SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ
โดย
1. นายลัทธพล สนั่นไหว เลขที่ 1
2. นายนภัทร มั่งมี เลขที่ 10
3. นายวรโชติ ปิ ยะณัตดิ์พูล เลขที่ 12
4. นายสกล วสุวานิช เลขที่ 17
5. นางสาวกมลชนก บริสุทธิ์เพ็ชร์ เลขที่ 19
6. นางสาววรัชยา แซ่เตียว เลขที่ 20
7. นางสาวกฤชมน ธนะนาวานุกุล เลขที่ 23
8. นางสาวชัญญานุช นิลประดับ เลขที่ 24
9. นางสาวเชื่อมจัทร์ ลือชาติเมธิกุล เลขที่ 26
10. นายดนัย สุภาภรณ์ เลขที่ 31
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/1
รายงานฉบับเป็ นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษาที่ 2559
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ
โดย
1. นายลัทธพล สนั่นไหว เลขที่ 1
2. นายนภัทร มั่งมี เลขที่ 10
3. นายวรโชติ ปิ ยะณัตดิ์พูล เลขที่ 12
4. นายสกล วสุวานิช เลขที่ 17
5. นางสาวกมลชนก บริสุทธิ์เพ็ชร์ เลขที่ 19
6. นางสาววรัชยา แซ่เตียว เลขที่ 20
7. นางสาวกฤชมน ธนะนาวานุกุล เลขที่ 23
8. นางสาวชัญญานุช นิลประดับ เลขที่ 24
9. นางสาวเชื่อมจัทร์ ลือชาติเมธิกุล เลขที่ 26
10. นายดนัย สุภาภรณ์ เลขที่ 31
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/1
รายงานฉบับเป็ นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษาที่ 2559
ครูที่ปรึกษา
มิสเขมจิรา ปลงไสว
โครงงานเรื่อง อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ
ประเภทของโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ผู้จัดทาโครงงาน 1. นายลัทธพล สนั่นไหว เลขที่ 1
2. นายนภัทร มั่งมี เลขที่ 10
3. นายวรโชติ ปิยะณัตดิ์พูล เลขที่ 12
4. นายสกล วสุวานิช เลขที่ 17
5. นางสาวกมลชนก บริสุทธิ์เพ็ชร์ เลขที่ 19
6. นางสาววรัชยา แซ่เตียว เลขที่ 20
7. นางสาวกฤชมน ธนะนาวานุกุล เลขที่ 23
8. นางสาวชัญญานุช นิลประดับ เลขที่ 24
9. นางสาวเชื่อมจัทร์ ลือชาติเมธิกุล เลขที่ 26
10. นายดนัย สุภาภรณ์ เลขที่ 31
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
ปี การศึกษา 2559
บทคัดย่อ
อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศเป็นสถานที่ใช้ในการศึกษาสิ่งต่างๆที่เกี่ย
วข้องกับอวกาศไม่ว่าจะเป็ นยานอวกาศ,ดาวเทียมสารวจ,ชุดอวกาศหรือแม้กระทั้
งประวัติศาสตร์ต่างๆที่เกี่ยวกับอวกาศทั้งหมด
ซึ่งสร้างประโยชน์ให้กับผู้เข้าเยี่ยมชมทาให้ได้รับความรู้และยังได้ความเพลิดเพลิ
นอีกด้วย
นอกจากนี้ทางอุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศยังเป็นสถานที่ให้คาปรึกษากับนัก
เรียนที่มีความสนใจในการเรียนต่อในด้านนี้อีกด้วย
กิตติกรรมประกาศ
โค รงงานค อมพิวเต อร์เรื่องอุทย านรังสรรค์นวัต กรรมอวกาศ
ได้ทาการลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ โดยเราได้ทาการตรวจสอบ แก้ไข
ข้ อ บ ก พ ร่ อ ง ทุ ก ขั้ น ต อ น ข อ ง ก า ร จั ด ท า โ ค ร ง ง า น
จ น ก ร ะ ทั่ ง โ ค ร ง ง า น นี้ ส า เ ร็ จ ลุ ล่ ว ง ไ ป ไ ด้ ด้ ว ย ดี
ตลอดระยะเวลาดังกล่าวคณะผู้จัดทาโครงงานได้รับความช่วยเหลือและคาแนะนา
ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ ต ล อ ด จ น ไ ด้ รับ ก า ลัง ใ จ จ า ก บุ ค ค ล ห ล า ย ท่ า น
ก
คณะผู้จัดทาตระหนักและซาบซึ้งในความกรุณาจากทุกๆท่านเป็ นอย่างยิ่ง ณ
โอกาสนี้ ขอขอบคุณทุกๆ ท่าน ดังนี้
ก ร า บ ข อ ข อ บ คุ ณ มิ ส เ ข ม จิ ร า ป ล ง ไ ส ว ค รู ที่ ป รึ ก ษ า
และคณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโรงเรียนอัสสัมชัญร
ะยอง ทุกท่านผู้ให้คาแนะนาและได้เมตต าให้ค วามช่วย ในทุกๆ ด้าน
ต ล อ ด จ น ใ ห้ ค ว า ม คิ ด ที่ ท า โ ค ร ง ง า น นี้ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น
ขอบใจเพื่อนนักเรียนทุกคนที่ได้เป็นกาลังใจสาคัญให้โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงทุกป
ระการ
ท้าย ที่สุด ข อกราบข อ บพ ร ะคุ ณ คุณพ่อและคุ ณ แ ม่ ผู้เป็ น ที่ รัก
ผู้ให้กาลังใจและให้โอกาสการศึกษาอันมีค่ายิ่ง
คณะผู้จัดทา
23/9/59
สารบัญ
หัวข้อ หน้า
บทคัดย่อ ก
ข
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญภาพ ง
บทที่ 1 บทนา 1
ที่มาและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ 1
ขอบเขตการศึกษา 1
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2
2.1 ความรู้ทั่วไปของอวกาศ 2
2.2 สถานที่ให้ความรู้ 4
2.3 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์ 10
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินงาน
13
3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ 13
3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 13
3.3 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
13
บทที่ 4 ผลการดาเนินการ
14
4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน 14
4.2 ตัวอย่างผลงาน 14
บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผล 17
5.1 การดาเนินการจัดทาโครงงาน
17
5.2 สรุปผลการดาเนินการทาโครงงาน
17
5.3 ข้อเสนอแนะ 17
บรรณานุกรม 18
ภาคผนวก 19
สารบัญภาพ ค
ลาดับ
หน้า
รูปที่ 1 กาเนิดเอกภพ
4
รูปที่ 2 เทคโนโลยีอวกาศ
4
รูปที่ 3 ชุดอวกาศ 5
รูปที่ 4 สถานีอวกาศ
5
รูปที่ 5 โรงภาพยนตร์ 3 มิติ
6
รูปที่ 6 ดาวเทียม 6
รูปที่ 7 เทคโนโลยีสารสนเทศ
7
รูปที่ 8 การรับรู้จากระยะไกล
7
รูปที่ 9 ระบบดาวเทียมนาร่อง
8
รูปที่ 10 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
8
รูปที่ 11 GISTDA My House
9
รูปที่ 12 Geo Information Application
9
รูปที่ 13 Application For Tomorrow
10
รูปที่ 14 การเริ่มเขียนบทความ
11
รูปที่ 15 การเขียนบทความ
12
รูปที่ 16 ผลงาน 1
14
รูปที่ 17 ผลงาน 2
15
รูปที่ 18 ผลงาน 3
15
รูปที่ 19 ผลงาน 4
16
รูปที่ 20 ผลงาน 5
16
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศเป็นสถานที่ให้ความรู้เกี่ยวกับอวกาศมาก
มาย และในปัจจุบันนั้นมีผู้ที่สนใจในเรื่องของอวกาศเพิ่มขึ้นมากจากแต่ก่อน
ส่งผลให้ในบางครั้งผู้ที่สนใจอยากจะหาข้อมูลเกี่ยวกับอวกาศไม่มีสถานที่ที่สามาร
ถให้ข้อมูลได้อย่างถูกต้องและแม่นยา
อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศจึงเป็นคาตอบของปัญหานี้และยังเป็ นการส่งเสริ
มให้คนหันมาสนใจในเรื่องของอวกาศ
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่อยู่ในอวกาศ
2.เพื่อเป็นการแนะนาสถานศึกษาอวกาศ
“อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ”
ขอบเขตการศึกษา
สร้างเว็บไซต์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับธรณีประวัติ โดยจัดทาในบล็อกเกอร์
ในการสร้างเว็บไซต์ และใช้โปรแกรม Microsoft Office Word 2013,
Adobe Photoshop CS5
ในการตกแต่งและจัดเรียงเว็บไซต์ให้สวยงามน่าสนใจ
ง
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีผู้สนใจในเรื่องของอวกาศเพิ่มมากขึ้น
2.อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย
บทที่ 2
เอกสารเกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เว็บไซต์
อวกาศ ให้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในอวกาศ คณะผู้จัดทาได้ศึกษาข้อมูล
เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
2.1 ความรู้ทั่วไปของอวกาศ
2.2 สถานที่ให้ความรู้
2.3 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์
2.1 ความรู้ทั่วไปของอวกาศ
อวกาศ (อังกฤษ: outer space, หรือ space) คือ
ความว่างเปล่าที่มีอยู่ระหว่างวัตถุท้องฟ้า
รวมถึงโลก อวกาศมิได้ว่างเปล่าอย่างสิ้นเชิง
แต่ประกอบด้วยสุญญากาศแข็งที่ประกอบด้วยอนุภาคความหนาแน่นต่า
ซึ่งมีพลาสมาของไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นหลัก
เช่นเดียวกับรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า สนามแม่เหล็กและนิวตริโน ปัจจุบัน
1
การสังเกตได้พิสูจน์แล้วว่าอวกาศยังมีสสารมืดและพลังงานมืดอยู่ด้วย
อุณหภูมิเส้นฐานกาหนดโดยรังสีพื้นหลังที่หลงเหลือจากบิกแบงมีค่าเพียง
2.7 เคลวิน ในทางตรงข้าม
อุณหภูมิในโคโรนาของดาวฤกษ์อาจสูงถึงหนึ่งล้านเคลวิน
พลาสมาที่มีความหนาแน่นต่ามาก
(น้อยกว่าหนึ่งอะตอมไฮโดรเจนต่อลูกบาศก์เมตร) และอุณหภูมิสูง
(หลายล้านเคลวิน)
ในอวกาศระหว่างดาราจักรเป็นที่มาของสสารแบริออน (baryonic matter)
ในอวกาศ ความเข้มข้นเฉพาะถิ่นรวมกันเป็นดาวฤกษ์และดาราจักร
อวกาศระหว่างดาราจักรกินปริมาตรส่วนใหญ่ของเอกภพ กระนั้น
แม้แต่ดาราจักรและระบบดาวฤกษ์ก็แทบเป็นอวกาศที่ว่างเปล่าสิ้นเชิง
ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์
(Planet) เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออานวย
ต่อการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบนดาวเคราะห์เหล่านั้น หรือ
บริวารของดาวเคราะห์เองที่เรียกว่าดวงจันทร์ (Satellite) นักดาราศาสตร์เชื่อว่า
ในบรรดาดาวฤกษ์ทั้งหมดกว่าแสนล้านดวงในกาแลกซี่ทางช้างเผือก
ต้องมีระบบสุริยะที่เอื้ออานวยชีวิตอย่าง
ระบบสุริยะที่โลกของเราเป็นบริวารอยู่อย่างแน่นอน
เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่าความสามารถในการติดต่อจะทาได้ถึงที่โลก
ของ เราอยู่เป็นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็นศูนย์กลาง
มีดาวเคราะห์ (Planets) 9 ดวง ที่เราเรียกกันว่า ดาวนพเคราะห์ ( นพ แปลว่า
เก้า) เรียงตามลาดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส
ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ( ตอนนี้ไม่มีพลูโตแร้ว เหลือแค่ 8
ดวง )
และ ยังมีดวงจันทร์บริวารของ ดวงเคราะห์แต่ละดวง (Moon of
sattelites) ยกเว้นเพียง สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่มีบริวาร
ดาวเคราะห์น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อุกกาบาต
(Meteorites) ตลอดจนกลุ่มฝุ่นและก๊าซ ซึ่งเคลื่อนที่อยู่ในวงโคจร
ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ
กว้างใหญ่ไพศาลมาก เมื่อเทียบระยะทาง ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์
ซึ่งมีระยะทางประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 1au.(astronomy unit)
2
หน่วยดาราศาสตร์ กล่าวคือ ระบบสุริยะมีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร
ของดาวพลูโต ดาว เคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ในระบบสุริยะ ซึ่งอยู่ไกล
เป็นระยะทาง 40 เท่าของ 1 หน่วยดาราศาสตร์ และยังไกลห่างออก
ไปอีกจนถึงดงดาวหางอ๊อต (Oort's Cloud) ซึ่งอาจอยู่ไกลถึง 500,000 เท่า
ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ด้วย ดวงอาทิตย์มีมวล มากกว่าร้อยละ 99
ของ มวลทั้งหมดในระบบสุริยะ ที่เหลือ
นอกนั้นจะเป็นมวลของ เทหวัตถุต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วยดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอุกกาบาต รวมไปถึงฝุ่นและก๊าซ ที่ล่องลอยระหว่าง
ดาวเคราะห์ แต่ละดวง โดยมีแรงดึงดูด (Gravity) เป็นแรงควบคุมระบบสุริยะ
ให้เทหวัตถุบนฟ้าทั้งหมด เคลื่อนที่เป็นไปตามกฏแรง แรงโน้มถ่วงของนิวตัน
ดวงอาทิตย์แพร่พลังงาน ออกมา ด้วยอัตราประมาณ
90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที
เป็นพลังงานที่เกิดจากปฏิกริยาเทอร์โมนิวเคลียร์
โดยการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ซึ่งเป็นแหล่งความร้อนให้กับดาว
ดาวเคราะห์ต่างๆ ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์ จะเสียไฮโดรเจนไปถึง 4,000,000
ตันต่อวินาทีก็ตาม แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ยังมีความเชื่อว่าดวงอาทิตย์
จะยังคงแพร่พลังงานออกมา ในอัตรา ที่เท่ากันนี้ได้อีกนานหลายพันล้านปี
ชื่อของดาวเคราะห์ทั้ง 9 ดวงยกเว้นโลก ถูกตั้งชื่อตามเทพของชาวกรีก
เพราะเชื่อว่าเทพเหล่านั้นอยู่บนสรวงสวรค์ และเคารพบูชาแต่โบราณกาล
ในสมัยโบราณจะรู้จักดาวเคราะห์เพียง 5 ดวงเท่านั้น(ไม่นับโลกของเรา)
เพราะสามารถเห็นได้ ด้วยตาเปล่าคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัส
ดาวเสาร์ ประกอบกับดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ รวมเป็น 7 ทาให้เกิดวันทั้ง 7
ในสัปดาห์นั่นเอง และดาวทั้ง 7
นี้จึงมีอิทธิกับดวงชะตาชีวิตของคนเราตามความเชื่อถือทางโหราศาสตร์
ส่วนดาวเคราะห์อีก 3 ดวงคือ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต
ถูกคนพบภายหลัง แต่นักดาราศาสตร์ก็ตั้งชื่อตามเทพของกรีก
เพื่อให้สอดคล้องกันนั่นเอง
2.2 สถานที่ให้ความรู้
3
• Zone 1 Universe : กาเนิดเอกภพ
นาเสนอเกี่ยวกับการกาเนิดเอกภพ ที่จะให้คาตอบว่าทาไมโลกจึงมีสิ่งมีชีวิต
มีปัจจัยอะไรที่ทาให้สิ่งมีชีวิตอยู่บนโลกนี้ได้ แล้วทาไมเราจึงไม่ลอยจากโลก
ผ่านการนาเสนอแบบวีดีทัศน์บนจอฉายภาพยนตร์โฮโลแกรม
• Zone 2 Historical Technology of Space :
เทคโนโลยีสารวจโลกและอวกาศ
นาเสนอเกี่ยวกับวิวัฒนาการของการไปอวกาศ นาเสนอตั้งแต่ยุคนักคิด
ยุคบุกเบิกอวกาศ และยุคเทคโนโลยีอวกาศ
สนุกกับภารกิจการส่งยานอวกาศและดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจร ใน Space
Mission Game
• Zone 3 Life Begins to Space : มุ่งสู่อวกาศ
นาเสนอเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมไปสู่อวกาศ
มีปัจจัยอะไรบ้างที่ต้องคานึงถึงในการที่จะออกไปนอกโลก
รูปที่ 1 กาเนิ ดเอกภพ
รูปที่ 2
เทคโนโลยีอวกาศ
4
เมื่อออกไปนอกโลกแล้วร่างกายจะมีปฏิกิริยาอย่างไร เช่น
ร่างกายกับแรงโน้มถ่วง รวมถึงการได้ทดลองเครื่อง
Gyroscope ที่จะจาลองการต้านแรงโน้มถ่วงของการฝึกนักบินอวกาศ
• Zone 4 Space Station : สถานีอวกาศ
นาเสนอเกี่ยวกับการใช้ชีวิตในอวกาศ การอยู่ในสถานีอวกาศนานาชาติ
(International Space Station: ISS) และการค้นคว้าวิจัยในอวกาศ
ปฏิบัติภารกิจในถุงมืออวกาศ
• Zone 5 Space 3D Theater : โรงภาพยนตร์ 3 มิติ
เล่าถึงการผจญภัยในอวกาศ ผ่านเรื่องราวของพ่อลูกคู่หนึ่งที่มีความผูกพันกัน
สร้างความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องราวของอวกาศ เห็นการปลูกฝังจากรุ่นสู่รุ่น
สร้างแรงบันดาลใจให้คนสนใจเรื่องอวกาศ
เสริมสร้างจิตนาการนึกคิดและเรียนรู้อวกาศมากขึ้น
รูปที่ 3 ชุดอวกาศ
รูปที่ 4 สถานี อวกาศ
5
• Zone 6 Satellite : ดาวเทียม
นาเสนอเกี่ยวกับดาวเทียม ประเภทและวงโคจรดาวเทียม วิธีการสร้างดาวเทียม
ภารกิจพิชิตดาวอังคาร ตื่นตาตื่นใจกับโลกใบใหญ่ที่มีดาวเทียมโคจรอยู่
• Zone 7 Geo Informatics : เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
นาเสนอเกี่ยวกับเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในชีวิตประจาวัน
โดยเน้นให้เห็นว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวเรานี่เอง
รูปที่ 5 โรงภาพยนตร์
3มิติ
รูปที่ 6 ดาวเทียม
6
• Zone 8 Remote Sensing : การรับรู้จากระยะไกล
นาเสนอเกี่ยวกับเทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกล พลังงานและการแผ่รังสี
พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า การสะท้อนเชิงสเปคตรัม รายละเอียดภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูล ทั้งยังมีกล้องอินฟาเรดสาหรับส่องมาที่ตัวคนหรือวัตถุอื่นๆ
แล้วแสดงผลในรูปแบบค่าสีที่แสดงถึงความร้อน
• Zone 9 Global Navigation Satellite System :
ระบบดาวเทียมนาร่องโลก
นาเสนอเกี่ยวกับระบบดาวเทียมนาร่องโลก สนุกกับ Tracking Game
ที่จะสมมุติให้ผู้เล่นสวมบทบาทเป็นเจ้าหน้าที่ดูแลภายในเมือง หากเกิดเหตุ
จะส่งทีมเข้าไปแก้ปัญหาด้วยเส้นทางไหน
รูปที่ 7
เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
รูปที่ 8
การรับรู้จากระยะไกล
7
• Zone 10 Geographic Information Systems :
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
นาเสนอเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กระบวนการวิเคราะห์
และจะมีการทดลองการสร้างแผนที่ 3 มิติ
• Zone 11 GISTDA My House
นาเสนอเกี่ยวกับการจาลองมุมมอง เสมือนไปยืนอยู่บนสถานที่จริง
รอบพื้นที่ที่สนใจ
รูปที่ 9
ระบบดาวเทียมนาร่อง
รูปที่ 10
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
รูปที่ 11 GISTDA My
House
8
• Zone 12 Geo Informatics Application
นาเสนอเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ
การใช้ประโยชน์ด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านการเกษตรกรรม
ด้านการวางผังเมืองและป้องกันภัย เพิ่มความเข้าใจผ่านการเล่นเกมส์สร้างเมือง
เกมส์แนะนาเกษตรกรฯลฯ
• Zone 13 Application for Tomorrow
นาเสนอเกี่ยวกับ เป็นการนาเสนอภาพสถานที่ในรูปแบบ 360 องศา
พร้อมคาบรรยาย เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
ณ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ GISTDA อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี
รูปที่ 12 Geo Informatics
Application
รูปที่ 13 Application for
Tomorrow
9
2.3 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์
ความหมายของ Blogger
บล็อกเป็นไดอารีส่วนบุคคล ห้องฟังเทศน์ พื้นที่สาหรับความร่วมมือ
เวทีแสดงออกทางการเมือง ห้องกระจายข่าว การเก็บรวบรวมลิงค์
ความคิดส่วนตัวของคุณ
บันทึกสาหรับคนทั่วโลกบล็อกของคุณจะเป็นอะไรก็ได้ตามที่ใจต้องการ
เรามีบล็อกนับล้าน ทุกรูปแบบและทุกขนาด และไม่มีกฎตายตัวกล่าวง่ายๆ
บล็อกก็คือเว็บไซต์ ซึ่งคุณสามารถเขียนเรื่องต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่อง
เรื่องใหม่จะปรากฏด้านบนสุด เพื่อให้ผู้เยี่ยมชมสามารถอ่านสิ่งที่มาใหม่
จากนั้นจะสามารถแสดงความคิดเห็นหรือสร้างลิงก์ หรือส่งอีเมลถึงคุณ
หรือไม่ทาอะไรเลยนับตั้งแต่ Blogger เปิดตัวในปี ค.ศ. 1999
บล็อกก็ได้เปลี่ยนโฉมหน้าของเว็บ สร้างผลกระทบต่อการเมือง
เขย่าวงการสื่อสารมวลชน
และทาให้คนนับล้านได้แสดงออกและติดต่อกับบุคคลอื่น
และเรามั่นใจว่าทั้งหมดนี้เป็นเพียงจุดเริ่มต้นเท่านั้น
สร้างบล็อก
เมื่อต้องการเริ่มเขียนบล็อกด้วยบล็อกเกอร์
ให้ไปที่ หน้าแรกบล็อกเกอร์ ใส่ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านของคุณ
จากนั้นคลิกลงชื่อเข้าใช้ ป้อนชื่อที่แสดง
และยอมรับข้อกาหนดในการให้บริการของบล็อกเกอร์
จากนั้นคลิกที่ลิงค์ สร้างบล็อก แล้วเริ่มต้นได้เลย!
เลือกที่อยู่ (URL) และชื่อบล็อก จากนั้นเลือกเทมเพลตบล็อกที่คุณชอบ
(นี่คือลักษณะหน้าตาของบล็อกเมื่อคุณเผยแพร่)
จากนั้นก็เริ่มใช้ความคิดสร้างสรรค์ เพิ่มข้อมูลในโปรไฟล์ส่วนบุคคลของคุณ
และปรับแต่งลักษณะของบล็อก ถ้าคุณต้องการ
เริ่มต้นเขียนบล็อกวันนี้แดชบอร์ด
1
0
หน้าแดชบอร์ดคือจุดเริ่มต้นของคุณเช่นเคย
หน้านี้จะแสดงรายชื่อบล็อกของคุณทั้งหมด
และคุณสามารถคลิกที่ไอคอนถัดจากชื่อบล็อกเพื่อดาเนินการต่างๆ
กับแต่ละบล็อก เช่น
เขียนโพสต์ใหม่:
คลิกที่ไอคอนดินสอสีส้มบนแดชบอร์ดเพื่อเข้าถึงเครื่องมือการแก้ไขโพสต์
ดูโพสต์ของคุณ:
ไอคอนรายการโพสต์สีเทาจะนาคุณไปยังรายการโพสต์ที่เผยแพร่แล้วและโพสต์ใ
นข้อความร่างของบล็อกนั้นๆ
ติดตามบล็อกโปรดของคุณ: ด้านล่างรายการบล็อกของคุณ
คุณจะเห็นรายการบล็อกที่คุณติดตาม
พร้อมข้อความตัวอย่างจากโพสต์ล่าสุดของบล็อกเหล่านั้น
อื่นๆ: ดูเมนูเลื่อนลงข้างไอคอนรายการโพสต์สาหรับลิงก์ด่วนไปยัง:
ภาพรวม
โพสต์
หน้าเว็บ
ความคิดเห็น
สถิติ
รายได้
การออกแบบ
เทมเพลต
การตั้งค่า
เมื่อคุณลงชื่อเข้าใช้บล็อกเกอร์แล้ว คุณจะเห็นแดชบอร์ดพร้อมด้วยรายชื่อบล็อก
ต่อไปนี้คือสิ่งที่คุณต้องทา
1.คลิกที่ไอคอนรูปดินสอสีส้มเพื่อเขียนโพสต์ใหม่
และป้อนอะไรก็ได้ที่ต้องการแบ่งปันกับคนทั้งโลก
รูปที่ 14
การเริ่มเขียนบทความ
1
1
2.ถัดไป คุณจะเห็นหน้าเว็บของเครื่องมือแก้ไขโพสต์
เริ่มต้นด้วยการตั้งชื่อโพสต์ จากนั้นป้อนเนื้อหาโพสต์
3.เมื่อดาเนินการเสร็จแล้ว
ให้คลิกปุ่ม ดูตัวอย่าง ที่ด้านบนเพื่อตรวจสอบให้มั่นใจว่าพร้อมที่จะดาเนินการ
จากนั้นคลิกที่ปุ่ม เผยแพร่เพื่อเผยแพร่โพสต์
บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินงาน
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ
คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธีดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังนี้
3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ
1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
2.ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล
ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานในการสร้างเว็บไซต์และตกแต่งเว็บไซต์ให้น่าสนใจ
3.ศึกษาวิธีการสร้างบล็อกเกอร์
4.จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
รูปที่ 15
การเขียนบทความ
1
2
5.ออกแบบบล็อก
6.จักทาโครงงานสร้างบล็อก อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ
7.เผยแพร่ผลงานผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
8.ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน
3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.ศึกษา เรื่อง อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ
2.ศึกษา เรื่อง วิธีการสร้างบล็อกเกอร์
3.ศึกษา เรื่อง การทางานของโปรแกรมต่างๆ ได้แก่
3.1Microsoft Office Word 2013 , 3.2Adobe Photoshop
CS5
3.3 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1.เครื่องมือคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็
ต
2.ซอฟต์แวร์
- Microsoft Office Word 2013
- Adobe Photoshop CS5
บทที่ 4
ผลการดาเนินการ
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา สร้างเว็บไซต์
อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศที่เป็นแหล่งความรู้เกี่ยวกับ อวกาศ
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ อวกาศ
ซึ่งมีผลการดาเนินงานโครงงานดังนี้
4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน
การพัฒนาโครงงานสร้างเว็บไซต์ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ
เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปของอวกาศ
คณะผู้จัดทาได้ดาเนินตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ได้วางแผนไว้
และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านทางเครือข่ายระบบอินเตอร์เน็ต
ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานที่
เป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และรวดเร็วในการรับข้อมูล
1
3
4.2 ตัวอย่างผลงาน
http://spaceinspiriumgistda.blogspot.com/
รูปที่ 16 ผลงาน 1
รูปที่ 17 ผลงาน 2
1
4
รูปที่ 18 ผลงาน 3
รูปที่ 19 ผลงาน 4
1
5
บทที่ 5
บทที่ 5
สรุปผลและอภิปรายผล
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์
อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศสรุปผลการดาเนินงานโครงงานและข้อเสนอแน
ะ ดังนี้
5.1 การดาเนินการจัดทาโครงงาน
5.1.1วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่อยู่ในอวกาศ
2.เพื่อเป็นการแนะนาสถานศึกษาอวกาศ
“อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ”
5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
รูปที่ 20 ผลงาน 5
1
6
1.เครื่องมือคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2.ซอฟต์แวร์
- Microsoft Office Word 2013
- Adobe Photoshop CS5
5.2 สรุปผลการดาเนินการทาโครงงาน
การดาเนินโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ คือ
เพื่อให้ความรู้เบื้องต้นแก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับอวกาศ เว็บไซต์
อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมเป็นเว็บไซต์ที่จัดทาขึ้นเพื่อ
เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอวกาศนาเสนอผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ทาให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วได้รับความรู้ ความเข้าใจ
เล็งเห็นความสาคัญของอวกาศ เพื่อที่จะได้นาไปใช้เป็นความรู้ เว็บไซต์
อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ จึงเป็นเว็บไซต์ที่มีประโยชน์
และเป็นการนาเทคโนโลยีและซอฟแวร์มาพัฒนาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าและ
เกิดประโยชน์
5.3 ข้อเสนอแนะ
1.ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายครบเนื้อหาในมุมลึกก
ว่านี้
2.ควรมีการจัดทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
บรรณานุกรม
ข้อมูลสถานที่ อุทยานรัวสรรค์นวัตกรรมอวกาศ สืบค้นเมื่อวันที่ 20
กันยายน 2559 จากเว็บไซต์ :
http://www.gistda.or.th/main/th/taxonomy/term/214
1
7
คู่มือการสร้างบล็อกเกอร์ สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559
จากเว็บไซต์ :
http://www.ninetechno.com/a/blogger/360-blogger.html
คู่มือการสร้าง Photoshop สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559
จากเว็บไซต์
http://babybearjubujubu.blogspot.com/2008/09/phoshop-
photoshop-photoshop-adobe.html
ภาคผนวก 1
8
1
9
เรื่องราวประวัติศาสตร์ข
องอวกาศ
บรรยากาศภายในสถ
านที่จริง
บรรยากาศภายในสถ
านที่จริง
Computer Project ACR

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (10)

Pasireotide 396091-73-9-api
Pasireotide 396091-73-9-apiPasireotide 396091-73-9-api
Pasireotide 396091-73-9-api
 
NATHAN BUCKNALL RESUME JUNE15
NATHAN BUCKNALL RESUME JUNE15NATHAN BUCKNALL RESUME JUNE15
NATHAN BUCKNALL RESUME JUNE15
 
Video Library emembership
Video Library emembershipVideo Library emembership
Video Library emembership
 
Computer Project
Computer Project Computer Project
Computer Project
 
Midia kit blog Vanessa Freitas-novembro 2016
Midia kit blog Vanessa Freitas-novembro 2016Midia kit blog Vanessa Freitas-novembro 2016
Midia kit blog Vanessa Freitas-novembro 2016
 
7_Crim_Pro_Final
7_Crim_Pro_Final7_Crim_Pro_Final
7_Crim_Pro_Final
 
How to use evernote
How to use evernoteHow to use evernote
How to use evernote
 
04-Edenfield_Final
04-Edenfield_Final04-Edenfield_Final
04-Edenfield_Final
 
How to use Basecamp
How to use BasecampHow to use Basecamp
How to use Basecamp
 
Contabilidad 3 trabajo lunes
Contabilidad 3 trabajo lunesContabilidad 3 trabajo lunes
Contabilidad 3 trabajo lunes
 

Similar to Computer Project ACR

โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอทManaf Joraka
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอทManaf Joraka
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10Narumon Boonjareun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1Namtarnniiz Psn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
สมบูรณ์ -
สมบูรณ์   -สมบูรณ์   -
สมบูรณ์ -Lolicon Siscon
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTpatitadarakorn
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างพัน พัน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)Kritsanapong Manoreaung
 
คอม วชิรวิทย์
คอม วชิรวิทย์คอม วชิรวิทย์
คอม วชิรวิทย์Love Him
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารโครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารIzezjk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารโครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารIzezjk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   1/2โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 1/2ยิ้ม' เเฉ่ง
 

Similar to Computer Project ACR (20)

โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Tsmt vol16
Tsmt vol16Tsmt vol16
Tsmt vol16
 
สมบูรณ์ -
สมบูรณ์   -สมบูรณ์   -
สมบูรณ์ -
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICT
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
We Will Go to The Zoo
We Will Go to The ZooWe Will Go to The Zoo
We Will Go to The Zoo
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
 
Pornchanok jompijit
Pornchanok jompijitPornchanok jompijit
Pornchanok jompijit
 
คอม วชิรวิทย์
คอม วชิรวิทย์คอม วชิรวิทย์
คอม วชิรวิทย์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารโครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารโครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   1/2โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 1/2
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 

Computer Project ACR

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ โดย 1. นายลัทธพล สนั่นไหว เลขที่ 1 2. นายนภัทร มั่งมี เลขที่ 10 3. นายวรโชติ ปิ ยะณัตดิ์พูล เลขที่ 12 4. นายสกล วสุวานิช เลขที่ 17 5. นางสาวกมลชนก บริสุทธิ์เพ็ชร์ เลขที่ 19 6. นางสาววรัชยา แซ่เตียว เลขที่ 20 7. นางสาวกฤชมน ธนะนาวานุกุล เลขที่ 23 8. นางสาวชัญญานุช นิลประดับ เลขที่ 24 9. นางสาวเชื่อมจัทร์ ลือชาติเมธิกุล เลขที่ 26 10. นายดนัย สุภาภรณ์ เลขที่ 31 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 รายงานฉบับเป็ นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์ โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษาที่ 2559
  • 2. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ โดย 1. นายลัทธพล สนั่นไหว เลขที่ 1 2. นายนภัทร มั่งมี เลขที่ 10 3. นายวรโชติ ปิ ยะณัตดิ์พูล เลขที่ 12 4. นายสกล วสุวานิช เลขที่ 17 5. นางสาวกมลชนก บริสุทธิ์เพ็ชร์ เลขที่ 19 6. นางสาววรัชยา แซ่เตียว เลขที่ 20 7. นางสาวกฤชมน ธนะนาวานุกุล เลขที่ 23 8. นางสาวชัญญานุช นิลประดับ เลขที่ 24 9. นางสาวเชื่อมจัทร์ ลือชาติเมธิกุล เลขที่ 26 10. นายดนัย สุภาภรณ์ เลขที่ 31 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 รายงานฉบับเป็ นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์ โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษาที่ 2559 ครูที่ปรึกษา มิสเขมจิรา ปลงไสว โครงงานเรื่อง อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ ประเภทของโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ผู้จัดทาโครงงาน 1. นายลัทธพล สนั่นไหว เลขที่ 1 2. นายนภัทร มั่งมี เลขที่ 10 3. นายวรโชติ ปิยะณัตดิ์พูล เลขที่ 12 4. นายสกล วสุวานิช เลขที่ 17 5. นางสาวกมลชนก บริสุทธิ์เพ็ชร์ เลขที่ 19
  • 3. 6. นางสาววรัชยา แซ่เตียว เลขที่ 20 7. นางสาวกฤชมน ธนะนาวานุกุล เลขที่ 23 8. นางสาวชัญญานุช นิลประดับ เลขที่ 24 9. นางสาวเชื่อมจัทร์ ลือชาติเมธิกุล เลขที่ 26 10. นายดนัย สุภาภรณ์ เลขที่ 31 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ปี การศึกษา 2559 บทคัดย่อ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศเป็นสถานที่ใช้ในการศึกษาสิ่งต่างๆที่เกี่ย วข้องกับอวกาศไม่ว่าจะเป็ นยานอวกาศ,ดาวเทียมสารวจ,ชุดอวกาศหรือแม้กระทั้ งประวัติศาสตร์ต่างๆที่เกี่ยวกับอวกาศทั้งหมด ซึ่งสร้างประโยชน์ให้กับผู้เข้าเยี่ยมชมทาให้ได้รับความรู้และยังได้ความเพลิดเพลิ นอีกด้วย นอกจากนี้ทางอุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศยังเป็นสถานที่ให้คาปรึกษากับนัก เรียนที่มีความสนใจในการเรียนต่อในด้านนี้อีกด้วย กิตติกรรมประกาศ โค รงงานค อมพิวเต อร์เรื่องอุทย านรังสรรค์นวัต กรรมอวกาศ ได้ทาการลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ โดยเราได้ทาการตรวจสอบ แก้ไข ข้ อ บ ก พ ร่ อ ง ทุ ก ขั้ น ต อ น ข อ ง ก า ร จั ด ท า โ ค ร ง ง า น จ น ก ร ะ ทั่ ง โ ค ร ง ง า น นี้ ส า เ ร็ จ ลุ ล่ ว ง ไ ป ไ ด้ ด้ ว ย ดี ตลอดระยะเวลาดังกล่าวคณะผู้จัดทาโครงงานได้รับความช่วยเหลือและคาแนะนา ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ ต ล อ ด จ น ไ ด้ รับ ก า ลัง ใ จ จ า ก บุ ค ค ล ห ล า ย ท่ า น ก
  • 4. คณะผู้จัดทาตระหนักและซาบซึ้งในความกรุณาจากทุกๆท่านเป็ นอย่างยิ่ง ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณทุกๆ ท่าน ดังนี้ ก ร า บ ข อ ข อ บ คุ ณ มิ ส เ ข ม จิ ร า ป ล ง ไ ส ว ค รู ที่ ป รึ ก ษ า และคณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโรงเรียนอัสสัมชัญร ะยอง ทุกท่านผู้ให้คาแนะนาและได้เมตต าให้ค วามช่วย ในทุกๆ ด้าน ต ล อ ด จ น ใ ห้ ค ว า ม คิ ด ที่ ท า โ ค ร ง ง า น นี้ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น ขอบใจเพื่อนนักเรียนทุกคนที่ได้เป็นกาลังใจสาคัญให้โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงทุกป ระการ ท้าย ที่สุด ข อกราบข อ บพ ร ะคุ ณ คุณพ่อและคุ ณ แ ม่ ผู้เป็ น ที่ รัก ผู้ให้กาลังใจและให้โอกาสการศึกษาอันมีค่ายิ่ง คณะผู้จัดทา 23/9/59 สารบัญ หัวข้อ หน้า บทคัดย่อ ก ข
  • 5. กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญภาพ ง บทที่ 1 บทนา 1 ที่มาและความสาคัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตการศึกษา 1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2 2.1 ความรู้ทั่วไปของอวกาศ 2 2.2 สถานที่ให้ความรู้ 4 2.3 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์ 10 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินงาน 13 3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ 13 3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 13 3.3 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 13 บทที่ 4 ผลการดาเนินการ 14 4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน 14 4.2 ตัวอย่างผลงาน 14 บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผล 17 5.1 การดาเนินการจัดทาโครงงาน 17 5.2 สรุปผลการดาเนินการทาโครงงาน 17 5.3 ข้อเสนอแนะ 17 บรรณานุกรม 18 ภาคผนวก 19 สารบัญภาพ ค
  • 6. ลาดับ หน้า รูปที่ 1 กาเนิดเอกภพ 4 รูปที่ 2 เทคโนโลยีอวกาศ 4 รูปที่ 3 ชุดอวกาศ 5 รูปที่ 4 สถานีอวกาศ 5 รูปที่ 5 โรงภาพยนตร์ 3 มิติ 6 รูปที่ 6 ดาวเทียม 6 รูปที่ 7 เทคโนโลยีสารสนเทศ 7 รูปที่ 8 การรับรู้จากระยะไกล 7 รูปที่ 9 ระบบดาวเทียมนาร่อง 8 รูปที่ 10 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 8 รูปที่ 11 GISTDA My House 9 รูปที่ 12 Geo Information Application 9 รูปที่ 13 Application For Tomorrow 10 รูปที่ 14 การเริ่มเขียนบทความ 11 รูปที่ 15 การเขียนบทความ 12 รูปที่ 16 ผลงาน 1 14 รูปที่ 17 ผลงาน 2 15
  • 7. รูปที่ 18 ผลงาน 3 15 รูปที่ 19 ผลงาน 4 16 รูปที่ 20 ผลงาน 5 16 บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศเป็นสถานที่ให้ความรู้เกี่ยวกับอวกาศมาก มาย และในปัจจุบันนั้นมีผู้ที่สนใจในเรื่องของอวกาศเพิ่มขึ้นมากจากแต่ก่อน ส่งผลให้ในบางครั้งผู้ที่สนใจอยากจะหาข้อมูลเกี่ยวกับอวกาศไม่มีสถานที่ที่สามาร ถให้ข้อมูลได้อย่างถูกต้องและแม่นยา อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศจึงเป็นคาตอบของปัญหานี้และยังเป็ นการส่งเสริ มให้คนหันมาสนใจในเรื่องของอวกาศ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่อยู่ในอวกาศ 2.เพื่อเป็นการแนะนาสถานศึกษาอวกาศ “อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ” ขอบเขตการศึกษา สร้างเว็บไซต์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับธรณีประวัติ โดยจัดทาในบล็อกเกอร์ ในการสร้างเว็บไซต์ และใช้โปรแกรม Microsoft Office Word 2013, Adobe Photoshop CS5 ในการตกแต่งและจัดเรียงเว็บไซต์ให้สวยงามน่าสนใจ ง
  • 8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.มีผู้สนใจในเรื่องของอวกาศเพิ่มมากขึ้น 2.อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย บทที่ 2 เอกสารเกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เว็บไซต์ อวกาศ ให้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในอวกาศ คณะผู้จัดทาได้ศึกษาข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 2.1 ความรู้ทั่วไปของอวกาศ 2.2 สถานที่ให้ความรู้ 2.3 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์ 2.1 ความรู้ทั่วไปของอวกาศ อวกาศ (อังกฤษ: outer space, หรือ space) คือ ความว่างเปล่าที่มีอยู่ระหว่างวัตถุท้องฟ้า รวมถึงโลก อวกาศมิได้ว่างเปล่าอย่างสิ้นเชิง แต่ประกอบด้วยสุญญากาศแข็งที่ประกอบด้วยอนุภาคความหนาแน่นต่า ซึ่งมีพลาสมาของไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นหลัก เช่นเดียวกับรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า สนามแม่เหล็กและนิวตริโน ปัจจุบัน 1
  • 9. การสังเกตได้พิสูจน์แล้วว่าอวกาศยังมีสสารมืดและพลังงานมืดอยู่ด้วย อุณหภูมิเส้นฐานกาหนดโดยรังสีพื้นหลังที่หลงเหลือจากบิกแบงมีค่าเพียง 2.7 เคลวิน ในทางตรงข้าม อุณหภูมิในโคโรนาของดาวฤกษ์อาจสูงถึงหนึ่งล้านเคลวิน พลาสมาที่มีความหนาแน่นต่ามาก (น้อยกว่าหนึ่งอะตอมไฮโดรเจนต่อลูกบาศก์เมตร) และอุณหภูมิสูง (หลายล้านเคลวิน) ในอวกาศระหว่างดาราจักรเป็นที่มาของสสารแบริออน (baryonic matter) ในอวกาศ ความเข้มข้นเฉพาะถิ่นรวมกันเป็นดาวฤกษ์และดาราจักร อวกาศระหว่างดาราจักรกินปริมาตรส่วนใหญ่ของเอกภพ กระนั้น แม้แต่ดาราจักรและระบบดาวฤกษ์ก็แทบเป็นอวกาศที่ว่างเปล่าสิ้นเชิง ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet) เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออานวย ต่อการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบนดาวเคราะห์เหล่านั้น หรือ บริวารของดาวเคราะห์เองที่เรียกว่าดวงจันทร์ (Satellite) นักดาราศาสตร์เชื่อว่า ในบรรดาดาวฤกษ์ทั้งหมดกว่าแสนล้านดวงในกาแลกซี่ทางช้างเผือก ต้องมีระบบสุริยะที่เอื้ออานวยชีวิตอย่าง ระบบสุริยะที่โลกของเราเป็นบริวารอยู่อย่างแน่นอน เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่าความสามารถในการติดต่อจะทาได้ถึงที่โลก ของ เราอยู่เป็นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9 ดวง ที่เราเรียกกันว่า ดาวนพเคราะห์ ( นพ แปลว่า เก้า) เรียงตามลาดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ( ตอนนี้ไม่มีพลูโตแร้ว เหลือแค่ 8 ดวง ) และ ยังมีดวงจันทร์บริวารของ ดวงเคราะห์แต่ละดวง (Moon of sattelites) ยกเว้นเพียง สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่มีบริวาร ดาวเคราะห์น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อุกกาบาต (Meteorites) ตลอดจนกลุ่มฝุ่นและก๊าซ ซึ่งเคลื่อนที่อยู่ในวงโคจร ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมาก เมื่อเทียบระยะทาง ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ซึ่งมีระยะทางประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 1au.(astronomy unit) 2
  • 10. หน่วยดาราศาสตร์ กล่าวคือ ระบบสุริยะมีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ของดาวพลูโต ดาว เคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ในระบบสุริยะ ซึ่งอยู่ไกล เป็นระยะทาง 40 เท่าของ 1 หน่วยดาราศาสตร์ และยังไกลห่างออก ไปอีกจนถึงดงดาวหางอ๊อต (Oort's Cloud) ซึ่งอาจอยู่ไกลถึง 500,000 เท่า ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ด้วย ดวงอาทิตย์มีมวล มากกว่าร้อยละ 99 ของ มวลทั้งหมดในระบบสุริยะ ที่เหลือ นอกนั้นจะเป็นมวลของ เทหวัตถุต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วยดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอุกกาบาต รวมไปถึงฝุ่นและก๊าซ ที่ล่องลอยระหว่าง ดาวเคราะห์ แต่ละดวง โดยมีแรงดึงดูด (Gravity) เป็นแรงควบคุมระบบสุริยะ ให้เทหวัตถุบนฟ้าทั้งหมด เคลื่อนที่เป็นไปตามกฏแรง แรงโน้มถ่วงของนิวตัน ดวงอาทิตย์แพร่พลังงาน ออกมา ด้วยอัตราประมาณ 90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที เป็นพลังงานที่เกิดจากปฏิกริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ โดยการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ซึ่งเป็นแหล่งความร้อนให้กับดาว ดาวเคราะห์ต่างๆ ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์ จะเสียไฮโดรเจนไปถึง 4,000,000 ตันต่อวินาทีก็ตาม แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ยังมีความเชื่อว่าดวงอาทิตย์ จะยังคงแพร่พลังงานออกมา ในอัตรา ที่เท่ากันนี้ได้อีกนานหลายพันล้านปี ชื่อของดาวเคราะห์ทั้ง 9 ดวงยกเว้นโลก ถูกตั้งชื่อตามเทพของชาวกรีก เพราะเชื่อว่าเทพเหล่านั้นอยู่บนสรวงสวรค์ และเคารพบูชาแต่โบราณกาล ในสมัยโบราณจะรู้จักดาวเคราะห์เพียง 5 ดวงเท่านั้น(ไม่นับโลกของเรา) เพราะสามารถเห็นได้ ด้วยตาเปล่าคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ประกอบกับดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ รวมเป็น 7 ทาให้เกิดวันทั้ง 7 ในสัปดาห์นั่นเอง และดาวทั้ง 7 นี้จึงมีอิทธิกับดวงชะตาชีวิตของคนเราตามความเชื่อถือทางโหราศาสตร์ ส่วนดาวเคราะห์อีก 3 ดวงคือ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ถูกคนพบภายหลัง แต่นักดาราศาสตร์ก็ตั้งชื่อตามเทพของกรีก เพื่อให้สอดคล้องกันนั่นเอง 2.2 สถานที่ให้ความรู้ 3
  • 11. • Zone 1 Universe : กาเนิดเอกภพ นาเสนอเกี่ยวกับการกาเนิดเอกภพ ที่จะให้คาตอบว่าทาไมโลกจึงมีสิ่งมีชีวิต มีปัจจัยอะไรที่ทาให้สิ่งมีชีวิตอยู่บนโลกนี้ได้ แล้วทาไมเราจึงไม่ลอยจากโลก ผ่านการนาเสนอแบบวีดีทัศน์บนจอฉายภาพยนตร์โฮโลแกรม • Zone 2 Historical Technology of Space : เทคโนโลยีสารวจโลกและอวกาศ นาเสนอเกี่ยวกับวิวัฒนาการของการไปอวกาศ นาเสนอตั้งแต่ยุคนักคิด ยุคบุกเบิกอวกาศ และยุคเทคโนโลยีอวกาศ สนุกกับภารกิจการส่งยานอวกาศและดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจร ใน Space Mission Game • Zone 3 Life Begins to Space : มุ่งสู่อวกาศ นาเสนอเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมไปสู่อวกาศ มีปัจจัยอะไรบ้างที่ต้องคานึงถึงในการที่จะออกไปนอกโลก รูปที่ 1 กาเนิ ดเอกภพ รูปที่ 2 เทคโนโลยีอวกาศ 4
  • 12. เมื่อออกไปนอกโลกแล้วร่างกายจะมีปฏิกิริยาอย่างไร เช่น ร่างกายกับแรงโน้มถ่วง รวมถึงการได้ทดลองเครื่อง Gyroscope ที่จะจาลองการต้านแรงโน้มถ่วงของการฝึกนักบินอวกาศ • Zone 4 Space Station : สถานีอวกาศ นาเสนอเกี่ยวกับการใช้ชีวิตในอวกาศ การอยู่ในสถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station: ISS) และการค้นคว้าวิจัยในอวกาศ ปฏิบัติภารกิจในถุงมืออวกาศ • Zone 5 Space 3D Theater : โรงภาพยนตร์ 3 มิติ เล่าถึงการผจญภัยในอวกาศ ผ่านเรื่องราวของพ่อลูกคู่หนึ่งที่มีความผูกพันกัน สร้างความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องราวของอวกาศ เห็นการปลูกฝังจากรุ่นสู่รุ่น สร้างแรงบันดาลใจให้คนสนใจเรื่องอวกาศ เสริมสร้างจิตนาการนึกคิดและเรียนรู้อวกาศมากขึ้น รูปที่ 3 ชุดอวกาศ รูปที่ 4 สถานี อวกาศ 5
  • 13. • Zone 6 Satellite : ดาวเทียม นาเสนอเกี่ยวกับดาวเทียม ประเภทและวงโคจรดาวเทียม วิธีการสร้างดาวเทียม ภารกิจพิชิตดาวอังคาร ตื่นตาตื่นใจกับโลกใบใหญ่ที่มีดาวเทียมโคจรอยู่ • Zone 7 Geo Informatics : เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ นาเสนอเกี่ยวกับเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในชีวิตประจาวัน โดยเน้นให้เห็นว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวเรานี่เอง รูปที่ 5 โรงภาพยนตร์ 3มิติ รูปที่ 6 ดาวเทียม 6
  • 14. • Zone 8 Remote Sensing : การรับรู้จากระยะไกล นาเสนอเกี่ยวกับเทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกล พลังงานและการแผ่รังสี พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า การสะท้อนเชิงสเปคตรัม รายละเอียดภาพ การวิเคราะห์ข้อมูล ทั้งยังมีกล้องอินฟาเรดสาหรับส่องมาที่ตัวคนหรือวัตถุอื่นๆ แล้วแสดงผลในรูปแบบค่าสีที่แสดงถึงความร้อน • Zone 9 Global Navigation Satellite System : ระบบดาวเทียมนาร่องโลก นาเสนอเกี่ยวกับระบบดาวเทียมนาร่องโลก สนุกกับ Tracking Game ที่จะสมมุติให้ผู้เล่นสวมบทบาทเป็นเจ้าหน้าที่ดูแลภายในเมือง หากเกิดเหตุ จะส่งทีมเข้าไปแก้ปัญหาด้วยเส้นทางไหน รูปที่ 7 เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ รูปที่ 8 การรับรู้จากระยะไกล 7
  • 15. • Zone 10 Geographic Information Systems : ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ นาเสนอเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กระบวนการวิเคราะห์ และจะมีการทดลองการสร้างแผนที่ 3 มิติ • Zone 11 GISTDA My House นาเสนอเกี่ยวกับการจาลองมุมมอง เสมือนไปยืนอยู่บนสถานที่จริง รอบพื้นที่ที่สนใจ รูปที่ 9 ระบบดาวเทียมนาร่อง รูปที่ 10 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ รูปที่ 11 GISTDA My House 8
  • 16. • Zone 12 Geo Informatics Application นาเสนอเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ การใช้ประโยชน์ด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านการเกษตรกรรม ด้านการวางผังเมืองและป้องกันภัย เพิ่มความเข้าใจผ่านการเล่นเกมส์สร้างเมือง เกมส์แนะนาเกษตรกรฯลฯ • Zone 13 Application for Tomorrow นาเสนอเกี่ยวกับ เป็นการนาเสนอภาพสถานที่ในรูปแบบ 360 องศา พร้อมคาบรรยาย เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ ณ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ GISTDA อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี รูปที่ 12 Geo Informatics Application รูปที่ 13 Application for Tomorrow 9
  • 17. 2.3 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์ ความหมายของ Blogger บล็อกเป็นไดอารีส่วนบุคคล ห้องฟังเทศน์ พื้นที่สาหรับความร่วมมือ เวทีแสดงออกทางการเมือง ห้องกระจายข่าว การเก็บรวบรวมลิงค์ ความคิดส่วนตัวของคุณ บันทึกสาหรับคนทั่วโลกบล็อกของคุณจะเป็นอะไรก็ได้ตามที่ใจต้องการ เรามีบล็อกนับล้าน ทุกรูปแบบและทุกขนาด และไม่มีกฎตายตัวกล่าวง่ายๆ บล็อกก็คือเว็บไซต์ ซึ่งคุณสามารถเขียนเรื่องต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่อง เรื่องใหม่จะปรากฏด้านบนสุด เพื่อให้ผู้เยี่ยมชมสามารถอ่านสิ่งที่มาใหม่ จากนั้นจะสามารถแสดงความคิดเห็นหรือสร้างลิงก์ หรือส่งอีเมลถึงคุณ หรือไม่ทาอะไรเลยนับตั้งแต่ Blogger เปิดตัวในปี ค.ศ. 1999 บล็อกก็ได้เปลี่ยนโฉมหน้าของเว็บ สร้างผลกระทบต่อการเมือง เขย่าวงการสื่อสารมวลชน และทาให้คนนับล้านได้แสดงออกและติดต่อกับบุคคลอื่น และเรามั่นใจว่าทั้งหมดนี้เป็นเพียงจุดเริ่มต้นเท่านั้น สร้างบล็อก เมื่อต้องการเริ่มเขียนบล็อกด้วยบล็อกเกอร์ ให้ไปที่ หน้าแรกบล็อกเกอร์ ใส่ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านของคุณ จากนั้นคลิกลงชื่อเข้าใช้ ป้อนชื่อที่แสดง และยอมรับข้อกาหนดในการให้บริการของบล็อกเกอร์ จากนั้นคลิกที่ลิงค์ สร้างบล็อก แล้วเริ่มต้นได้เลย! เลือกที่อยู่ (URL) และชื่อบล็อก จากนั้นเลือกเทมเพลตบล็อกที่คุณชอบ (นี่คือลักษณะหน้าตาของบล็อกเมื่อคุณเผยแพร่) จากนั้นก็เริ่มใช้ความคิดสร้างสรรค์ เพิ่มข้อมูลในโปรไฟล์ส่วนบุคคลของคุณ และปรับแต่งลักษณะของบล็อก ถ้าคุณต้องการ เริ่มต้นเขียนบล็อกวันนี้แดชบอร์ด 1 0
  • 18. หน้าแดชบอร์ดคือจุดเริ่มต้นของคุณเช่นเคย หน้านี้จะแสดงรายชื่อบล็อกของคุณทั้งหมด และคุณสามารถคลิกที่ไอคอนถัดจากชื่อบล็อกเพื่อดาเนินการต่างๆ กับแต่ละบล็อก เช่น เขียนโพสต์ใหม่: คลิกที่ไอคอนดินสอสีส้มบนแดชบอร์ดเพื่อเข้าถึงเครื่องมือการแก้ไขโพสต์ ดูโพสต์ของคุณ: ไอคอนรายการโพสต์สีเทาจะนาคุณไปยังรายการโพสต์ที่เผยแพร่แล้วและโพสต์ใ นข้อความร่างของบล็อกนั้นๆ ติดตามบล็อกโปรดของคุณ: ด้านล่างรายการบล็อกของคุณ คุณจะเห็นรายการบล็อกที่คุณติดตาม พร้อมข้อความตัวอย่างจากโพสต์ล่าสุดของบล็อกเหล่านั้น อื่นๆ: ดูเมนูเลื่อนลงข้างไอคอนรายการโพสต์สาหรับลิงก์ด่วนไปยัง: ภาพรวม โพสต์ หน้าเว็บ ความคิดเห็น สถิติ รายได้ การออกแบบ เทมเพลต การตั้งค่า เมื่อคุณลงชื่อเข้าใช้บล็อกเกอร์แล้ว คุณจะเห็นแดชบอร์ดพร้อมด้วยรายชื่อบล็อก ต่อไปนี้คือสิ่งที่คุณต้องทา 1.คลิกที่ไอคอนรูปดินสอสีส้มเพื่อเขียนโพสต์ใหม่ และป้อนอะไรก็ได้ที่ต้องการแบ่งปันกับคนทั้งโลก รูปที่ 14 การเริ่มเขียนบทความ 1 1
  • 19. 2.ถัดไป คุณจะเห็นหน้าเว็บของเครื่องมือแก้ไขโพสต์ เริ่มต้นด้วยการตั้งชื่อโพสต์ จากนั้นป้อนเนื้อหาโพสต์ 3.เมื่อดาเนินการเสร็จแล้ว ให้คลิกปุ่ม ดูตัวอย่าง ที่ด้านบนเพื่อตรวจสอบให้มั่นใจว่าพร้อมที่จะดาเนินการ จากนั้นคลิกที่ปุ่ม เผยแพร่เพื่อเผยแพร่โพสต์ บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินงาน การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธีดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังนี้ 3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ 1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 2.ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานในการสร้างเว็บไซต์และตกแต่งเว็บไซต์ให้น่าสนใจ 3.ศึกษาวิธีการสร้างบล็อกเกอร์ 4.จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา รูปที่ 15 การเขียนบทความ 1 2
  • 20. 5.ออกแบบบล็อก 6.จักทาโครงงานสร้างบล็อก อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ 7.เผยแพร่ผลงานผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 8.ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน 3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.ศึกษา เรื่อง อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ 2.ศึกษา เรื่อง วิธีการสร้างบล็อกเกอร์ 3.ศึกษา เรื่อง การทางานของโปรแกรมต่างๆ ได้แก่ 3.1Microsoft Office Word 2013 , 3.2Adobe Photoshop CS5 3.3 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 1.เครื่องมือคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ ต 2.ซอฟต์แวร์ - Microsoft Office Word 2013 - Adobe Photoshop CS5 บทที่ 4 ผลการดาเนินการ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา สร้างเว็บไซต์ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศที่เป็นแหล่งความรู้เกี่ยวกับ อวกาศ มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ อวกาศ ซึ่งมีผลการดาเนินงานโครงงานดังนี้ 4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน การพัฒนาโครงงานสร้างเว็บไซต์ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปของอวกาศ คณะผู้จัดทาได้ดาเนินตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ได้วางแผนไว้ และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านทางเครือข่ายระบบอินเตอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ เป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และรวดเร็วในการรับข้อมูล 1 3
  • 22. รูปที่ 18 ผลงาน 3 รูปที่ 19 ผลงาน 4 1 5
  • 23. บทที่ 5 บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผล การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศสรุปผลการดาเนินงานโครงงานและข้อเสนอแน ะ ดังนี้ 5.1 การดาเนินการจัดทาโครงงาน 5.1.1วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่อยู่ในอวกาศ 2.เพื่อเป็นการแนะนาสถานศึกษาอวกาศ “อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ” 5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน รูปที่ 20 ผลงาน 5 1 6
  • 24. 1.เครื่องมือคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 2.ซอฟต์แวร์ - Microsoft Office Word 2013 - Adobe Photoshop CS5 5.2 สรุปผลการดาเนินการทาโครงงาน การดาเนินโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ คือ เพื่อให้ความรู้เบื้องต้นแก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับอวกาศ เว็บไซต์ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมเป็นเว็บไซต์ที่จัดทาขึ้นเพื่อ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอวกาศนาเสนอผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทาให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วได้รับความรู้ ความเข้าใจ เล็งเห็นความสาคัญของอวกาศ เพื่อที่จะได้นาไปใช้เป็นความรู้ เว็บไซต์ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ จึงเป็นเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ และเป็นการนาเทคโนโลยีและซอฟแวร์มาพัฒนาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าและ เกิดประโยชน์ 5.3 ข้อเสนอแนะ 1.ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายครบเนื้อหาในมุมลึกก ว่านี้ 2.ควรมีการจัดทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน บรรณานุกรม ข้อมูลสถานที่ อุทยานรัวสรรค์นวัตกรรมอวกาศ สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559 จากเว็บไซต์ : http://www.gistda.or.th/main/th/taxonomy/term/214 1 7
  • 25. คู่มือการสร้างบล็อกเกอร์ สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559 จากเว็บไซต์ : http://www.ninetechno.com/a/blogger/360-blogger.html คู่มือการสร้าง Photoshop สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559 จากเว็บไซต์ http://babybearjubujubu.blogspot.com/2008/09/phoshop- photoshop-photoshop-adobe.html ภาคผนวก 1 8