ca2+) และ
                    แมกนีเซียมไอออน (Mg2+) ซึงเปนสาเหตุทําใหนํ้ากระดางไว นํ้าที่ผานเครื่อง
                                                   ่
                    กรองนํ้าจึงเปนนํ้าออนที่สะอาด แตอปกรณก็มีราคาคอนขางแพง เครื่องกรอง
                                                          ุ
                    นําบางชนิดที่มีอุปกรณสรางแสง UV หรือโอโซนสําหรับฆาเชื้อโรคดวยแสง
                       ้
                    ยังมีราคาแพง แตก็จะไดนํ้าที่สะอาดยิ่งขึ้น
                 - การกลั่น เปนวิธีการทํานํ้าใหสะอาดที่ดีที่สุด แตเปนวิธีที่แพง และอุปกรณก็
                    ซับซอน นํ้าที่ไดไมมีรสชาติ จึงไมนิยมนํามาใชทํานํ้าดื่ม แตเหมาะสําหรับใช
                    ผสมทําเครื่องสําอาง ยานํ้า ยาฉีด เปนตน

          ควรใชเวลาสําหรับตอนนี้ประมาณ 60 นาที



ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
                               เครื่องกรองนํ้าดื่มสําหรับบาน*
อุปกรณ
          1. โองขนาดกลาง สูงประมาณ 45 cm (18 นิ้ว) หรือขนาดจุน้าประมาณ 2 ปบ จํานวน 3
                                                                ํ
             ใบ
          2. สายยางใส เสนผานศูนยกลาง 0.5 cm ยาวประมาณ 2 m
          3. ขั้วตอสายยาง 2 อัน
60



วิธีเจาะ
           1. เจาะตุมดวยคอนกับตะปูคอนกรีต กวางพอคับสายยาง
           2. โอง 1 เจาะ 1 รู สูงจากกนโองประมาณ 5 cm
           3. โอง 2 และ 3 เจาะ 2 รู รูลาง ใหเสมอกันโองรูบนวัดจากปากโองลงมาประมาณ 5 – 7
              cm




ตอสายยาง
       1. ตอสายยางจากรูที่กนโอง 1 กับสายยางที่รูกนโอง 2 โดยใชขั้วตอ
       2. ตอสายยางจากรูที่ปากโอง 2 กับสายยางที่รูกนโอง 3 โดยใชข้วตอ
                                                                       ั
       3. เสียบสายยางที่รูปากโอง 3 และปลอยสายยางทิ้งไว

วิธีบรรจุกรวดและทราย
        1. บรรจุกรวดและทรายละเอียดที่สะอาดในโอง
            2 และโอง 3 โดยใสกรวดลงกอน ใหสูงพอ
            มิดสายยาง เพื่อกันไมใหทรายเขาไปอุดรูสาย
            ยาง
        2. ใสทรายละเอียดลงไป ใหความสูงของทรายอยู
            ใตรูบนประมาณ 3 cm




* สุพงษ พัฒนจักร. เครื่องกรองนํ้าดื่มสะอาดสําหรับชาวบาน ใน นํ้าดื่มสะอาดสําหรับชาวบาน เอกสารเผยแพรตามโครงการ
           เกลือคุณภาพ นํ้าปลาคุณภาพ นํ้าดื่มสะอาด : ศิริราช 21. กรุงเทพฯ, ม.ป.ป.
61



การยกระดับ
      ชวยใหการไหลของนํ้าดีขึ้น และปองกันการไหลยอนกลับ
      1. โอง 1 สูงจากระดับพื้นประมาณ 50 cm
      2. โอง 2 สูงจากระดับพื้นประมาณ 25 cm
      3. โอง 3 สูงจากระดับพื้นประมาณ 7 cm




วิธีกรอง
           1. เทนํ้าลงในโอง 1 ใสคลอรีน และแกวงสารสม 10 – 15 รอบ (ใชคลอรีน 1 ชอนชา ตอ
              นํา 2 ปบ โดยประมาณ)
                ้
           2. นําจะไหลผานสายยางจากโอง 1 ไปยังโอง 2
                  ้
           3. นําจะถูกกรองโดยโอง 2 ผานกรวดและทรายเออขึ้นสวนทางกับแรงดึงดูดของโลกและ
                    ้
              ไหลออกทางสายยางที่ปากโอง 2 ไปยังกนโอง 3
           4. นําจะถูกกรองจากโอง 3 เชนเดียวกับโอง 2
                      ้
           5. จํานวนนํ้าที่ไดจากโอง 3 ประมาณ 60 – 70 ลิตร /วัน

วิธีการลางโอง
         เพียงถอดสายยางตรงขั้วตอออก ปลอยนํ้าจากกนโอง
กรองที่ 2 และ 3 ออกจนหมดนํ้าขุนเทานั้น
62



        ผูเ รียนอภิปรายรวมกันโดยการทบทวนผลการทํากิจกรรม 1.2 ซึ่งไดจาแนกสารรอบตัวเปน
                                                                        ํ
สารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลาย โดยใชขนาดของอนุภาคเปนเกณฑ นอกจากขนาดของ
อนุภาคแลว จะตรวจสอบสมบัติอื่น ๆ ของคอลลอยดไดอยางไรบาง
        ใหผูเรียนอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับปรากฏการณในชีวิตประจําวัน เชน การเห็นลําแสงใน
อากาศทีมฝุนละอองหรือมีหมอก เพราะเหตุใดเราจึงมองเห็นลําแสงได เพื่อนําเขาสูกิจกรรม 1 .4
       ่ ี

กิจกรรม 1.4 สมบัติบางประการของคอลลอยด
       กิจกรรมนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาสมบัติบางประการของคอลลอยด และสามารถนําไปใช
ประโยชนในชีวิตประจําวันได

จุดประสงคของกิจกรรม
       1. บอกความแตกตางที่เกิดจากการที่แสงสองผานสารแขวนลอย คอลลอยด และสาร
           ละลายได
       2. ใชสมบัติการกระเจิงของแสงเพื่อตรวจสอบสารที่เปนคอลลอยดได
       3. อธิบายปรากฏการณทินดอลลและยกตัวอยางปรากฏการณดังกลาวที่พบในชีวตประจํา
                                                                           ิ
           วันได

เวลาที่ใช
         อภิปรายกอนกิจกรรม      5    นาที
         ทํากิจกรรม             20    นาที
         อภิปรายหลังกิจกรรม     35    นาที
         รวม                    60    นาที

วัสดุอุปกรณและสารเคมี

                            รายการ                          ปริมาณตอ 10 กลุม
 1.   นํ้าเกลือ 1%                                              300 cm3
 2.   นํ้าดางทับทิม 0.1%                                       300 cm3
 3.   นมสด 1%                                                   300 cm3
 4.   นํากะทิ 1%
         ้                                                      300 cm3
 5.   นํ้าโคลน 1%                                               300 cm3
 6.   นํ้าแปงสุก 0.1%                                          300 cm3
 7.   นํ้าสบู 1%                                               300 cm3
 8.   นํ้าเชื่อม 1%                                             300 cm3
 9.   นํ้ามันพืช                                                300 cm3
63



                          รายการ                               ปริมาณตอ 10 กลุม
 10. นําหวานสีแดง
       ้                                                            300 cm3
 11. บีกเกอรขนาด 50 cm3                                             10 ใบ
 12. กระบอกไฟฉาย พรอมถาน 2 กอน (หรือ Laser pointer)            10 กระบอก
 13. กระดาษแข็งขนาดปดดานหนากระบอกไฟฉาย พรอม                     10 แผน
     เจาะรูตรงกลาง มี ∅ ประมาณ 0.5 cm

การเตรียมลวงหนา
        ใหผเู รียนแตละกลุมชวยกันจัดหาของเหลวตาง ๆ ที่สนใจมากลุมละหนึ่งชนิด โดยเฉพาะ
สารทีหาไดงายหรือเปนผลิตภัณฑในทองถิ่น เชน นํ้ามะพราว นํ้าออย นํ้าตาลสด นํ้าชา และครูควร
     ่
จะจัดหาไวอยางนอย 1 ชุด ดังในตาราง
        1. นําเกลือ ใชเกลือ 3 ชอนเบอร 2 ผสมกับนํ้ากลั่น 300 cm3 คนจนเกลือละลายหมด
                           ้
        2. นําดางทับทิม ใชดางทับทิม 1 ชอนเบอร 1 (ประมาณ 0.3 g) ผสมกับนํ้ากลั่น 300 cm3
                         ้
            คนจนดางทับทิมละลายหมด
        3. นมสด ใชนมสด 3 ชอนเบอร 2 ผสมกับนํ้ากลั่น 300 cm3 คนใหเขากัน
        4. นํากะทิ ใชน้ากะทิ 3 ชอนเบอร 2 (ประมาณ 3 g) ผสมกับนํ้ากลั่น 300 cm3 คนใหเขา
                     ้       ํ
            กัน
        5. นํ้าโคลน ใชดิน 3 ชอนเบอร 2 (ประมาณ 3 g) ผสมกับนํ้ากลั่น 300 cm3 คนใหเขากัน
        6. นําแปงสุก ใชแปงมัน 1 ชอนเบอร 1 (ประมาณ 0.3 g) ละลายในนํ้า 10 cm3 คนใหเขา
                 ้
            กัน แลวเติมนํ้าเดือดลงไปใหไดปริมาตร 300 cm3
        7. นํ้าสบู ใชเศษสบู 3 ชอนเบอร 2 (ประมาณ 3 g) ละลายในนํ้า 300 cm3 คนใหเขากัน
        8. นําเชื่อม ใชนํ้าเชื่อม 3 ชอนเบอร 2 (ประมาณ 3 g) ละลายในนํ้า 300 cm3 คนใหเขากัน
                       ้
            หรือใชนํ้าตาลทราย 3 ชอนเบอร 2 ละลายในนํ้า 300 cm3
        9. นําหวานสีแดง ใชนํ้าหวานเขมขน 3 ชอนเบอร 2 (ประมาณ 3 g) ละลายในนํ้า 300 cm3
                   ้
            คนใหเขากัน

อภิปรายกอนกิจกรรม
        การฉายไฟฉาย หรือ Laser pointer ควรวางอุปกรณใหชิดบีกเกอร และอาจใชกระดาษสีดํา
หรือสีเขมรองใตกนบีกเกอรและดานหลังบีกเกอร จะชวยใหสังเกตลําแสงไดงายขึ้น และควรทํา
                                                                        
การทดลองในที่ที่มีแสงสวางนอย ๆ จะเห็นชัดเจนขึ้น
64



ตัวอยางผลการทํากิจกรรม

         สารตัวอยาง                ผลทีสังเกตไดเมื่อฉายแสงผาน
                                         ่
 1. นํ้าเกลือ               มองไมเห็นลําแสงผานของเหลว
 2. นํ้าดางทับทิม          มองไมเห็นลําแสงผานของเหลว
 3. นมสด                    มองเห็นลําแสงผานของเหลวอยางชัดเจน
 4. นํ้ากะทิ                มองเห็นลําแสงผานของเหลวอยางชัดเจน
 5. นํ้าโคลน                มองไมเห็นลําแสงผานของเหลว
 6. นํ้าแปงสุก             มองเห็นลําแสงผานของเหลวอยางชัดเจน
 7. นํ้าสบู                มองเห็นลําแสงผานของเหลวอยางชัดเจน
 8. นํ้าเชื่อม              มองไมเห็นลําแสงผานของเหลว
 9. นํ้ามันพืช              มองไมเห็นลําแสงผานของเหลว
 10. นําหวานสีแดง
       ้                    มองไมเห็นลําแสงผานของเหลว

อภิปรายหลังกิจกรรม
        จากการทํากิจกรรม การตอบคําถาม การสืบคนขอมูลเพิ่มเติม และการอภิปรายรวมกัน ควร
ไดขอสรุปวาเมื่อฉายแสงผานของเหลวที่มีสมบัติเปนคอลลอยด จะมองเห็นลําแสงอยางชัดเจน
เนืองจากเกิดการกระเจิงของแสง เรียกวาปรากฏการณทินดอลล สวนสารแขวนลอยจะทึบแสง แสง
   ่
ไมสามารถผานได และสารละลายแสงผานไดตลอด จึงมองไมเห็นลําแสงในของเหลว พรอมทั้ง
ชวยกันตอบคําถาม

               สารที่จัดเปนคอลลอยด ไดแก นมสด นํ้ากะทิ นํ้าแปงสุก นํ้าสบู ตรวจสอบได
               จากการกรองผานกระดาษกรองและเซลโลเฟน ดังรายละเอียดในกิจกรรม 1.2
               ขนาดของสารที่เปนองคประกอบในของเหลว มีความสัมพันธกับการมองเห็นลํา
               แสงในของเหลว ถาอนุภาคของสารในของเหลวมีขนาดใหญ เชน ในสาร
               แขวนลอย และอนุภาคของสารในของเหลวมีขนาดเล็กมาก เชน ในสารละลาย จะ
               มองไมเห็นลําแสงในของเหลว แตถาเปนของเหลวที่มีสมบัติเปนคอลลอยด ซึ่ง
               อนุภาคของสารในของเหลวมีขนาดประมาณ 10-4 - 10-7 cm จะมองเห็นลําแสงใน
               ของเหลวได

       ผูเรียนอภิปรายเกี่ยวกับปรากฏการณทินดอลลในชีวิตประจําวัน และผลจากปรากฏการณ
เชน การกระเจิงแสงของไฟหนารถยนตในอากาศที่มีฝุนละอองบางหรือมีหมอกบาง ทําใหแสงไฟ
จากรถยนตมความสวางมากขึ้น เห็นไดชัดเจนขึ้น หรือการจุดคบเพลิงในถํ้าจะใหแสงสวางไดดีกวา
              ี
ใชไฟฉาย เพราะในถํ้าไมมีฝุนละออง และใหชวยกันยกตัวอยางคอลลอยดที่พบในชีวิตประจําวัน
65



พรอมทั้งศึกษาชนิดและสถานะของคอลลอยดเพิ่มเติมจากตาราง 1.1 แลวอภิปราย เกี่ยวกับคอล
ลอยดอกประเภทหนึ่งคือ อิมัลชัน ซึ่งเปนสารที่ใชในชีวิตประจําวัน ไดแก การใชสบูอาบนํ้า การใช
          ี
สารซักฟอกในการซักลาง ตามรายละเอียดในบทเรียน เพื่อนําไปสูขอสรุปวาอิมัลชันเปนของเหลว
                                                                  
ทีเ่ กิดจากการรวมตัวของสาร 2 ชนิดที่ไมรวมกัน เมื่อตั้งไวจะแยกชั้น แตถาเติมสารบางชนิดที่มี
สมบัติเปนอิมัลซิไฟเออร จะทําใหของเหลวนั้นรวมกันได

        ควรใชเวลาสําหรับตอนนี้ประมาณ 30 นาที



ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
         โดยปกติความยาวคลื่นของแสงขาวหรือแสงจากไฟฉายที่ใชมความยาวคลื่นประมาณ 308
                                                                     ี
– 720 nm (3.08 – 7.20 x 10-7 m) เมือฉายแสงผานไปในของเหลวใด ๆ ที่อนุภาคของสารในของ
                                      ่
เหลวกระจายปนอยูในของเหลวซึ่งโปรงแสง ถาสารที่กระจายปนอยูนั้นมีขนาดเล็กมาก คือมีเสน
ผานศูนยกลางนอยกวาความยาวของคลื่นแสงที่ผานเขาไป แสงนั้นจะไมตกกระทบบนสาร จึงไม
เกิดการสะทอนหรือการหักเหของแสง ทําใหมองไมเห็นวามีลําแสงผานของเหลวนั้น
         ถาสารที่กระจายปนอยูในของเหลวมีขนาดอนุภาคใหญพอ คือมีขนาดเสนผานศูนยกลาง
ใกลเคียงกับความยาวของคลื่นแสง แสงจะตกกระทบบนอนุภาคสารและเกิดการสะทอนได และ
เมือเกิดการสะทอนในทุก ๆ ทิศทาง ซึ่งเรียกวาเกิดการกระเจิง (scattering) ของแสง จะทําใหมอง
   ่
เห็นแสงผานของเหลวนั้น
         ในกรณีที่เลือกใช Laser pointer ( Laser = light amplification by stimulated emission of
radiation) เปนแหลงกําเนิดแสง แสงที่ไดเปนแสงสีแดง ความยาวคลื่นประมาณ 630 – 680 nm (6.3
– 6.8 x 10-7 m) ซึงใกลเคียงกับขนาดของอนุภาคคอลลอยด จึงทําใหเกิดการกระเจิงแสงไดเชนกัน
                  ่



แหลงการเรียนรู
       1. หองสมุด (ดูที่ภาคผนวก)
       2. อินเทอรเน็ต (ดูที่ภาคผนวก)
       3. วีดทัศน (ดูที่ภาคผนวก)
               ิ
       4. โรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหาร ยา ผลิตภัณฑของชุมชน
       5. การประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค หรือหนวยงานที่ผลิตนํ้าประปาใน
            ทองถิ่น
       6. ภูมิปญญาทองถิ่น
66




1.2 สารละลาย
       การเรียนในหัวขอนี้มีจุดมุงหมายใหผูเรียนรูจักสารละลายชนิดตาง ๆ ซึ่งมีอยูทั้ง 3 สถานะ
และระบุสารที่เปนตัวละลาย ตัวทําละลาย ในสารละลายนั้น ๆ รวมทั้งบอกไดวาตัวละลายตางชนิด
กัน สามารถละลายไดในตัวทําละลายตางกัน สําหรับปริมาณตัวละลายที่ละลายไดในตัวทําละลาย
นิยมบอกเปนรอยละโดยมวลตอมวล รอยละโดยมวลตอปริมาตร รอยละโดยปริมาตรตอปริมาตร
ในกรณีทมตวละลายอยูนอย อาจจะบอกความเขมขนเปนสวนในพันสวน (ppt) หรือ สวนในลาน
        ี่ ี ั
สวน (ppm)

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
        1. ตรวจสอบ อธิบายสมบัตและยกตัวอยางสารเนื้อเดียวและสารละลายในชีวตประจําวัน
                                  ิ                                         ิ
           พรอมทั้งระบุตัวละลายและตัวทําละลาย
        2. ออกแบบวิธีการตรวจสอบความสามารถในการละลายของตัวละลายชนิดเดียวกันใน
           ตัวทําละลายตางชนิด และความสามารถในการละลายของตัวละลายชนิดตาง ๆ ในตัว
           ทําละลายชนิดเดียวกัน
        3. ยกตัวอยางการนําความรูเกี่ยวกับสารละลายของสารในตัวทําละลายตาง ๆ ไปใช
           ประโยชนในชีวิตประจําวันได
        4. เตรียมสารละลายที่มีความเขมขนตามหนวยที่กําหนดได และระบุไดวาสารละลายที่
           เตรียมไดมีสารใดเปนตัวละลาย และสารใดเปนตัวทําละลาย
        5. เตรียมสารละลายที่เจือจางไดจากสารละลายที่เขมขนกวา และบอกความเขมขนของ
           สารละลายที่เตรียมไดในหนวยสวนในพันสวน (ppt)
        6. ยกตัวอยางการบอกความเขมขนของสารละลายที่มีหนวยเปนสวนในพันสวน
        7. อธิบายความหมายของคําตอไปนี้ได สารละลาย ตัวทําละลาย ตัวละลาย ความเขมขน
           ของสารละลาย รอยละโดยมวลตอมวล รอยละโดยมวลตอปริมาตร รอยละโดย
           ปริมาตรตอปริมาตร สวนในพันสวน

         ใหผูเรียนรวมกันอภิปรายทบทวนกิจกรรม 1.2 เรื่องการตรวจสอบขนาดของสาร ซึ่งจัด
กลุมสารไดเปนสารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลาย สําหรับสารละลายที่มองเห็นวาใส และ
เปนเนือเดียวนั้น จะมีองคประกอบอยางไรบาง ใหศึกษาจากกิจกรรม 1.5
       ้

กิจกรรม 1.5     การตรวจสอบองคประกอบของสารเนื้อเดียว

จุดประสงคของกิจกรรม
       1. ตรวจสอบและแยกองคประกอบของสารเนื้อเดียวโดยการระเหยแหง
67



        2. ระบุตวละลายและตัวทําละลายในสารละลายที่พบในชีวิตประจําวัน
                ั
        3. อธิบายสมบัติและยกตัวอยางสารเนื้อเดียวและสารละลายในชีวิตประจําวัน

เวลาที่ใช
         อภิปรายกอนกิจกรรม    10      นาที
         ทํากิจกรรม            30      นาที
         อภิปรายหลังกิจกรรม    50      นาที
         รวม                   90      นาที

วัสดุอุปกรณและสารเคมี

                     รายการ                           ปริมาณตอ 10 กลุม
 1.   นํ้าเชื่อม 1%                                        10 cm3
 2.   นํ้าเกลือ 1%                                         10 cm3
 3.   นํ้าอัดลม                                            10 cm3
 4.   กระบอกตวงขนาด 10 cm3                                  10 ใบ
 5.   จานหลุมโลหะ                                          10 อัน
 6.   ตะเกียงแอลกอฮอลพรอมที่กั้นลม                       10 ชุด
 7.   คีมคีบโลหะ                                           10 อัน

การเตรียมลวงหนา
        เตรียมสารละลายตาง ๆ ดังนี้
               - นํ้าเชื่อม นํานํ้าตาลทราย 0.1 g มาละลายในนํ้า ตั้งไฟจนนํ้าตาลทรายละลาย
                   หมด ทําใหมีปริมาตรเปน 10 cm3)
               - นําเกลือ นําเกลือ 0.1 g มาละลายในนํ้า ทําใหมีปริมาตรเปน 10 cm3 จะไดสาร
                    ้
                   ละลายเขมขน 1%
               - นําอัดลม ใชนํ้าอัดลมชนิดที่ไมผสมสี
                      ้

อภิปรายกอนกิจกรรม
       1. การตมของเหลวในจานหลุมโลหะ ตองคอยระวังอยาใหของเหลวเดือดแรงเกินไป
           เพราะของเหลวจะกระเด็นออกมา
       2. การใชตะเกียงแอลกอฮอล ใหใสแอลกอฮอลประมาณ 2/3 ของตัวตะเกียง ไมควรดึงไส
           ตะเกียงขึนมาสูงเกินไป เมื่อจะจุดตะเกียงใหจุดดวยไมขีดไฟ หามยกตะเกียงจุดตอกัน
                    ้
           เมือจะดับตะเกียงใหใชปดดวยฝาครอบตะเกียง อยาใชปากเปา
              ่
68




ตัวอยางผลการทํากิจกรรม

     ของเหลวตัวอยาง        ลักษณะของเหลวที่สังเกตได       ผลที่สงเกตไดเมื่อนําไปตมจนแหง
                                                                  ั
 1. นํ้าเชื่อม            ของเหลวใสสีน้าตาลออน
                                       ํ                  มีตะกอนละเอียดสีขาวอยูกนจานหลุม
 2. นํ้าเกลือ             ของเหลวใส ไมมีสี               มีตะกอนละเอียดสีขาวอยูกนจานหลุม
 3. นํ้าอัดลม             ของเหลวใส ไมมีสี               มีตะกอนละเอียดสีขาวอยูกนจานหลุม

อภิปรายหลังกิจกรรม
          จากผลการทํากิจกรรม การตอบคําถาม การอภิปรายรวมกัน ควรสรุปไดวาสารที่มีลักษณะ
                                                                                  
ใส เปนเนื้อเดียว อาจมีองคประกอบมากกวาหนึ่งชนิด ของผสมที่เปนของเหลว ใส เปนสารเนื้อ
เดียว เรียกวา สารละลาย ประกอบดวยตัวละลายและตัวทําละลาย ตัวอยางสารละลายที่พบในชีวิต
ประจําวัน เชน นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นํ้าอัดลม รวมทั้งนํ้าผลไมตาง ๆ ในธรรมชาติ เชน นํ้าตาลสด นํ้า
มะพราว พรอมทั้งชวยกันตอบคําถาม

                 สิ่งที่เหลืออยูบนจานหลุมโลหะแตละหลุมตางกัน ขึ้นอยูกับชนิดของของเหลวตัว
                 อยางดังนี้
                     นํ้าเชื่อม จะมีตะกอนละเอียดสีขาว ซึ่งเปนนํ้าตาล
                     นํ้าเกลือ จะมีตะกอนละเอียดสีขาว ซึ่งเปนเกลือ
                     นํ้าอัดลม จะมีตะกอนละเอียดสีขาว ซึ่งเปนนํ้าตาล แตมปริมาณไมมากนัก
                                                                         ี
                 การที่ มีสารเหลืออยู ใ นจานหลุม เพราะวาของเหลวที่นํ ามาระเหยแหงนั้นมีองค
                 ประกอบมากกวาหนึ่งชนิด บางชนิดระเหยงายเมื่อไดรับความรอน บางชนิดเปนของ
                 แข็งระเหยยาก จึงเหลือคางที่จานหลุมโลหะ
                 ถาสารตัวอยางระเหยแหงบนจานหลุมโลหะหมดโดยไมมีสารใด ๆ เหลืออยูเลย ยัง
                 สรุปไมไดวามีองคประกอบเพียงชนิดเดียว แตอาจเปนเพราะสารตัวอยางนั้นประกอบ
                 ดวยสารชนิดเดียวหรือหลายชนิดที่ระเหยงายเมื่อไดรับความรอน เชนแกสหรือของ
                 เหลว เมื่อนําไประเหยแหงจึงไมมีสารใด ๆ เหลือเลย

      จากนั้นรวมกันอภิปรายตามรายละเอียดในบทเรียน เกี่ยวกับการละลายของตัวละลายในตัว
ทําละลาย เพื่อสรุปวาถาตัวละลายเปนของแข็งที่ระเหยไดยาก สวนตัวทําละลายระเหยงาย สามารถ
แยกไดโดยวิธการระเหยแหง ตัวทําละลายจะระเหยไป และเหลือตัวละลายอยู
             ี
      อาจนําความรูเกี่ยวกับการตรวจสอบองคประกอบของสารไปใชประโยชน เชน การแยกตัว
ละลายซึ่งเปนสารระเหยยากออกจากตัวทําละลายที่ระเหยไดงาย ดังกิจกรรมนี้สามารถแยกเกลือ
69



ออกจากนํ้าเกลือได โดยการระเหยตัวทําละลายใหแหง นอกจากนี้อาจนําไปทําขิงผง เกกฮวยผง
มะตูมผง เห็ดหอมผง ชาผง กาแฟผง
         ใหผเู รียนอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับการละลายของสาร โดยใชตัวละลายตางชนิดกัน และการ
ละลายของสารในตัวทําละลายตางชนิดกัน จะใหผลอยางไร ตามรายละเอียดในบทเรียน เพื่อนําเขา
สูเรื่องการละลายของสาร

1.2.1 การละลายของสารในตัวทําละลาย
        การเรียนหัวขอนี้มีจุดมุงหมายเพื่อตรวจสอบสมบัติบางประการของสารละลาย เชน การ
ละลายของสารในตัวทําละลาย ตัวละลายชนิดเดียวกันจะละลายในตัวทําละลายชนิดตาง ๆ ไดดีเทา
กันหรือไม โดยใหผูเรียนรวมกันอภิปรายตามรายละเอียดในบทเรียนเพื่อนําเขาสูกิจกรรม 1.6

กิจกรรม 1.6    การละลายของสาร

จุดประสงคของกิจกรรม
       1. ออกแบบวิธีการตรวจสอบความสามารถในการละลายของตัวละลายชนิดเดียวกันใน
           ตัวทําละลายตางชนิด และความสามารถในการละลายของตัวละลายชนิดตาง ๆ ในตัว
           ทําละลายชนิดเดียวกัน
       2. ยกตัวอยางการนํ าความรูเกี่ยวกับสารละลายของสารในตัวทํ าละลายตาง ๆ ไปใช
           ประโยชนในชีวิตประจําวันได

เวลาที่ใช
         อภิปรายกอนกิจกรรม 10         นาที
         ทํากิจกรรม          60        นาที
         อภิปรายหลังกิจกรรม 50         นาที
         รวม                120        นาที

วัสดุอุปกรณและสารเคมี

                     รายการ                           ปริมาณตอ 10 กลุม
 ตอนที่ 1
 1. เอทานอล                                                 10 cm3
 2. นํ้ากลั่น                                               10 cm3
 3. นํ้าตาลทราย                                              3g
 4. โซเดียมคลอไรด (เกลือแกง)                                3g
 5. สีผสมอาหาร                                               3g
70



                         รายการ                       ปริมาณตอ 10 กลุม
 6. สารอื่น ๆ ที่ผูเรียนตองการจะศึกษา                ชนิดละ 0.3 g
 7. หลอดทดลองขนาดเล็ก                                     80 หลอด
 8. หลอดหยด                                                10 อัน
 9. ที่ตั้งหลอดทดลอง                                       10 อัน
 ตอนที่ 2                                                  20 cm3
 1. เอทานอล                                                 2 cm3
 2. นํ้ากลั่น                                              20 cm3
 3. นํ้ามันพืช                                              2 cm3
 4. นํ้าตาลทราย                                             3.0 g
 5. ดินเหนียวบดละเอียด                                      3.0 g
 6. คอปเปอร (II) ซัลเฟต                                    3.0 g
 7. หลอดทดลองขนาดเล็ก                                     50 หลอด
 8. หลอดหยด                                                10 อัน
 9. ที่ตั้งหลอดทดลอง                                       10 อัน

อภิปรายกอนกิจกรรม
       1. ปริมาณสารที่ใช ถาเปนของเหลว 1 cm3 อาจใชหลอดหยดจํานวน 20 หยด แทนได
           ถาเปนของแข็ง 0.3 กรัม อาจใชชอนเบอร 1 เต็มชอนปาดแทนไดเชนกัน
       2. การเขยาหลอดทดลองใหสารละลายเขากันนั้น ใหเขยาโดยเคาะหลอดทดลองกับฝามือ
           จะชวยใหสารละลายไดงายขึ้น แตตองระวังไมเขยาแรงจนกระเด็นหรือเบาเกินไปจน
           ไมละลาย และใหเขยาแตละครั้งนานประมาณ 1 นาที

ตัวอยางผลการทดลอง ตอนที่ 1

                                                 ผลที่สังเกตไดเมื่อละลายใน
        สารตัวอยาง
                                            นํ้า                           เอทานอล
 นํ้าตาลทราย               ละลายได สารละลายใส ไมมีสี ไมละลาย
                           เปนเนื้อเดียวกัน
 โซเดียมคลอไรด (เกลือแกง) ละลายได สารละลายใส ไมมสี ไมละลาย
                                                           ี
                           เปนเนื้อเดียวกัน
 สีผสมอาหาร (แดง)          ละลายได สารละลายใสสีแดง              ละลายได สารละลายใสสีแดง
 อื่น ๆ                    ดูจากผลการทดลอง                       ดูจากผลการทดลอง
Subst 1
Subst 1
Subst 1
Subst 1
Subst 1
Subst 1
Subst 1
Subst 1

More Related Content

What's hot

สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายnn ning
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Sumarin Sanguanwong
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัวNetiie Thanaporn
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่างFary Love
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555adriamycin
 
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายอุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายJariya Jaiyot
 

What's hot (17)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
สาร
สารสาร
สาร
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัว
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่าง
 
Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555
 
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายอุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
 

Viewers also liked

สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3Duduan
 
สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2Duduan
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสJariya Jaiyot
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid basekrootum
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสJariya Jaiyot
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่npapak74
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1Sircom Smarnbua
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนWuttipong Tubkrathok
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
ใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4page
ใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4pageใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4page
ใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4pagePrachoom Rangkasikorn
 

Viewers also liked (20)

สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3
 
6 colligative
6 colligative6 colligative
6 colligative
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
ACIC BASE
ACIC BASEACIC BASE
ACIC BASE
 
หน่วยที่ 3 สารละลาย
หน่วยที่ 3 สารละลายหน่วยที่ 3 สารละลาย
หน่วยที่ 3 สารละลาย
 
สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2
 
3 concentration
3 concentration3 concentration
3 concentration
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
Acid1
Acid1Acid1
Acid1
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบส
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
ใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4page
ใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4pageใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4page
ใบความรู้+การแยกสารเนื้อเดีวตอนที่ 1+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f13-4page
 

Similar to Subst 1

โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากBiobiome
 
โครงงาน5.doc
โครงงาน5.docโครงงาน5.doc
โครงงาน5.docssuserc535fa
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
โครงงานคอม 54
โครงงานคอม 54โครงงานคอม 54
โครงงานคอม 54pattarawarin
 
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้rdschool
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Similar to Subst 1 (20)

184 bb10
184 bb10184 bb10
184 bb10
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
LOC
LOCLOC
LOC
 
7.1 (1)
7.1 (1)7.1 (1)
7.1 (1)
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
โครงงาน5.doc
โครงงาน5.docโครงงาน5.doc
โครงงาน5.doc
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
โครงงานคอม 54
โครงงานคอม 54โครงงานคอม 54
โครงงานคอม 54
 
Diffusion and osmotic
Diffusion and osmoticDiffusion and osmotic
Diffusion and osmotic
 
Analyze chem1
Analyze chem1Analyze chem1
Analyze chem1
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 

Subst 1

  • 1. 49 1 สารรอบตัว ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. สํารวจ ทดลอง วิเคราะห และอธิบายสมบัติทางกายภาพของสาร 2. จําแนกสารเปนกลุมตามลักษณะของเนื้อสารและขนาดของอนุภาค 3. สํารวจ ทดลอง และอธิบายความแตกตางระหวางสมบัติ ลักษณะเนื้อสารของสารเนื้อ เดียว สารเนื้อผสม ขนาดอนุภาคของสารแขวนลอย คอลลอยด สารละลาย 4. สํารวจและอธิบายองคประกอบของสารละลาย ความเขมขนของสารละลาย 5. เตรียมสารละลายที่มีความเขมขนตามหนวยที่กําหนด 6. ยกตั ว อย า งการใช ป ระโยชน จ ากสารละลายและนํ าความรู เ รื่ องสารละลายไปใช ประโยชนในชีวิตประจําวัน 7. อธิบายความหมายของคําตอไปนี้ได สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม สารแขวนลอย คอลลอยด สารละลาย ตัวทําละลาย ตัวละลาย ความเขมขนของสารละลาย แนวความคิดหลัก สารตาง ๆ รอบตัวมีสมบัติทั้งที่คลายกันและแตกตางกัน สมบัติของสารสามารถใชเปน เกณฑในการจัดกลุม ลักษณะเนื้อสารและขนาดของอนุภาคสารก็เปนเกณฑหนึ่งที่ใชในการจัดกลุม สาร ถาใชเนื้อสารเปนเกณฑในการจัดกลุมจะจัดไดเปนสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม ถาใชขนาด ของอนุภาคสารเปนเกณฑ จะจัดไดเปนสารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลาย สารแตละกลุมมี สมบัติและองคประกอบตางกัน สารแขวนลอยประกอบดวยอนุภาคที่มีขนาดใหญมองเห็นไดดวย ตาเปลา เมื่อตั้งไวอนุภาคที่เปนของแข็งจะตกตะกอน คอลลอยดประกอบดวยอนุภาคที่มีขนาดใกล เคียงกับความยาวคลื่นแสง เมื่อฉายแสงผานจะทําใหเกิดการกระเจิงแสง สารละลายเปนของผสม เนื้ อ เดี ย วที่ ป ระกอบด ว ยตั ว ทํ าละลายและตั ว ละลายซึ่ ง มี อ นุ ภ าคขนาดเล็ ก กว า อนุ ภ าคในสาร แขวนลอยและคอลลอยด การละลายของสารขึ้นอยูกับชนิดของตัวทําละลาย สารละลายที่มีตัวทํา ละลายเทากัน ถามีปริมาณตัวละลายตางกันจะมีความเขมขนตางกัน สามารถเตรียมสารละลายที่ ความเขมขนในหนวยที่กําหนดได เชน รอยละโดยมวลตอมวล รอยละโดยมวลตอปริมาตร รอยละ โดยปริมาตรตอปริมาตร บทนี้ควรใชเวลาประมาณ 14 ชั่วโมง 1.1 การจําแนกสารรอบตัว หัวขอนีมจุดมุงหมายใหสํารวจสมบัติทางกายภาพของสาร เชน ลักษณะเนื้อสาร ขนาดของ ้ ี อนุภาคสาร เพื่อใชเปนเกณฑในการจัดกลุมสาร แลววางแผน ออกแบบ หรือสรางแบบจําลอง แสดงการทํานํ้าใหสะอาดโดยใชความรูเรื่องลักษณะเนื้อสารและขนาดของอนุภาคสาร
  • 2. 50 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. สํารวจ สังเกต สมบัติทางกายภาพของสารเพื่อใชเปนเกณฑในการจัดกลุมสาร และ อธิบายลักษณะของสารแตละกลุม 2. จัดกลุมสารไดเปนสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสมโดยใชลักษณะเนื้อสารเปนเกณฑ  3. จัดกลุมสารไดเปนสารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลายโดยใชขนาดของอนุภาค สารเปนเกณฑ 4. อธิบายสมบัติและยกตัวอยางสารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลายที่พบในชีวิต ประจําวัน 5. อธิบายการแยกสิ่งเจือปนออกจากนํ้าโดยการเติมสารบางอยางใหส่ิงเจือปนตกตะกอน และการกรอง 6. ออกแบบและสรางเครื่องกรองนํ้ าที่มีการเติมสารใหสิ่งเจือปนตกตะกอนและ/หรือ กรองสิ่งเจือปน 7. รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการทํานํ้าใหสะอาด นําเสนอขอมูลในรูปแบบตาง ๆ รวมทั้ง แบบจําลองแสดงวิธการทํานํ้าใหสะอาดที่ใชในทองถิ่น ี ผูเ รียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการจัดหมวดหมูสินคาที่ขายในตลาดสด ในรานชําใกลบาน ในโรงอาหารของโรงเรียน การจัดวางสิ่งของในบาน หรือการจัดหนังสือเปนหมวดหมูในหองสมุด ของโรงเรียน โดยรวมกันอภิปรายวาการจัดหมวดหมูสิ่งของในแตละแหงนั้น จัดอยางไร ใชอะไร เปนเกณฑ เพื่อนําเขาสูกิจกรรม 1.1 กิจกรรม 1.1 การจัดกลุมสารรอบตัว กิจกรรมนี้มีจุดมุงหมายเพื่อสํารวจ สังเกต สมบัติทางกายภาพของสาร และใชสมบัติของ สารเปนเกณฑในการจัดกลุมสาร จุดประสงคของกิจกรรม 1. สังเกต เปรียบเทียบสมบัติ ลักษณะที่ปรากฏของสารรอบตัว และอธิบายลักษณะของ สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม 2. จัดกลุมสารเปนสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม โดยใชลักษณะเนื้อสารเปนเกณฑ  3. ยกตัวอยางสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสมในชีวิตประจําวัน เวลาที่ใช อภิปรายกอนกิจกรรม 10 นาที ทํากิจกรรม 20 นาที อภิปรายหลังกิจกรรม 30 นาที
  • 3. 51 รวม 60 นาที วัสดุอุปกรณและสารเคมี รายการ ปริมาณตอ 10 กลุม 1. ขาวสุก แกงจืด ดิน นมสด กระดาษ นํ้าตาล ชนิดละ 10 g หรือ 10 cm3 ทราย นํ้าอัดลม นํ้าโคลน นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นําแปงสุก นํ้ากลั่น และสารอื่น ๆ ที่ผูเรียนสน ้ ใจนํามาทํากิจกรรม แนวการจัดกิจกรรม ผูเ รียนชวยกันจัดหาสารตัวอยางตามความสนใจของแตละกลุม โดยครูควรจะจัดหาไวดวย 1 ชุด ตามกิจกรรม 1.1 สังเกตลักษณะของสารแตละชนิดโดยละเอียด ไดแก ลักษณะเนื้อสาร สถานะ สี กลิน แลวพิจารณาความเหมือน ความแตกตางของสารแตละชนิด เพื่อจัดสารเปนกลุมโดยใช ่ สมบัตตาง ๆ เปนเกณฑในการจัดกลุม จากนั้นนําเสนอผลการจัดกลุมสารและเกณฑที่แตละกลุมใช ิ ในการจัดกลุมสาร รวมกันพิจารณาเปรียบเทียบการจัดกลุมสารที่ใชเกณฑตาง ๆ กัน อภิปรายหลังการทํากิจกรรม ผูเ รียนแตละกลุมอาจใชสถานะ สี กลิ่น ลักษณะเนื้อสาร เปนเกณฑในการจัดกลุมสาร ผลการจัดสารของแตละกลุมแตกตางกัน เชน • ใชสถานะ - สารที่เปนของแข็ง ไดแก ขาวสุก ดิน กระดาษ นํ้าตาลทราย - สารที่เปนของเหลว ไดแก แกงจืด นมสด นํ้าอัดลม นํ้าโคลน นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นํ้าแปงสุก นํ้ากลั่น • ใชลกษณะเนื้อสาร - สารที่มลักษณะเปนเนื้อเดียวตลอด ไดแก ขาวสุก นมสด ั ี กระดาษ นํ้าตาลทราย นํ้าอัดลม นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นํ้าแปง สุก นํ้ากลั่น - สารที่ไมเปนเนื้อเดียวตลอด ไดแก แกงจืด ดิน นํ้าโคลน • อื่น ๆ ถาจัดกลุมโดยใชลักษณะของเนื้อสารเปนเกณฑ อาจจัดไดเปนสารที่มีลักษณะเปนเนื้อ เดียวกับสารที่ไมเปนเนื้อเดียว จากผลการทํากิจกรรม การตอบคําถาม และการอภิปราย ควรสรุปไดวาถาใชเกณฑตางกันจะ  จัดกลุมสารรอบตัวไดตาง ๆ กัน ถาใชลักษณะเนื้อสารเปนเกณฑจะจัดสารไดเปน 2 กลุม คือสารที่มี  เนือเดียวตลอด อาจประกอบดวยสารเพียงชนิดเดียวหรือมากกวา 1 ชนิดก็ได และสารที่ไมเปนเนื้อ ้ เดียวตลอด ประกอบดวยสารมากกวา 1 ชนิด สามารถแยกไดดวยตาเปลา
  • 4. 52 เราอาจนําความรูเกี่ยวกับการจัดกลุมสารรอบตัวไปใชประโยชน เชน การจัดสิ่งของเครื่องใช เครืองแตงกาย หรือหนังสือตาง ๆ ใหเปนระเบียบเรียบรอยตามลักษณะการใชงาน ทําใหหยิบใชได ่ สะดวก ถูกตอง และไมเกิดการสูญหาย ใหผูเรียนอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับสารที่มีลักษณะเปนสารเนื้อเดียว แตยังไมสามารถสรุปได วาสารนั้นมีองคประกอบเพียงชนิดเดียว ตามรายละเอียดในบทเรียน เพื่อนําเขาสูเรื่องการจัดกลุม สาร 1.1.1 การจัดกลุมสารตามลักษณะเนื้อสารและขนาดของอนุภาค ผูเ รียนอภิปรายเกี่ยวกับการแยกของที่ผสมกันโดยการคัดขนาดของสาร เชน การรอนผาน ตะแกรง และยกตัวอยางของเหลวที่พบในชีวิตประจําวัน เชน นํ้าโคลน นมสด นํ้าหวานที่มีสี นํ้า เกลือ นําเชื่อม นํ้าสมสายชู นํ้าแปง นํ้าหมึก ถามีตัวอยางมาศึกษา ใหสังเกตลักษณะและอภิปราย ้ รวมกันเกียวกับลักษณะของของเหลวแตละชนิด ประกอบดวยอะไรบาง สารที่มีลักษณะเปนเนื้อ ่ เดียวมีองคประกอบเพียงชนิดเดียวหรือไม ทราบไดอยางไร ถาตองการทราบวาอนุภาคที่เปนองค ประกอบในของเหลวแตละชนิดมีขนาดตางกันอยางไร จะตรวจสอบไดอยางไร เพื่อนําไปสูการทํา กิจกรรม 1.2 กิจกรรม 1.2 การตรวจสอบขนาดของเนื้อสาร จุดประสงคของกิจกรรม 1. อธิบายสมบัติและยกตัวอยางสารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลายที่พบในชีวต ิ ประจําวัน 2. ตรวจสอบและเปรียบเทียบขนาดของอนุภาคสารในนํ้าโคลน นมสด และนํ้าหวานสี แดงโดยใชกระดาษกรองและเซลโลเฟน 3. ใชขนาดของอนุภาคสารเปนเกณฑในการจัดกลุมสารไดเปนสารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลาย เวลาที่ใช อภิปรายกอนกิจกรรม 10 นาที ทํากิจกรรม 40 นาที อภิปรายหลังกิจกรรม 30 นาที รวม 80 นาที
  • 5. 53 วัสดุอุปกรณและสารเคมี รายการ ปริมาณตอ 10 กลุม 1. นําโคลน (หรือนํ้าแปงดิบ 1%) ้ 200 cm3 2. นมสด (หรือนํ้าแปงสุก 1%) 200 cm3 3. นําหวานที่ใสสี (หรือนํ้าสีผสมอาหาร 0.5%) ้ 200 cm3 4. บีกเกอรขนาด 50 cm3 60 ใบ 5. บีกเกอรขนาด 250 cm3 3 ใบ 6. กระดาษกรองขนาด ∅ 11 cm 30 แผน 7. กระดาษเซลโลเฟนขนาด 10 cm × 10 cm 30 แผน 8. กรวยพลาสติก 10 อัน 9. ขวดรูปกรวย ขนาด 250 cm3 10 ใบ 10. แทงแกวคนสาร 10 อัน 11. ขาตั้งพรอมที่จับ 10 ชุด 12. ยางรัดของ 30 เสน 13. ชอนตักสารเบอร 2 10 อัน การเตรียมลวงหนา 1. ตัดกระดาษเซลโลเฟนขนาด 10 cm × 10 cm กลุมละ 3 แผน 2. เตรียมนํ้าโคลน โดยใชนํ้าโคลน 1 cm3 ผสมนํ้ากลั่น หรือนํ้าประปา 250 cm3 คนใหเขา กัน หรือใชนํ้าแปงดิบแทน โดยใชแปงมัน 2.0 กรัม (ประมาณ 2 ชอนเบอร 2) ผสมกับ นํ้ากลั่น 200 cm3 คนใหเขากัน 3. เตรียมนมสด โดยใชนมสด 2.0 cm3 ผสมกับนํ้ากลั่นใหไดปริมาตรรวม 200 cm3 คนให เขากัน หรือใชน้าแปงสุกแทน โดยใชแปงมัน 2.0 กรัม (ประมาณ 2 ชอนเบอร 2) ละลาย ํ ในนํ้า 50 cm3 คนใหเขากัน แลวเติมนํ้าเดือดลงไปใหไดปริมาตรรวม 200 cm3 4. เตรียมนํ้าหวานที่ใสสี โดยใชนํ้าหวานเขมขน 2.0 cm3 ผสมกับนํ้ากลั่นใหไดปริมาตร รวม 200 cm3 หรือใชนํ้าสี โดยใชสีผสมอาหารครึ่งชอนเบอร 1 ละลายในนํ้ากลั่น 200 cm3 คนใหเขากัน หมายเหตุ นําโคลน นมสด นํ้าแปง ควรเตรียมใหมทุกครั้งกอนการทํากิจกรรม ้ อภิปรายกอนกิจกรรม 1. แนะนําวิธการทํากิจกรรม เชน ใชแทงแกวคนนํ้าโคลนหรือนํ้าแปงดิบทุกครั้งกอนที่จะ ี นําไปทดลอง เพราะนํ้าโคลนหรือนํ้าแปงดิบตกตะกอนไดงาย
  • 6. 54 2. ผูเรียนตองสังเกตนํ้าในบีกเกอรทั้งกอนและหลังแชถุงเซลโลเฟน วามีลักษณะแตกตาง กันหรือไม อยางไร 3. เพือเปนการประหยัดเวลาและสารที่ใช อาจใหผูเรียนแตละกลุมตรวจสอบสารตัวอยาง ่ เพียง 1 ชนิด แลวนําผลมาอภิปรายรวมกัน ตัวอยางผลการทํากิจกรรม ลักษณะของเหลว ผลที่สังเกตได สารตัวอยาง ที่สังเกตได เมื่อกรองดวยกระดาษกรอง เมื่อผานเซลโลเฟน 1. นํ้าโคลน สีเทาดําขุน มีตะกอน มีตะกอนเทาดําติดอยูบน นํ้าในบีกเกอรไม กระดาษกรอง และไดของ เปลี่ยนแปลง เหลวใส (นํ้าแปงดิบ) สีขาวขุน มีตะกอน มีตะกอนขาวติดอยูบน นํ้าในบีกเกอรไม กระดาษกรอง และไดของ เปลี่ยนแปลง เหลวใส 2. นมสด สีขาวขุน ไมมตะกอน ไมมีสารตกคางบนกระดาษ ี นํ้าในบีกเกอรไม กรอง และไดของเหลวสีขาว เปลี่ยนแปลง ขุน (นํ้าแปงสุก) ของเหลวขุนเล็กนอย ไมมีสารตกคางบนกระดาษ นํ้าในบีกเกอรไม ไมมีตะกอน กรอง ไดของเหลวขุนเล็ก เปลี่ยนแปลง นอย 3. นําหวานใสสี ของเหลวใสมีสี ้ ไดของเหลวใสมีสี นํ้าในบีกเกอรมีสี (นํ้าสี) ของเหลวใสและมีสี ไดของเหลวใสและมีสเี ดียว นํ้าในบีกเกอรมีสเี ดียว เดียวกับสีที่ใชเตรียม กับสีที่ใชเตรียม กับสีที่ใชเตรียม อภิปรายหลังกิจกรรม จากผลการทํากิจกรรม การตอบคําถามทายกิจกรรม และการอภิปรายในกลุม แลวนําขอสรุป ของแตละกลุมมาอภิปรายรวมกัน เพื่อชวยกันสรุปสมบัติที่ตางกันของสารตัวอยางทั้ง 3 ชนิด ขอ สรุปที่ไดอาจเปนดังนี้ สารตัวอยางที่นํามาทํากิจกรรม เมื่อแบงตามลักษณะสาร จะแบงได 3 กลุม คือ กลุมที่ 1 มีลกษณะขุนหรือทึบแสง เมื่อตั้งไวจะตกตะกอน ไดแก นํ้าโคลนหรือ ั นํ้าแปงดิบ
  • 7. 55 กลุมที่ 2 มีลกษณะขุน ทึบแสงหรือโปรงแสง ตั้งไวไมตกตะกอน ไดแก นมสด ั หรือนํ้าแปงสุก กลุมที่ 3 มีลกษณะใส ตั้งไวไมตกตะกอน ไดแก นํ้าหวานสีแดงหรือนํ้าสี ั เมื่อตรวจสอบการผานกระดาษกรองและถุงเซลโลเฟน รวมทั้งการอภิปรายความรูในบท เรียน จะสรุปไดวา - นํ้าโคลนหรือนํ้าแปงดิบไมสามารถผานทั้งกระดาษกรองและถุงเซลโลเฟน แสดงวา อนุภาคของสารในนํ้าโคลนหรือนํ้าแปงดิบมีขนาดใหญกวารูพรุนของกระดาษทั้งสอง ชนิด เมือตั้งทิ้งไวจะตกตะกอน สารกลุมนี้จัดเปนสารแขวนลอย ่ - นมสดหรือนํ้าแปงสุกสามารถผานกระดาษกรองได แตไมผานถุงเซลโลเฟน แสดงวา อนุภาคของสารในนมสดและนํ้าแปงสุกมีขนาดเล็กกวารูพรุนของกระดาษกรอง แต ใหญกวารูพรุนของถุงเซลโลเฟน เมื่อตั้งทิ้งไวไมตกตะกอน สารกลุมนี้จัดเปนคอล ลอยด - นํ้าหวานที่มีสีหรือนํ้าสีสามารถผานไดทั้งกระดาษกรองและถุงเซลโลเฟน แสดงวา อนุภาคของสารที่มีสีในนํ้าหวานหรือนํ้าสีเล็กกวารูพรุนของกระดาษทั้งสองชนิด เมื่อ ตังทิงไว ไมตกตะกอน สารกลุมนี้จัดเปนสารละลาย ้ ้ - การจัดกลุมสารโดยใชขนาดของอนุภาคสารเปนเกณฑ จะจัดไดเปนสารแขวนลอย คอลลอยด สารละลาย อภิปรายตอไปวาสารที่พบในชีวิตประจําวัน มีทั้งสารแขวนลอย เชน นํ้าคลอง คอลลอยด เชน นมสด และสารละลาย เชน นํ้าหวาน สารแตละกลุมมีสมบัติตางกัน อาจนําความรูเกี่ยวกับการตรวจสอบขนาดของเนื้อสารไปใชประโยชน เชน การใชแผน กรองอากาศในเครื่องปรับอากาศ หรือเครื่องฟอกอากาศ เพื่อกําจัดฝุนละอองออกจากอากาศ การ กรองกากมะพราวออกจากนํ้ากะทิ โดยใชผาขาวบางหรือกระชอนกรอง การกรองแปงที่โมละเอียด ออกจากนําแปง โดยใชถุงผาดิบ ทําใหไดนํ้ากะทิ หรือแปงผง ไปใชประโยชนตามตองการ ้ จากกิจกรรม 1.2 ทําใหทราบวานํ้าโคลนหรือนํ้าจากแหลงนํ้าตามธรรมชาติตาง ๆ เชน แมนา ลําคลอง หนอง บึง แตละแหลงมีลักษณะตางกัน ทั้งสี กลิ่น ความขุน เนื่องมาจากสารเจือปน ํ้ ที่อยูในนํ้าซึ่งบางชนิดเปนสารแขวนลอยที่อนุภาคมีขนาดใหญกวารูของกระดาษกรอง เมื่อจะใช ประโยชนจากแหลงนํ้าเหลานั้น จะมีวิธีแยกสิ่งเจือปนที่อยูในนํ้าออกไดอยางไร จากนั้นใหผูเรียน ทํากิจกรรม 1.3
  • 8. 56 กิจกรรม 1.3 การแยกสิ่งเจือปนในนํ้า จุดประสงคของกิจกรรม 1. อธิบายหลักการแยกสิ่งเจือปนออกจากนํ้ าไดโดยการเติมสารบางอยางใหสิ่งเจือปน ตกตะกอนและการกรอง 2. ออกแบบและทํ าเครื่องกรองนํ้ าที่เติมสารใหสิ่งเจือปนตกตะกอนและ/หรือกรองสิ่ง เจือปน 3. รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการทํานํ้าใหสะอาด รวมทั้งนําเสนอขอมูลในรูปแบบตาง ๆ รวมทั้งเสนอแบบจําลองแสดงวิธีการทํานํ้าใหสะอาด เวลาที่ใช อภิปรายกอนกิจกรรม 10 นาที ทํากิจกรรม 60 นาที อภิปรายหลังกิจกรรม 30 นาที รวม 100 นาที วัสดุอุปกรณและสารเคมี รายการ ปริมาณตอ 10 กลุม 1. นําจากแหลงตาง ๆ อยางละ (ประมาณ 5 แหง) ้ 100 cm3 2. นํ้ากลั่น 100 cm3 3. สารสม (หรือ FeCl3) 25 กรัม 4. หลอดทดลองขนาดใหญ 50 หลอด 5. บีกเกอรขนาด 50 cm3 50 ใบ 6. กรวยกรอง 10 อัน 7. ขวดรูปกรวย ขนาด 250 cm3 10 ใบ 8. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 10 ใบ 9. แทงแกวคนสาร 10 อัน 10. ชอนตักสาร 10 อัน 11. ขาตั้งพรอมที่จับหลอดทดลอง 10 ชุด 12. กระดาษกรองขนาด ∅ 11 cm 50 แผน 13. ที่ต้งหลอดทดลอง ั 10 อัน
  • 9. 57 การเตรียมลวงหนา ใหผเู รียนชวยกันจัดหานํ้าจากแหลงตาง ๆ อยางละ 10 cm3 โดยครูควรจัดเตรียมไวดวย จํานวน 1 ชุด เชน นํ้าทิ้งจากครัวเรือน โรงอาหาร นํ้าจากแมนํ้า นํ้าคลอง นํ้าบอ เปนตน อภิปรายกอนกิจกรรม 1. ใหผูเรียนฝกเขยาหลอดทดลองที่มีนํ้าประปา โดยเคาะหลอดทดลองกับฝามือเบา ๆ (ตามรูปในหนังสือเรียนหนา 27) ไมใชนิ้วอุดปากหลอดแลวเขยา หรือเคาะหลอดกับ โตะ 2. การเติมสารสม ใหใชชอนเบอร 1 ตักสารใสลงไป 1 ชอน (1 ชอนเต็มปาด จะได สารสมประมาณ 0.5 กรัม) ตัวอยางผลการทํากิจกรรม ผลที่สังเกตได นํ้าจากแหลงนํ้าตาง ๆ สี กลิ่น ความขุน เมื่อผานกระดาษกรอง เมื่อเติมสารสม นํ้าโคลน นํ้าตาล มีกลิ่น ขุน ใสขึ้น แตยังมีตะกอนอยูบาง ใส มีตะกอนที่กนภาชนะ นํ้าแมนํ้า นํ้าตาล มีกลิ่น ขุน ใสขึ้น แตยังมีตะกอนอยูบาง ใส มีตะกอนที่กนภาชนะ นํ้าบอบาดาล ไมมีสี มีกลิ่น ใส ใส ใส นํ้าคลอง นํ้าตาล มีกลิ่น ขุน ใสขึ้น แตยังมีตะกอนอยูบาง ใส มีตะกอนที่กนภาชนะ นํ้ากลั่น ไมมีสี ไมมีกลิ่น ใส ใส ไมเปลี่ยนแปลง ใส ไมเปลี่ยนแปลง นํ้าทิ้งจากครัวเรือน ขุน มีนํ้ามันที่ มีกลิ่น ขุน ใสขึ้น แตยังมีน้ามันลอยที่ ํ ใส มีตะกอนที่กนภาชนะ  ผิวหนา ผิวหนา แตยังคงมีนํ้ามันลอยอยู อภิปรายหลังกิจกรรม นําทีใส ไมมีสี ยังอาจมีสิ่งเจือปน เพราะเมื่อเติมสารบางชนิดแลวไดตะกอนเกิดขึ้น ้ ่ ในนํ้ามีสิ่งเจือปนในรูปของสารแขวนลอย สารละลาย จากผลการทํากิจกรรม การตอบคําถามและการอภิปรายตามเนื้อหาในบทเรียน ควรไดขอ สรุปวานํ้าที่ใส ไมมีสี ยังอาจมีสิ่งเจือปน ซึ่งอาจเปนสารแขวนลอยหรือสารละลายก็ได การแยก สารที่เจือปนอยูในนํ้าทําไดหลายวิธี เชน • การกรอง โดยใชกระดาษกรอง ซึ่งเปนวิธีแยกสารที่ไมละลายนํ้าออกจากนํ้าหรือของ เหลว โดยสารเหลานั้นมีขนาดใหญกวารูพรุนของกระดาษกรอง จึงติดคางอยูบน กระดาษกรอง สวนนํ้าหรือของเหลวจะผานรูพรุนกระดาษกรองไปได นํ้าหรือของเหลว ทีกรองไดจะใสขึ้น ่
  • 10. 58 • การเติมสารบางอยางลงไป เชน สารสม หรือไอรออน (III) คลอไรด, FeCl3 ทําใหสาร เจือปนตาง ๆ ตกตะกอน ไดนํ้าหรือของเหลวสวนบนที่ใสแยกจากกันไดงาย • สําหรับนําทิ้งจากครัวเรือน หรือนํ้าทิ้งที่มีน้ามันปนนั้น อาจแยกนํ้ามันออกไดบาง โดย ้ ํ ทําเครื่องกรองนํ้ามันอยางงายจากขวดนํ้าพลาสติก ขนาด 5 ลิตร หรือ 2 ลิตร โดยนําขวด นํ้ามาผากนขวดออก วางควํ่าลงจะมีลักษณะคลายกรวยกรอง แลวใสเศษวัสดุพวกขน เปด ขนไก เศษฟางขาว ตนออ กากชา เชือกฟางฉีกฝอย อยางใดอยางหนึ่ง ใสไวในขวด ใหเต็ม เศษวัสดุจะชวยดูดซับนํ้ามันไว ชวยลดปริมาณนํ้ามัน ไขมัน ที่ปนเปอนในนํ้าทิ้ง กอนปลอยออกสูสิ่งแวดลอม พรอมทั้งคอยเปลี่ยนเศษวัสดุบอย ๆ  อาจใหผูเรียนชวยกันออกแบบและทําชุดการกรองอยางงายโดยใชกอนถาน กรวดหยาบ (ขนาดประมาณเทาเมล็ดถั่วเขียว) กรวดละเอียด ทรายหยาบ และทรายละเอียด เปนวัสดุที่ใชกรอง นํ้ าใหใสขึ้น ตรวจสอบการใชงานโดยเปรียบเทียบนํ้าที่ยังไมผานเครื่องกรองกับนํ้าที่ผานเครื่อง กรองแลว จากนั้นนําชุดกรองนํ้าที่ไดนี้ไปปรับปรุงใหดีขึ้น เพื่อนําไปใชกรองนํ้าใชตอไป อภิปรายตอไปวา การกรองและการเติมสารบางชนิดใหสิ่งเจือปนตกตะกอนยังอาจแยกสิ่ง เจือปนออกจากนํ้าไมหมด นํ้าที่เห็นวาใสนั้นสะอาดพอที่จะใชบริโภคไดหรือไม ยังมีสารใดที่อาจ จะเจือปนอยูในนํ้าที่ใสบาง ถาตองการนํ้าสะอาดสําหรับการบริโภคจะตองทําอยางไร การทํานํ้าให สะอาดแตละกระบวนการตองมีคาใชจายเทาไร ทําอยางไรจึงจะลดคาใชจายในการทํานํ้าใหสะอาด พรอมทั้งชวยกันตอบคําถาม ทุก ๆ คนที่อยูภายในบาน ภายในชุมชน ทองถิ่น ตลอดจนทุกคนภายในประเทศตาง ๆ ทัวโลก ควรมีสวนรวมกันเฝาระวังรักษาคุณภาพของนํ้าและอนุรักษแหลงนํ้า เพราะวา ่ นํ้าจืดเปนทรัพยากรธรรมชาติที่จําเปนสําหรับสิ่งมีชีวิตทุกชีวิตที่อยูบนโลกนี้ ถาขาด นํ้าสะอาดแลวทุกๆชีวิตบนโลกนี้ก็จะมีชีวิตอยูไมได ดังนั้นจึงตองสรางจิตสํานึกรวม กันที่จะชวยกันดูแลรักษาคุณภาพนํ้าและอนุรักษแหลงนํ้าในธรรมชาติใหคงอยูตลอด ไป จากนันใหผูเรียนรวมกันทํากิจกรรมเพิ่มเติม ้ แนวการทํากิจกรรมเพิ่มเติม กิจกรรมนี้มีจุดมุงหมายใหผูเรียนไดสืบคนขอมูลจากแหลงความรูตาง ๆ เกี่ยวกับการทํา นําใหสะอาด เชน จากหนังสือ เอกสารในหองสมุด การประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค ้ หนวยงานที่ผลิตนํ้าประปาในทองถิ่น วิทยากรในชุมชน อินเทอรเน็ต เปนตน จากนั้นสรางแบบ จํ าลองแสดงกระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้ า แลวนํ ามาเสนอในชั้นเรียนหรือจัดแสดงในรูป นิทรรศการ โปสเตอร หรืออื่น ๆ
  • 11. 59 ตัวอยางผลการทํากิจกรรม การทํานํ้าประปาใหสะอาดมีหลายวิธี เชน - การนํานํ้าประปามาตม - การกรองผานเครื่องกรองนํ้า - การกลั่น เปรียบเทียบวิธีการตาง ๆ ที่ใชในการทํานํ้าใหสะอาด - การตม โดยการนํานํ้าประปามาตม เปนวิธการที่สะดวก ประหยัด อุปกรณ ี งาย ๆ มีเพียงกาตมนํ้ากับเตาไฟเทานั้น และไดนํ้าที่สะอาดดวย เนื่องจากนํ้า ประปาไดผานกระบวนการผลิตมาแลว ซึ่งเปนนํ้าที่ดื่มได เมื่อนํามาตมให เดือดนานประมาณ 5 นาที จึงเปนนํ้าที่สะอาด ปราศจากเชื้อโรค - การกรองผานเครื่องกรองนํ้ า ถานํ านํ้ าประปามาผานเครื่องกรองนํ้ าที่เปน คอลัมน ซึ่งมีเม็ดเรซินชนิดแลกเปลี่ยนไอออนบวก (cation exchange resin beads) เม็ ดเรซินเหลานั้นจะทํ าหนาที่จับแคลเซียมไอออน (Ca2+) และ แมกนีเซียมไอออน (Mg2+) ซึงเปนสาเหตุทําใหนํ้ากระดางไว นํ้าที่ผานเครื่อง ่ กรองนํ้าจึงเปนนํ้าออนที่สะอาด แตอปกรณก็มีราคาคอนขางแพง เครื่องกรอง ุ นําบางชนิดที่มีอุปกรณสรางแสง UV หรือโอโซนสําหรับฆาเชื้อโรคดวยแสง ้ ยังมีราคาแพง แตก็จะไดนํ้าที่สะอาดยิ่งขึ้น - การกลั่น เปนวิธีการทํานํ้าใหสะอาดที่ดีที่สุด แตเปนวิธีที่แพง และอุปกรณก็ ซับซอน นํ้าที่ไดไมมีรสชาติ จึงไมนิยมนํามาใชทํานํ้าดื่ม แตเหมาะสําหรับใช ผสมทําเครื่องสําอาง ยานํ้า ยาฉีด เปนตน ควรใชเวลาสําหรับตอนนี้ประมาณ 60 นาที ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู เครื่องกรองนํ้าดื่มสําหรับบาน* อุปกรณ 1. โองขนาดกลาง สูงประมาณ 45 cm (18 นิ้ว) หรือขนาดจุน้าประมาณ 2 ปบ จํานวน 3 ํ ใบ 2. สายยางใส เสนผานศูนยกลาง 0.5 cm ยาวประมาณ 2 m 3. ขั้วตอสายยาง 2 อัน
  • 12. 60 วิธีเจาะ 1. เจาะตุมดวยคอนกับตะปูคอนกรีต กวางพอคับสายยาง 2. โอง 1 เจาะ 1 รู สูงจากกนโองประมาณ 5 cm 3. โอง 2 และ 3 เจาะ 2 รู รูลาง ใหเสมอกันโองรูบนวัดจากปากโองลงมาประมาณ 5 – 7 cm ตอสายยาง 1. ตอสายยางจากรูที่กนโอง 1 กับสายยางที่รูกนโอง 2 โดยใชขั้วตอ 2. ตอสายยางจากรูที่ปากโอง 2 กับสายยางที่รูกนโอง 3 โดยใชข้วตอ ั 3. เสียบสายยางที่รูปากโอง 3 และปลอยสายยางทิ้งไว วิธีบรรจุกรวดและทราย 1. บรรจุกรวดและทรายละเอียดที่สะอาดในโอง 2 และโอง 3 โดยใสกรวดลงกอน ใหสูงพอ มิดสายยาง เพื่อกันไมใหทรายเขาไปอุดรูสาย ยาง 2. ใสทรายละเอียดลงไป ใหความสูงของทรายอยู ใตรูบนประมาณ 3 cm * สุพงษ พัฒนจักร. เครื่องกรองนํ้าดื่มสะอาดสําหรับชาวบาน ใน นํ้าดื่มสะอาดสําหรับชาวบาน เอกสารเผยแพรตามโครงการ เกลือคุณภาพ นํ้าปลาคุณภาพ นํ้าดื่มสะอาด : ศิริราช 21. กรุงเทพฯ, ม.ป.ป.
  • 13. 61 การยกระดับ ชวยใหการไหลของนํ้าดีขึ้น และปองกันการไหลยอนกลับ 1. โอง 1 สูงจากระดับพื้นประมาณ 50 cm 2. โอง 2 สูงจากระดับพื้นประมาณ 25 cm 3. โอง 3 สูงจากระดับพื้นประมาณ 7 cm วิธีกรอง 1. เทนํ้าลงในโอง 1 ใสคลอรีน และแกวงสารสม 10 – 15 รอบ (ใชคลอรีน 1 ชอนชา ตอ นํา 2 ปบ โดยประมาณ) ้ 2. นําจะไหลผานสายยางจากโอง 1 ไปยังโอง 2 ้ 3. นําจะถูกกรองโดยโอง 2 ผานกรวดและทรายเออขึ้นสวนทางกับแรงดึงดูดของโลกและ ้ ไหลออกทางสายยางที่ปากโอง 2 ไปยังกนโอง 3 4. นําจะถูกกรองจากโอง 3 เชนเดียวกับโอง 2 ้ 5. จํานวนนํ้าที่ไดจากโอง 3 ประมาณ 60 – 70 ลิตร /วัน วิธีการลางโอง เพียงถอดสายยางตรงขั้วตอออก ปลอยนํ้าจากกนโอง กรองที่ 2 และ 3 ออกจนหมดนํ้าขุนเทานั้น
  • 14. 62 ผูเ รียนอภิปรายรวมกันโดยการทบทวนผลการทํากิจกรรม 1.2 ซึ่งไดจาแนกสารรอบตัวเปน ํ สารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลาย โดยใชขนาดของอนุภาคเปนเกณฑ นอกจากขนาดของ อนุภาคแลว จะตรวจสอบสมบัติอื่น ๆ ของคอลลอยดไดอยางไรบาง ใหผูเรียนอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับปรากฏการณในชีวิตประจําวัน เชน การเห็นลําแสงใน อากาศทีมฝุนละอองหรือมีหมอก เพราะเหตุใดเราจึงมองเห็นลําแสงได เพื่อนําเขาสูกิจกรรม 1 .4 ่ ี กิจกรรม 1.4 สมบัติบางประการของคอลลอยด กิจกรรมนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาสมบัติบางประการของคอลลอยด และสามารถนําไปใช ประโยชนในชีวิตประจําวันได จุดประสงคของกิจกรรม 1. บอกความแตกตางที่เกิดจากการที่แสงสองผานสารแขวนลอย คอลลอยด และสาร ละลายได 2. ใชสมบัติการกระเจิงของแสงเพื่อตรวจสอบสารที่เปนคอลลอยดได 3. อธิบายปรากฏการณทินดอลลและยกตัวอยางปรากฏการณดังกลาวที่พบในชีวตประจํา ิ วันได เวลาที่ใช อภิปรายกอนกิจกรรม 5 นาที ทํากิจกรรม 20 นาที อภิปรายหลังกิจกรรม 35 นาที รวม 60 นาที วัสดุอุปกรณและสารเคมี รายการ ปริมาณตอ 10 กลุม 1. นํ้าเกลือ 1% 300 cm3 2. นํ้าดางทับทิม 0.1% 300 cm3 3. นมสด 1% 300 cm3 4. นํากะทิ 1% ้ 300 cm3 5. นํ้าโคลน 1% 300 cm3 6. นํ้าแปงสุก 0.1% 300 cm3 7. นํ้าสบู 1% 300 cm3 8. นํ้าเชื่อม 1% 300 cm3 9. นํ้ามันพืช 300 cm3
  • 15. 63 รายการ ปริมาณตอ 10 กลุม 10. นําหวานสีแดง ้ 300 cm3 11. บีกเกอรขนาด 50 cm3 10 ใบ 12. กระบอกไฟฉาย พรอมถาน 2 กอน (หรือ Laser pointer) 10 กระบอก 13. กระดาษแข็งขนาดปดดานหนากระบอกไฟฉาย พรอม 10 แผน เจาะรูตรงกลาง มี ∅ ประมาณ 0.5 cm การเตรียมลวงหนา ใหผเู รียนแตละกลุมชวยกันจัดหาของเหลวตาง ๆ ที่สนใจมากลุมละหนึ่งชนิด โดยเฉพาะ สารทีหาไดงายหรือเปนผลิตภัณฑในทองถิ่น เชน นํ้ามะพราว นํ้าออย นํ้าตาลสด นํ้าชา และครูควร ่ จะจัดหาไวอยางนอย 1 ชุด ดังในตาราง 1. นําเกลือ ใชเกลือ 3 ชอนเบอร 2 ผสมกับนํ้ากลั่น 300 cm3 คนจนเกลือละลายหมด ้ 2. นําดางทับทิม ใชดางทับทิม 1 ชอนเบอร 1 (ประมาณ 0.3 g) ผสมกับนํ้ากลั่น 300 cm3 ้ คนจนดางทับทิมละลายหมด 3. นมสด ใชนมสด 3 ชอนเบอร 2 ผสมกับนํ้ากลั่น 300 cm3 คนใหเขากัน 4. นํากะทิ ใชน้ากะทิ 3 ชอนเบอร 2 (ประมาณ 3 g) ผสมกับนํ้ากลั่น 300 cm3 คนใหเขา ้ ํ กัน 5. นํ้าโคลน ใชดิน 3 ชอนเบอร 2 (ประมาณ 3 g) ผสมกับนํ้ากลั่น 300 cm3 คนใหเขากัน 6. นําแปงสุก ใชแปงมัน 1 ชอนเบอร 1 (ประมาณ 0.3 g) ละลายในนํ้า 10 cm3 คนใหเขา ้ กัน แลวเติมนํ้าเดือดลงไปใหไดปริมาตร 300 cm3 7. นํ้าสบู ใชเศษสบู 3 ชอนเบอร 2 (ประมาณ 3 g) ละลายในนํ้า 300 cm3 คนใหเขากัน 8. นําเชื่อม ใชนํ้าเชื่อม 3 ชอนเบอร 2 (ประมาณ 3 g) ละลายในนํ้า 300 cm3 คนใหเขากัน ้ หรือใชนํ้าตาลทราย 3 ชอนเบอร 2 ละลายในนํ้า 300 cm3 9. นําหวานสีแดง ใชนํ้าหวานเขมขน 3 ชอนเบอร 2 (ประมาณ 3 g) ละลายในนํ้า 300 cm3 ้ คนใหเขากัน อภิปรายกอนกิจกรรม การฉายไฟฉาย หรือ Laser pointer ควรวางอุปกรณใหชิดบีกเกอร และอาจใชกระดาษสีดํา หรือสีเขมรองใตกนบีกเกอรและดานหลังบีกเกอร จะชวยใหสังเกตลําแสงไดงายขึ้น และควรทํา  การทดลองในที่ที่มีแสงสวางนอย ๆ จะเห็นชัดเจนขึ้น
  • 16. 64 ตัวอยางผลการทํากิจกรรม สารตัวอยาง ผลทีสังเกตไดเมื่อฉายแสงผาน ่ 1. นํ้าเกลือ มองไมเห็นลําแสงผานของเหลว 2. นํ้าดางทับทิม มองไมเห็นลําแสงผานของเหลว 3. นมสด มองเห็นลําแสงผานของเหลวอยางชัดเจน 4. นํ้ากะทิ มองเห็นลําแสงผานของเหลวอยางชัดเจน 5. นํ้าโคลน มองไมเห็นลําแสงผานของเหลว 6. นํ้าแปงสุก มองเห็นลําแสงผานของเหลวอยางชัดเจน 7. นํ้าสบู มองเห็นลําแสงผานของเหลวอยางชัดเจน 8. นํ้าเชื่อม มองไมเห็นลําแสงผานของเหลว 9. นํ้ามันพืช มองไมเห็นลําแสงผานของเหลว 10. นําหวานสีแดง ้ มองไมเห็นลําแสงผานของเหลว อภิปรายหลังกิจกรรม จากการทํากิจกรรม การตอบคําถาม การสืบคนขอมูลเพิ่มเติม และการอภิปรายรวมกัน ควร ไดขอสรุปวาเมื่อฉายแสงผานของเหลวที่มีสมบัติเปนคอลลอยด จะมองเห็นลําแสงอยางชัดเจน เนืองจากเกิดการกระเจิงของแสง เรียกวาปรากฏการณทินดอลล สวนสารแขวนลอยจะทึบแสง แสง ่ ไมสามารถผานได และสารละลายแสงผานไดตลอด จึงมองไมเห็นลําแสงในของเหลว พรอมทั้ง ชวยกันตอบคําถาม สารที่จัดเปนคอลลอยด ไดแก นมสด นํ้ากะทิ นํ้าแปงสุก นํ้าสบู ตรวจสอบได จากการกรองผานกระดาษกรองและเซลโลเฟน ดังรายละเอียดในกิจกรรม 1.2 ขนาดของสารที่เปนองคประกอบในของเหลว มีความสัมพันธกับการมองเห็นลํา แสงในของเหลว ถาอนุภาคของสารในของเหลวมีขนาดใหญ เชน ในสาร แขวนลอย และอนุภาคของสารในของเหลวมีขนาดเล็กมาก เชน ในสารละลาย จะ มองไมเห็นลําแสงในของเหลว แตถาเปนของเหลวที่มีสมบัติเปนคอลลอยด ซึ่ง อนุภาคของสารในของเหลวมีขนาดประมาณ 10-4 - 10-7 cm จะมองเห็นลําแสงใน ของเหลวได ผูเรียนอภิปรายเกี่ยวกับปรากฏการณทินดอลลในชีวิตประจําวัน และผลจากปรากฏการณ เชน การกระเจิงแสงของไฟหนารถยนตในอากาศที่มีฝุนละอองบางหรือมีหมอกบาง ทําใหแสงไฟ จากรถยนตมความสวางมากขึ้น เห็นไดชัดเจนขึ้น หรือการจุดคบเพลิงในถํ้าจะใหแสงสวางไดดีกวา ี ใชไฟฉาย เพราะในถํ้าไมมีฝุนละออง และใหชวยกันยกตัวอยางคอลลอยดที่พบในชีวิตประจําวัน
  • 17. 65 พรอมทั้งศึกษาชนิดและสถานะของคอลลอยดเพิ่มเติมจากตาราง 1.1 แลวอภิปราย เกี่ยวกับคอล ลอยดอกประเภทหนึ่งคือ อิมัลชัน ซึ่งเปนสารที่ใชในชีวิตประจําวัน ไดแก การใชสบูอาบนํ้า การใช ี สารซักฟอกในการซักลาง ตามรายละเอียดในบทเรียน เพื่อนําไปสูขอสรุปวาอิมัลชันเปนของเหลว  ทีเ่ กิดจากการรวมตัวของสาร 2 ชนิดที่ไมรวมกัน เมื่อตั้งไวจะแยกชั้น แตถาเติมสารบางชนิดที่มี สมบัติเปนอิมัลซิไฟเออร จะทําใหของเหลวนั้นรวมกันได ควรใชเวลาสําหรับตอนนี้ประมาณ 30 นาที ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู โดยปกติความยาวคลื่นของแสงขาวหรือแสงจากไฟฉายที่ใชมความยาวคลื่นประมาณ 308 ี – 720 nm (3.08 – 7.20 x 10-7 m) เมือฉายแสงผานไปในของเหลวใด ๆ ที่อนุภาคของสารในของ ่ เหลวกระจายปนอยูในของเหลวซึ่งโปรงแสง ถาสารที่กระจายปนอยูนั้นมีขนาดเล็กมาก คือมีเสน ผานศูนยกลางนอยกวาความยาวของคลื่นแสงที่ผานเขาไป แสงนั้นจะไมตกกระทบบนสาร จึงไม เกิดการสะทอนหรือการหักเหของแสง ทําใหมองไมเห็นวามีลําแสงผานของเหลวนั้น ถาสารที่กระจายปนอยูในของเหลวมีขนาดอนุภาคใหญพอ คือมีขนาดเสนผานศูนยกลาง ใกลเคียงกับความยาวของคลื่นแสง แสงจะตกกระทบบนอนุภาคสารและเกิดการสะทอนได และ เมือเกิดการสะทอนในทุก ๆ ทิศทาง ซึ่งเรียกวาเกิดการกระเจิง (scattering) ของแสง จะทําใหมอง ่ เห็นแสงผานของเหลวนั้น ในกรณีที่เลือกใช Laser pointer ( Laser = light amplification by stimulated emission of radiation) เปนแหลงกําเนิดแสง แสงที่ไดเปนแสงสีแดง ความยาวคลื่นประมาณ 630 – 680 nm (6.3 – 6.8 x 10-7 m) ซึงใกลเคียงกับขนาดของอนุภาคคอลลอยด จึงทําใหเกิดการกระเจิงแสงไดเชนกัน ่ แหลงการเรียนรู 1. หองสมุด (ดูที่ภาคผนวก) 2. อินเทอรเน็ต (ดูที่ภาคผนวก) 3. วีดทัศน (ดูที่ภาคผนวก) ิ 4. โรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหาร ยา ผลิตภัณฑของชุมชน 5. การประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค หรือหนวยงานที่ผลิตนํ้าประปาใน ทองถิ่น 6. ภูมิปญญาทองถิ่น
  • 18. 66 1.2 สารละลาย การเรียนในหัวขอนี้มีจุดมุงหมายใหผูเรียนรูจักสารละลายชนิดตาง ๆ ซึ่งมีอยูทั้ง 3 สถานะ และระบุสารที่เปนตัวละลาย ตัวทําละลาย ในสารละลายนั้น ๆ รวมทั้งบอกไดวาตัวละลายตางชนิด กัน สามารถละลายไดในตัวทําละลายตางกัน สําหรับปริมาณตัวละลายที่ละลายไดในตัวทําละลาย นิยมบอกเปนรอยละโดยมวลตอมวล รอยละโดยมวลตอปริมาตร รอยละโดยปริมาตรตอปริมาตร ในกรณีทมตวละลายอยูนอย อาจจะบอกความเขมขนเปนสวนในพันสวน (ppt) หรือ สวนในลาน ี่ ี ั สวน (ppm) ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. ตรวจสอบ อธิบายสมบัตและยกตัวอยางสารเนื้อเดียวและสารละลายในชีวตประจําวัน ิ ิ พรอมทั้งระบุตัวละลายและตัวทําละลาย 2. ออกแบบวิธีการตรวจสอบความสามารถในการละลายของตัวละลายชนิดเดียวกันใน ตัวทําละลายตางชนิด และความสามารถในการละลายของตัวละลายชนิดตาง ๆ ในตัว ทําละลายชนิดเดียวกัน 3. ยกตัวอยางการนําความรูเกี่ยวกับสารละลายของสารในตัวทําละลายตาง ๆ ไปใช ประโยชนในชีวิตประจําวันได 4. เตรียมสารละลายที่มีความเขมขนตามหนวยที่กําหนดได และระบุไดวาสารละลายที่ เตรียมไดมีสารใดเปนตัวละลาย และสารใดเปนตัวทําละลาย 5. เตรียมสารละลายที่เจือจางไดจากสารละลายที่เขมขนกวา และบอกความเขมขนของ สารละลายที่เตรียมไดในหนวยสวนในพันสวน (ppt) 6. ยกตัวอยางการบอกความเขมขนของสารละลายที่มีหนวยเปนสวนในพันสวน 7. อธิบายความหมายของคําตอไปนี้ได สารละลาย ตัวทําละลาย ตัวละลาย ความเขมขน ของสารละลาย รอยละโดยมวลตอมวล รอยละโดยมวลตอปริมาตร รอยละโดย ปริมาตรตอปริมาตร สวนในพันสวน ใหผูเรียนรวมกันอภิปรายทบทวนกิจกรรม 1.2 เรื่องการตรวจสอบขนาดของสาร ซึ่งจัด กลุมสารไดเปนสารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลาย สําหรับสารละลายที่มองเห็นวาใส และ เปนเนือเดียวนั้น จะมีองคประกอบอยางไรบาง ใหศึกษาจากกิจกรรม 1.5 ้ กิจกรรม 1.5 การตรวจสอบองคประกอบของสารเนื้อเดียว จุดประสงคของกิจกรรม 1. ตรวจสอบและแยกองคประกอบของสารเนื้อเดียวโดยการระเหยแหง
  • 19. 67 2. ระบุตวละลายและตัวทําละลายในสารละลายที่พบในชีวิตประจําวัน ั 3. อธิบายสมบัติและยกตัวอยางสารเนื้อเดียวและสารละลายในชีวิตประจําวัน เวลาที่ใช อภิปรายกอนกิจกรรม 10 นาที ทํากิจกรรม 30 นาที อภิปรายหลังกิจกรรม 50 นาที รวม 90 นาที วัสดุอุปกรณและสารเคมี รายการ ปริมาณตอ 10 กลุม 1. นํ้าเชื่อม 1% 10 cm3 2. นํ้าเกลือ 1% 10 cm3 3. นํ้าอัดลม 10 cm3 4. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 10 ใบ 5. จานหลุมโลหะ 10 อัน 6. ตะเกียงแอลกอฮอลพรอมที่กั้นลม 10 ชุด 7. คีมคีบโลหะ 10 อัน การเตรียมลวงหนา เตรียมสารละลายตาง ๆ ดังนี้ - นํ้าเชื่อม นํานํ้าตาลทราย 0.1 g มาละลายในนํ้า ตั้งไฟจนนํ้าตาลทรายละลาย หมด ทําใหมีปริมาตรเปน 10 cm3) - นําเกลือ นําเกลือ 0.1 g มาละลายในนํ้า ทําใหมีปริมาตรเปน 10 cm3 จะไดสาร ้ ละลายเขมขน 1% - นําอัดลม ใชนํ้าอัดลมชนิดที่ไมผสมสี ้ อภิปรายกอนกิจกรรม 1. การตมของเหลวในจานหลุมโลหะ ตองคอยระวังอยาใหของเหลวเดือดแรงเกินไป เพราะของเหลวจะกระเด็นออกมา 2. การใชตะเกียงแอลกอฮอล ใหใสแอลกอฮอลประมาณ 2/3 ของตัวตะเกียง ไมควรดึงไส ตะเกียงขึนมาสูงเกินไป เมื่อจะจุดตะเกียงใหจุดดวยไมขีดไฟ หามยกตะเกียงจุดตอกัน ้ เมือจะดับตะเกียงใหใชปดดวยฝาครอบตะเกียง อยาใชปากเปา ่
  • 20. 68 ตัวอยางผลการทํากิจกรรม ของเหลวตัวอยาง ลักษณะของเหลวที่สังเกตได ผลที่สงเกตไดเมื่อนําไปตมจนแหง ั 1. นํ้าเชื่อม ของเหลวใสสีน้าตาลออน ํ มีตะกอนละเอียดสีขาวอยูกนจานหลุม 2. นํ้าเกลือ ของเหลวใส ไมมีสี มีตะกอนละเอียดสีขาวอยูกนจานหลุม 3. นํ้าอัดลม ของเหลวใส ไมมีสี มีตะกอนละเอียดสีขาวอยูกนจานหลุม อภิปรายหลังกิจกรรม จากผลการทํากิจกรรม การตอบคําถาม การอภิปรายรวมกัน ควรสรุปไดวาสารที่มีลักษณะ  ใส เปนเนื้อเดียว อาจมีองคประกอบมากกวาหนึ่งชนิด ของผสมที่เปนของเหลว ใส เปนสารเนื้อ เดียว เรียกวา สารละลาย ประกอบดวยตัวละลายและตัวทําละลาย ตัวอยางสารละลายที่พบในชีวิต ประจําวัน เชน นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นํ้าอัดลม รวมทั้งนํ้าผลไมตาง ๆ ในธรรมชาติ เชน นํ้าตาลสด นํ้า มะพราว พรอมทั้งชวยกันตอบคําถาม สิ่งที่เหลืออยูบนจานหลุมโลหะแตละหลุมตางกัน ขึ้นอยูกับชนิดของของเหลวตัว อยางดังนี้ นํ้าเชื่อม จะมีตะกอนละเอียดสีขาว ซึ่งเปนนํ้าตาล นํ้าเกลือ จะมีตะกอนละเอียดสีขาว ซึ่งเปนเกลือ นํ้าอัดลม จะมีตะกอนละเอียดสีขาว ซึ่งเปนนํ้าตาล แตมปริมาณไมมากนัก ี การที่ มีสารเหลืออยู ใ นจานหลุม เพราะวาของเหลวที่นํ ามาระเหยแหงนั้นมีองค ประกอบมากกวาหนึ่งชนิด บางชนิดระเหยงายเมื่อไดรับความรอน บางชนิดเปนของ แข็งระเหยยาก จึงเหลือคางที่จานหลุมโลหะ ถาสารตัวอยางระเหยแหงบนจานหลุมโลหะหมดโดยไมมีสารใด ๆ เหลืออยูเลย ยัง สรุปไมไดวามีองคประกอบเพียงชนิดเดียว แตอาจเปนเพราะสารตัวอยางนั้นประกอบ ดวยสารชนิดเดียวหรือหลายชนิดที่ระเหยงายเมื่อไดรับความรอน เชนแกสหรือของ เหลว เมื่อนําไประเหยแหงจึงไมมีสารใด ๆ เหลือเลย จากนั้นรวมกันอภิปรายตามรายละเอียดในบทเรียน เกี่ยวกับการละลายของตัวละลายในตัว ทําละลาย เพื่อสรุปวาถาตัวละลายเปนของแข็งที่ระเหยไดยาก สวนตัวทําละลายระเหยงาย สามารถ แยกไดโดยวิธการระเหยแหง ตัวทําละลายจะระเหยไป และเหลือตัวละลายอยู ี อาจนําความรูเกี่ยวกับการตรวจสอบองคประกอบของสารไปใชประโยชน เชน การแยกตัว ละลายซึ่งเปนสารระเหยยากออกจากตัวทําละลายที่ระเหยไดงาย ดังกิจกรรมนี้สามารถแยกเกลือ
  • 21. 69 ออกจากนํ้าเกลือได โดยการระเหยตัวทําละลายใหแหง นอกจากนี้อาจนําไปทําขิงผง เกกฮวยผง มะตูมผง เห็ดหอมผง ชาผง กาแฟผง ใหผเู รียนอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับการละลายของสาร โดยใชตัวละลายตางชนิดกัน และการ ละลายของสารในตัวทําละลายตางชนิดกัน จะใหผลอยางไร ตามรายละเอียดในบทเรียน เพื่อนําเขา สูเรื่องการละลายของสาร 1.2.1 การละลายของสารในตัวทําละลาย การเรียนหัวขอนี้มีจุดมุงหมายเพื่อตรวจสอบสมบัติบางประการของสารละลาย เชน การ ละลายของสารในตัวทําละลาย ตัวละลายชนิดเดียวกันจะละลายในตัวทําละลายชนิดตาง ๆ ไดดีเทา กันหรือไม โดยใหผูเรียนรวมกันอภิปรายตามรายละเอียดในบทเรียนเพื่อนําเขาสูกิจกรรม 1.6 กิจกรรม 1.6 การละลายของสาร จุดประสงคของกิจกรรม 1. ออกแบบวิธีการตรวจสอบความสามารถในการละลายของตัวละลายชนิดเดียวกันใน ตัวทําละลายตางชนิด และความสามารถในการละลายของตัวละลายชนิดตาง ๆ ในตัว ทําละลายชนิดเดียวกัน 2. ยกตัวอยางการนํ าความรูเกี่ยวกับสารละลายของสารในตัวทํ าละลายตาง ๆ ไปใช ประโยชนในชีวิตประจําวันได เวลาที่ใช อภิปรายกอนกิจกรรม 10 นาที ทํากิจกรรม 60 นาที อภิปรายหลังกิจกรรม 50 นาที รวม 120 นาที วัสดุอุปกรณและสารเคมี รายการ ปริมาณตอ 10 กลุม ตอนที่ 1 1. เอทานอล 10 cm3 2. นํ้ากลั่น 10 cm3 3. นํ้าตาลทราย 3g 4. โซเดียมคลอไรด (เกลือแกง) 3g 5. สีผสมอาหาร 3g
  • 22. 70 รายการ ปริมาณตอ 10 กลุม 6. สารอื่น ๆ ที่ผูเรียนตองการจะศึกษา ชนิดละ 0.3 g 7. หลอดทดลองขนาดเล็ก 80 หลอด 8. หลอดหยด 10 อัน 9. ที่ตั้งหลอดทดลอง 10 อัน ตอนที่ 2 20 cm3 1. เอทานอล 2 cm3 2. นํ้ากลั่น 20 cm3 3. นํ้ามันพืช 2 cm3 4. นํ้าตาลทราย 3.0 g 5. ดินเหนียวบดละเอียด 3.0 g 6. คอปเปอร (II) ซัลเฟต 3.0 g 7. หลอดทดลองขนาดเล็ก 50 หลอด 8. หลอดหยด 10 อัน 9. ที่ตั้งหลอดทดลอง 10 อัน อภิปรายกอนกิจกรรม 1. ปริมาณสารที่ใช ถาเปนของเหลว 1 cm3 อาจใชหลอดหยดจํานวน 20 หยด แทนได ถาเปนของแข็ง 0.3 กรัม อาจใชชอนเบอร 1 เต็มชอนปาดแทนไดเชนกัน 2. การเขยาหลอดทดลองใหสารละลายเขากันนั้น ใหเขยาโดยเคาะหลอดทดลองกับฝามือ จะชวยใหสารละลายไดงายขึ้น แตตองระวังไมเขยาแรงจนกระเด็นหรือเบาเกินไปจน ไมละลาย และใหเขยาแตละครั้งนานประมาณ 1 นาที ตัวอยางผลการทดลอง ตอนที่ 1 ผลที่สังเกตไดเมื่อละลายใน สารตัวอยาง นํ้า เอทานอล นํ้าตาลทราย ละลายได สารละลายใส ไมมีสี ไมละลาย เปนเนื้อเดียวกัน โซเดียมคลอไรด (เกลือแกง) ละลายได สารละลายใส ไมมสี ไมละลาย ี เปนเนื้อเดียวกัน สีผสมอาหาร (แดง) ละลายได สารละลายใสสีแดง ละลายได สารละลายใสสีแดง อื่น ๆ ดูจากผลการทดลอง ดูจากผลการทดลอง