SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
GRAM NEGATIVE
OXIDASE POSITIVE
#bacteria
จะย้อมติดสีแดงของ safranin
ผนังเซลล์บาง
- ชั้นในเป็นชั้นบางของ peptidoglycan
- ชั้นนอกเป็นชั้นไขมัน
ภายนอกเซลล์ มี lipopolysacharide ซึ่งเป็นสารพิษ
endotoxin
Gram negative bacteria (แบคทีเรียแกรมลบ)
- เป็น gram-negative diplococci
- มีรูปร่างคล้ายไต 2 อันประกบกัน คล้ายเมล็ดกาแฟ
- เชื้อหายใจแบบใช้ออกซิเจน
- การเพาะเชื้อต้องอาศัย culture media ที่มีสารอาหารปริมาณเพียงพอต่อการเจริญ
- โดยทั่วไปใช้ chocolate agar และ Thayer-Martin agar เป็นเชื้อก่อโรคที่สําคัญในมนุษย์
Neisseria
- เป็นเชื้อก่อโรคที่ทําให้เกิดโรคหนองในแท้(gonorrhoea)
- เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ติด N.gonorrhoeae ในเด็กทารกแรกคลอดจากมารดาที่เป็นหนองใน
จะทําให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุตาที่เรียกว่า ophthalmia neonatorum
ในเด็กทารกแรกคลอด
Neisseria gonorrhoeae
ในเพศชาย
จะมีอาการที่รุนแรง คือ ภายหลังจากรับเชื้อแล้ว 3-9 วัน จะ
พบว่ามีหนองไหลออกมาจากท่อปัสสาวะ ทําให้ถ่ายปัสสาวะลําบาก มี
อาการขัดเบา ปากท่อปัสสาวะจะบวมแดงหนองอาจจะไหลเยิ้มถึงขั้น
เปียกกางเกงใน ประมาณ 1-2 สัปดาห์หากไม่ได้รับการรักษาหนองจะ
เริ่มน้อยลง แต่อาการ อักเสบยังคงอยู่ การปล่อยทิ้งไว้โรคจะดําเนิน
กลายเป็นเรื้อรัง ทําให้เกิดต่อมลูกหมากอักเสบ ท่ออสุจิตีบตันและทําให้
เป็นหมันได้
Neisseria gonorrhoeae
มีอาการหลากหลายตั้งแต่ไม่มีอาการแสดงทางคลินิก
มีอาการอักเสบของอุ้งเชิงกราน ซึ่งจะเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาคือ
การตั้งครรภ์นอกมดลูกหรือเป็นหมันได้นอกจากการติดเชื้อที่ระบบ
สืบพันธุ์แล้วยังพบว่าเชื้อนี้สามารถก่อให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุ
ต่าง ๆ ได้เช่น ปากมดลูก คอหอย และทวารหนัก ในบางครั้งเชื้อ
ลุกลามเข้ากระแสเลือดและทําให้เกิด systemic infection เช่น
ข้ออักเสบ จุดเลือดออกตามลําตัว เป็นต้น
Neisseria gonorrhoeae
ในเพศหญิง
การตรวจหาเชื้อและวินิจฉัยโรค
ตรวจหาเชื้อจากหนองโดยการย้อมสีกรัม(Gram Stain) พบเชื้อ
Gram negative สีแดงมีการอักเสบของอวัยวะสืบพันธุ์มีหนอง ในเพศ
หญิงจะพบการตกขาวออกมาเป็นหนอง มีอาการอักเสบของช่องคลอดมี
การอักเสบที่ปากมดลูก ปวดท้องน้อยเนื่องจากมดลูกอักเสบ
1.ให้ยา Probenecid ขนาด 1 กรัม ครั้งแรก แล้วต่อมาอีก 30 นาที ให้ฉีด Aqueous procaine penicillin G.
ขนาด 4.8 ล้านหน่วย โดย แบ่งฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 2 แห่ง
2. หรือให้ Tetracycline HCI 1.5กรัม รับประทานครั้งแรก แล้วตามด้วย Tetracycline HCI ขนาด 0.5 กรัม วัน
ละ 4 ครั้ง เป็นเวลา 4 วันติดต่อกัน รวมทั้งสิ้นให้ได้รับยา 9 กรัม
3. ให้ยา ampicicllin 2 กรัม ร่วมกับ Pobenecid 1 กรัม ควรอยู่ในความควบคุมดูแลของแพทย์
การรักษาพยาบาล
Neisseria meningitidis
- เป็นแบคทีเรียกรัมลบรูปกลมอยู่เป็นคู่ อาศัยอยู่ได้ในหลายสภาวะ
- เป็นเชื้อก่อโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบและโรคติดเชื้อไข้กาฬหลังแอ่น
- โรคไข้กาฬหลังแอ่นเกิดในบุคคลทุกวัย พบมากทั้งในช่วงอายุ 1 เดือน- 15 ปี
(25-40%) และมากกว่า 15 ปี (10-35%)
- เชื้อนี้เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตและทุพพลภาพของเด็กและสตรีมีครรภ์ใน
ประเทศอุตสาหกรรมและมีการระบาดในกะปิทวีปแอฟริกาและเอเชีย
ระยะฟักตัว
ประมาณ 2-10 วัน โดยเฉลี่ย 3-4 วัน
Neisseria meningitidis
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ําเลือด (pink macules) ขึ้นตามผิวหนัง
ร่วมด้วย และอาจเกิดภาวะช็อกอย่างรวดเร็ว
ผู้ที่สามารถแพร่เชื้อได้ คือผู้ที่ไม่มีอาการ(พาหะ) และผู้ป่วยสามารถแพร่โรคได้จนกว่าจะตรวจไม่
พบเชื้อในน้ํามูก น้ําลาย
เชื้อกระจายจากช่องปาก ช่องจมูกจากคนหนึ่งสู่อีกคนโดยตรง ผ่านระบบทางเดินหายใจ แบบเชื้อ
แพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ (meningococcemia) เชื้อเข้าในกระแสเลือด โดยเลือดจะมาหล่อ
เลี้ยงที่ปลายหลอดเลือดเป็นจํานวนมาก ผู้ป่วยจะมีผื่น เลือดออกตามผิวหนัง ในรายที่รุนแรงจะมีเลือดออก
ในลําไส้และต่อมหมวกไต แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitidis) เชื้อที่เข้าเยื่อหุ้มสมองทําให้เกิดอาการ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
Neisseria meningitidis
ระยะติดต่อ
วิธีการติดต่อ
เป็นสาเหตุของโรค โรคอหิวาตกโรค (Cholera) แบคทีเรียแกรมลบ
curve rod หรือ comma เคลื่อนที่ได้ด้วยแฟลกเจลลา โรคนี้พบเชื้อ
ตามเขตน้ํากร่อย บริเวณปากแม่น้ําที่ติดทะเล พบได้ในน้ําจืด และอาหาร
ทะเล จําพวก กุ้ง หอย ปู และแมลงบางชนิด TCBS ให้ colony สี
เหลืองขนาดใหญ่
ระยะฟักตัว 2-48 ชั่วโมง ระยะเวลาในการเกิดอาการ 2-5 วันการก่อโรค และ อาการของโรค
Vibrio cholera
เกิดจากได้รับสารพิษเข้าไปยับยั้งการดูดซึมน้ําที่
ลําไส้ใหญ่ ทําให้เกิดการถ่ายเป็นน้ําจํานวนมากและมี
ลักษณะเฉพาะคือเป็นสีน้ําซาวข้าว ผู้ป่วยที่เสียชีวิตจะ
เกิดจากการเสียน้ําอย่างรุนแรง
Vibrio cholerae
อาการ
เป็นอย่างไม่รุนแรง พวกนี้มักหายภายใน 1 วัน หรืออย่างช้า 5 วัน มีอาการถ่ายอุจจาระเหลวเป็นน้ํา
วันละหลายครั้ง แต่จํานวนอุจจาระไม่เกินวันละ 1 ลิตร ในผู้ใหญ่อาจมีปวดท้องหรือ คลื่นไส้อาเจียนได้
เป็นอย่างรุนแรง อาการระยะแรก มีท้องเดิน มีเนื้ออุจจาระมาก ต่อมามีลักษณะเป็นน้ําซาวข้าว
เพราะว่ามีมูกมาก มีกลิ่นเหม็นคาว ถ่ายอุจจาระได้โดยไม่มีอาการปวดท้อง บางครั้งไหลพุ่งออกมาโดยไม่
รู้สึกตัว มีอาเจียนโดยไม่คลื่นไส้ อุจจาระออกมากถึง 1 ลิตร ต่อชั่วโมง และจะหยุดเองใน 1 - 6 วัน ถ้าได้น้ํา
และเกลือแร่ชดเชยอย่างเพียงพอ แต่ถ้าได้น้ําและเกลือแร่ทดแทนไม่ทันกับที่เสียไป จะมีอาการขาดน้ําอย่างมาก
ลุกนั่งไม่ไหว ปัสสาวะน้อย หรือไม่มีเลย อาจมีอาการเป็นลม หน้ามืด จนถึงช็อค ซึ่งเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
1. วิธีการตรวจวินัจฉัยมาตรฐาน
วิธีการเพาะเชื้อจากอุจจาระ อาหาร และน้ํา จากการสอบสวนโรค เพื่อตรวจหาเชื้อแบคทีเรียก่อโรคอุจจาระร่วง
อย่างแรง ได้แก่ เชื้อ V.cholera
2. การตรวจหายีสส์ควบคุมกลไกก่อโรค
วิธี Multiplex PCR ตรวจดีเอ็นเอของเชื้อที่แยกได้จากผู้ป่วย ซึ่งมียีนส์ควบคุมกลไกก่อโรค เป็นสายพันธุ์ที่
สามารถสร้างสารพิษก่อโรคลําไส้ (enterotoxin)
Vibrio vulnificus
ในประเทศตะวันตกมักจะพบผู้ป่วยติดเชื้อนี้ในหน้าร้อน แต่ในประเทศ
ไทยและประเทศอื่นๆ ในเขตร้อนสามารถพบโรคติดเชื้อV. Vulnificus
ได้ตลอดทั้งปี
ก่อโรคในอาหารทะเล ที่ปนเปื้อนเชื้อนี้หรือมีบาดแผลเปิดที่สัมผัสกับเชื้อนี้.
ในคนที่แข็งแรงดีเมื่อกินอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อนี้จะทําให้มีอาการในระบบ
ทางเดินอาหาร. ในคนที่มีภูมิคุ้มกันไม่ปกติโดยเฉพาะถ้ามีโรคตับอยู่ มักจะมี
การติดเชื้อในกระแสเลือด (bacteremia) ร่วมด้วย ทําให้มีอาการรุนแรง
และอาจถึงกับ เสียชีวิต.
การก่อโรค
อาการ
ในคนที่แข็งแรงดี เมื่อกินอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อนี้จะทําให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว และปวดท้อง.
โดยจะเริ่มมีอาการหลังจากกิน อาหารทะเล ที่ปนเปื้อนเชื้อนี้ไปนานประมาณ 16 ชั่วโมง.
ในคนที่มีภูมิคุ้มกันไม่ปกติ โดยเฉพาะถ้ามีโรคตับอยู่มักจะมีการติดเชื้อในกระแสเลือด. ทําให้มีอาการรุนแรง
และ อาจถึงกับเสียชีวิต. โดยผู้ป่วยมักจะมาด้วยไข้เฉียบ พลัน หนาวสั่น ความดันเลือดตก และมีรอยโรคที่ผิวหนัง
เป็นแบบตุ่มน้ํา รายที่มีการติดเชื้อรุนแรงมักจะพบว่ามีตุ่มน้ําที่มีเลือดปน
วินิจฉัยโดยการเพาะเชื้อจากอุจจาระ บาดแผล ตุ่มน้ํา และเลือด. มักเพาะเชื้อขึ้นจากเลือดในรายที่มีไข้หรือ
มีตุ่มน้ํา โดยเฉพาะตุ่มน้ําที่มีเลือดปน.
การวินิจฉัย
Vibrio vulnificus
เมื่อสงสัยว่ามีการติดเชื้อ V. vulnificus ควรให้การรักษาทันที หลังจากที่เก็บสิ่งส่งตรวจเพาะเชื้อ
เพราะการให้ยาต้านจุลชีพที่ครอบคลุมเชื้อนี้จะช่วยลดอัตราตายของผู้ป่วยในรายที่มี แผลที่ติดเชื้อ ควรให้การ
รักษาทางศัลยกรรมอย่างพอเพียง เช่น การทําแผล การระบายหนอง การตัดเนื้อเยื่อที่ตายออก การทํา
fasciotomy ในรายที่มี necrotizing fasciitis. ในบางรายที่มีอาการรุนแรง อาจต้องถึงกับตัดขา
(amputation).
การรักษา
ไม่ควรกินอาหารทะเลดิบโดยเฉพาะหอยนางรม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในคนที่เป็นโรคตับหรือภูมิคุ้มกัน
ไม่ปกติ ควรทําอาหารทะเลให้สุกก่อน
การป้องกัน
Vibrio vulnificus
Vibrio parahaemolyticus (แบคทีเรียกินเนื้อคน)
เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปแท่ง มีแหล่งธรรมชาติในน้ําทะเลและน้ํากร่อย แยกได้จากน้ําทะเลทั่วโลก
กุ้ง หอย ปลา และปูหลายชนิด ก่อโรคอาหารเป็นพิษหรือทางเดินอาหารอักเสบ ส่วนใหญ่สายพันธุ์ที่แยกได้จาก
ผู้ป่วยผลิตสารพิษชนิดทนความร้อนเรียกว่า Thermostable direct hemolysin
อุจจาระผู้ป่วยที่เมืองโอซากา ประเทศญี่ปุ่น สาเหตุอาหารเป็นพิษจากการรับประทาน "ชิราสุ shirasu" เป็นเพราะ
คนญี่ปุ่นชอบรับประทานปลาดิบ
พบได้ใน
แยกเชื้อได้จาก
ลักษณะโรค
มีอาการถ่ายอุจจาระเป็นน้ําและปวดมวนท้องรุนแรงเป็นส่วนใหญ่ บางครั้ง มีคลื่นไส้ อาเจียน เป็นไข้และปวดศีรษะ
บางครั้งมีอาการคล้ายเป็นบิด ถ่ายอุจจาระปนเลือด หรือเป็นมูก ไข้สูง และมีจํานวนเม็ดเลือดขาวสูง เป็นโรคที่ไม่ค่อย
รุนแรง มีระยะเวลาดําเนินโรค 1-7 วัน การติดเชื้อในระบบอื่นของร่างกายและการตายพบได้น้อยมาก
โดยการแยกเชื้อได้จากอุจจาระผู้ป่วยบนอาหารเลี้ยงเชื้อเฉพาะ.สาเหตุ Vibrio parahaemolyticus ซึ่งเป็น
แบคทีเรียที่ชอบเกลือเข้มข้นสูงในการเจริญเติบโต (halophilic vibrio) มีแอนติเจนโอ ("O" antigen) และมีแอนติเจนเค
("K" antigen)
Vibrio parahaemolyticus (แบคทีเรียกินเนื้อคน)
การวินิจฉัย
โดยการกินอาหารทะเลที่ดิบหรือที่ปรุงไม่สุกพอ หรือกินอาหารอื่นที่มีการปนเปื้อนอาหารทะเลดิบ หรือล้าง
ด้วยน้ําทะเลที่ปนเปื้อนเชื้อนี้
ระยะฟักตัว ปกติ 12-24 ชั่วโมง หรืออยู่ในช่วง 4-30 ชั่วโมง ระยะติดต่อ ไม่ติดต่อจากคนสู่คน
มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดมวนท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเป็นน้ํา อาจมีมูกเลือดปน ส่วนใหญ่มีอาการภายหลัง
รับประทานอาหารทะเล ที่ปรุงไม่สุกพอ หรือ อาหารที่ปนเปื้อนอาหารทะเลหรือชะล้างด้วยน้ําทะเลที่ปนเปื้อนเชื้อ
Vibrio parahaemolyticus (แบคทีเรียกินเนื้อคน)
วิธีติดต่อ
อาการและอาการแสดง
Aeromonas hydrophila
- เป็นแบคทีเรียที่มีรูปร่างท่อนหรือ rod-shaped เนื่องจากเป็นแบคทีเรียที่อาศัยในแหล่ง
- พบในแหล่งน้ําจืดและน้ํากร่อย บางสายพันธุ์พบว่าทําให้เกิดอาการป่วยในปลาและสัตว์ครี่งบกครึ่งน้ําเหมือนกับที่
พบในคนที่ได้รับการติดเชื้อทางบาดแผลเปิด หรือจากทางเดินอาหาร
- เชื้อ A. hydrophila เป็นสาเหตุองการอักเสบของกระเพาะอาหารและลําไส้ หรือภาวะเลือดมีพิษ
อาการ
มีอาการเหมือนเป็นอหิวาตกโรค ถ่ายเป็นน้ําซาวข้าว และมีอาการของโรคบิดเป็นถ่ายอุจจาระปนมูกเลือด
แหล่งที่พบ
เป็นเชื้อที่มีอยู่ทั่วไปตามแหล่งน้ําธรรมชาติ ทั้งน้ําจืด น้ํากร่อยและน้ําทะเล
การก่อโรค
มักก่อให้เกิดโรคในสัตว์น้ําจืด เช่น ปลา กุ้ง กบ ทาก งู จระเข้
เชื้อสามารถเข้าสู่ร่างกาย
ทางปาก ทางผิวหนัง กระแสเลือด
เริ่มติดเชื้อจะมีอาการ
ปวด บวม แดง ร้อน ที่เป็นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอาการปวดที่ค่อนข้างมากที่ไม่สัมพันธ์
กับบาดแผล ถือเป็นลักษณะเฉพาะของโรคนี้ รวมทั้งมีไข้สูง
Aeromonas Veronii
Plesiomonas Shigelloides
พบเชื้อแบคทีเรียPlesiomonas Shigelloides ได้จาก
การตรวจหาเชื้อในเลือดและปัสสาวะ
ที่พบ
ในสัตว์น้ําประเภทหอยและปลาน้ําจืด
ก่อให้เกิดโรค
โรคอุจจาระร่วง
โรควิบริโอซีส (Vibriosis)
สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Vibrio anguillarum, V. alginolyticus, V. vulnificus และ Vibrio อื่น ๆ
ชนิดของสัตว์ที่ติดเชื้อได้ พบการติดเชื้อในปลาน้ําเค็ม พบการติดเชื้อในปลาน้ําจืด
อาการและรอยโรค - คล้ายกับรอยโรคติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
- ติดเชื้อในกระแสโลหิต
- พบจุดเนื้อตายที่ตับ ไต ม้าม และบางครั้งอาจพบที่เยื่อเมือกของทางเดินอาหาร
การวินิจฉัยโรค ทําได้โดยสังเกตจากอาการและรอยโรค
การติดต่อสู่คน ก่อโรคในผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางภูมิคุ้มกัน แต่บางชนิดก็สามารถก่อโรคได้ด้วยตัวมันเอง
สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Edwardsiella tarda
ลักษณะของเชื้อ เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างแท่ง โค้งงอเล็กน้อย แต่ก็อาจมีรูปร่างที่ไม่ แน่นอนแบคทีเรีย
มักอาศัยอยู่ภายในเซลล์ของปลาที่ป่วย
สัตว์ที่พบเชื้อ พบการติดเชื้อในปลาดุก ปลาทอง ปลาไหล และเชื้อที่มีผลกระทบมากต่ออุตสาหกรรมการ
อาการและรอยโรค - คล้ายกับรอยโรคติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
- เป็นการติดเชื้อในกระแสโลหิต
- อาจพบแผลหลุมที่ผิวหนัง
โรคEdwardsiella septicemia
โรคEdwardsiella septicemia
การวินิจฉัยโรค - สังเกตจากอาการและรอยโรค
- ทําการเพาะแยกและพิสูจน์เชื้อแบคทีเรีย
- การตรวจสอบหาเชื้อก่อโรคโดยใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยา
การแพร่กระจายของโรค เกิดโดยการแพร่กระจายผ่านทางน้ําหรือปลาที่ป่วยเป็นโรค
การติดต่อสู่คน อาจก่อโรคในคนได้ในกรณที่คนป่วยมีภาวะบกพร่องของระบบภูมคุ้มกัน
โรคBacterial haemorrhagic septicemia
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila
ลักษณะของเชื้อแบคทีเรีย
เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างแท่ง ไม่สร้างสปอร์ เป็นแบคทีเรียที่มี ความแตกต่างขอระดับความรุนแรงสูงในแต่
ละ Serotype
ชนิดของสัตว์น้ําที่ติดเชื้อได้
ได้แก่ สัตว์น้ําจืดต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่เกิดตามหลังจากความเครียด และสิ่งที่ส่งผลให้สัตว์เหล่านั้นมีภาวะ
ภูมิคุ้มกันโรคที่ลดต่ํา
โรคHaemorrhagic septicemia
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ Pseudomonas fluorescens และ Pseudomonas anquilliseptica
ลักษณะของเชื้อ
เป็นแบคทีเรียแกรมลบ แอโรบิค รูปร่างแท่งสั้น มีแฟลกเจลลาแบบ Polar flagella ชนิดของสัตว์น้ําที่ติดเชื้อได้
ทั้งปลาน้ําจืดและปลาน้ําเค็ม
อาการและรอยโรค
คล้ายกับรอยโรคติดเชื้อ Aeromonas hydrophila ซึ่งรอยโรคเด่นชัดที่พบได้แก่การติดเชื้อในกระแสโลหิตซึ่ง
ก่อให้เกิดจุดหรือปิ้นเลือดออกที่อวัยวะต่าง ๆ โดยเฉพาะคลีบและ หาง และอาจพบแผลหลุมที่ผิวหนังด้วย
การแพร่กระจายของโรค
เกิดโดยการแพร่กระจายผ่านทางน้ําหรือปลาที่ป่วยเป็นโรค การติดต่อสู่คน (Zoonotic potency) อาจก่อโรคใน
คนได้ในกรณีที่คนป่วยมีภาวะบกพร่องของ ระบบภูมคุ้มกัน(Immunocompromised patient)
สมาชิก
1. นางสาวปภาวดี คําเทพ เลขที่ 16
2.นางสาวพรพิมล ธรรมนิยม เลขที่ 17
3.นางสาวพัชรีภรณ์ อุดแก้ว เลขที่ 18
4.นางสาวภณิดา หมันมณี เลขที่ 19
5.นางสาวภรัณยา ทิพย์รักษา เลขที่ 20
โสตทัศนศึกษาทางการแพทย์ชั้นปีที่2

More Related Content

What's hot

Bacterial Gram- positive Cocci
Bacterial Gram- positive CocciBacterial Gram- positive Cocci
Bacterial Gram- positive CocciMiw Wanwalee
 
Pathogenic Gram-Negative Cocci
Pathogenic Gram-Negative CocciPathogenic Gram-Negative Cocci
Pathogenic Gram-Negative Cocciatirachonpanyayom
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงtechno UCH
 
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)Apichart Laithong
 
ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..Prachaya Sriswang
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆเชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆAidah Madeng
 
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrAntimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrDel Del
 
งานวิจัยอาหารลดความเครียด
งานวิจัยอาหารลดความเครียดงานวิจัยอาหารลดความเครียด
งานวิจัยอาหารลดความเครียดPichetpongSuwanlert
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
Ppt. บาดทะยัก
Ppt. บาดทะยักPpt. บาดทะยัก
Ppt. บาดทะยักPrachaya Sriswang
 

What's hot (20)

Bacterial Gram- positive Cocci
Bacterial Gram- positive CocciBacterial Gram- positive Cocci
Bacterial Gram- positive Cocci
 
ภูมิแพ้
ภูมิแพ้ภูมิแพ้
ภูมิแพ้
 
Pathogenic Gram-Negative Cocci
Pathogenic Gram-Negative CocciPathogenic Gram-Negative Cocci
Pathogenic Gram-Negative Cocci
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
 
ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆเชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
 
Gram negative cocci
 Gram negative cocci Gram negative cocci
Gram negative cocci
 
Gram negative bacilli
Gram negative bacilliGram negative bacilli
Gram negative bacilli
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrAntimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
 
งานวิจัยอาหารลดความเครียด
งานวิจัยอาหารลดความเครียดงานวิจัยอาหารลดความเครียด
งานวิจัยอาหารลดความเครียด
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. บาดทะยัก
Ppt. บาดทะยักPpt. บาดทะยัก
Ppt. บาดทะยัก
 

Similar to Gram negative-oxidase-positive

Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)atirachonpanyayom
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)Aimmary
 
โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]fainaja
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563Postharvest Technology Innovation Center
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามIsyapatr
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 

Similar to Gram negative-oxidase-positive (20)

Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 

Gram negative-oxidase-positive

  • 2. จะย้อมติดสีแดงของ safranin ผนังเซลล์บาง - ชั้นในเป็นชั้นบางของ peptidoglycan - ชั้นนอกเป็นชั้นไขมัน ภายนอกเซลล์ มี lipopolysacharide ซึ่งเป็นสารพิษ endotoxin Gram negative bacteria (แบคทีเรียแกรมลบ)
  • 3. - เป็น gram-negative diplococci - มีรูปร่างคล้ายไต 2 อันประกบกัน คล้ายเมล็ดกาแฟ - เชื้อหายใจแบบใช้ออกซิเจน - การเพาะเชื้อต้องอาศัย culture media ที่มีสารอาหารปริมาณเพียงพอต่อการเจริญ - โดยทั่วไปใช้ chocolate agar และ Thayer-Martin agar เป็นเชื้อก่อโรคที่สําคัญในมนุษย์ Neisseria
  • 4. - เป็นเชื้อก่อโรคที่ทําให้เกิดโรคหนองในแท้(gonorrhoea) - เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ติด N.gonorrhoeae ในเด็กทารกแรกคลอดจากมารดาที่เป็นหนองใน จะทําให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุตาที่เรียกว่า ophthalmia neonatorum ในเด็กทารกแรกคลอด Neisseria gonorrhoeae
  • 5. ในเพศชาย จะมีอาการที่รุนแรง คือ ภายหลังจากรับเชื้อแล้ว 3-9 วัน จะ พบว่ามีหนองไหลออกมาจากท่อปัสสาวะ ทําให้ถ่ายปัสสาวะลําบาก มี อาการขัดเบา ปากท่อปัสสาวะจะบวมแดงหนองอาจจะไหลเยิ้มถึงขั้น เปียกกางเกงใน ประมาณ 1-2 สัปดาห์หากไม่ได้รับการรักษาหนองจะ เริ่มน้อยลง แต่อาการ อักเสบยังคงอยู่ การปล่อยทิ้งไว้โรคจะดําเนิน กลายเป็นเรื้อรัง ทําให้เกิดต่อมลูกหมากอักเสบ ท่ออสุจิตีบตันและทําให้ เป็นหมันได้ Neisseria gonorrhoeae
  • 6. มีอาการหลากหลายตั้งแต่ไม่มีอาการแสดงทางคลินิก มีอาการอักเสบของอุ้งเชิงกราน ซึ่งจะเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาคือ การตั้งครรภ์นอกมดลูกหรือเป็นหมันได้นอกจากการติดเชื้อที่ระบบ สืบพันธุ์แล้วยังพบว่าเชื้อนี้สามารถก่อให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุ ต่าง ๆ ได้เช่น ปากมดลูก คอหอย และทวารหนัก ในบางครั้งเชื้อ ลุกลามเข้ากระแสเลือดและทําให้เกิด systemic infection เช่น ข้ออักเสบ จุดเลือดออกตามลําตัว เป็นต้น Neisseria gonorrhoeae ในเพศหญิง
  • 7. การตรวจหาเชื้อและวินิจฉัยโรค ตรวจหาเชื้อจากหนองโดยการย้อมสีกรัม(Gram Stain) พบเชื้อ Gram negative สีแดงมีการอักเสบของอวัยวะสืบพันธุ์มีหนอง ในเพศ หญิงจะพบการตกขาวออกมาเป็นหนอง มีอาการอักเสบของช่องคลอดมี การอักเสบที่ปากมดลูก ปวดท้องน้อยเนื่องจากมดลูกอักเสบ 1.ให้ยา Probenecid ขนาด 1 กรัม ครั้งแรก แล้วต่อมาอีก 30 นาที ให้ฉีด Aqueous procaine penicillin G. ขนาด 4.8 ล้านหน่วย โดย แบ่งฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 2 แห่ง 2. หรือให้ Tetracycline HCI 1.5กรัม รับประทานครั้งแรก แล้วตามด้วย Tetracycline HCI ขนาด 0.5 กรัม วัน ละ 4 ครั้ง เป็นเวลา 4 วันติดต่อกัน รวมทั้งสิ้นให้ได้รับยา 9 กรัม 3. ให้ยา ampicicllin 2 กรัม ร่วมกับ Pobenecid 1 กรัม ควรอยู่ในความควบคุมดูแลของแพทย์ การรักษาพยาบาล
  • 8. Neisseria meningitidis - เป็นแบคทีเรียกรัมลบรูปกลมอยู่เป็นคู่ อาศัยอยู่ได้ในหลายสภาวะ - เป็นเชื้อก่อโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบและโรคติดเชื้อไข้กาฬหลังแอ่น - โรคไข้กาฬหลังแอ่นเกิดในบุคคลทุกวัย พบมากทั้งในช่วงอายุ 1 เดือน- 15 ปี (25-40%) และมากกว่า 15 ปี (10-35%) - เชื้อนี้เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตและทุพพลภาพของเด็กและสตรีมีครรภ์ใน ประเทศอุตสาหกรรมและมีการระบาดในกะปิทวีปแอฟริกาและเอเชีย
  • 9. ระยะฟักตัว ประมาณ 2-10 วัน โดยเฉลี่ย 3-4 วัน Neisseria meningitidis อาการและอาการแสดง ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ําเลือด (pink macules) ขึ้นตามผิวหนัง ร่วมด้วย และอาจเกิดภาวะช็อกอย่างรวดเร็ว
  • 10. ผู้ที่สามารถแพร่เชื้อได้ คือผู้ที่ไม่มีอาการ(พาหะ) และผู้ป่วยสามารถแพร่โรคได้จนกว่าจะตรวจไม่ พบเชื้อในน้ํามูก น้ําลาย เชื้อกระจายจากช่องปาก ช่องจมูกจากคนหนึ่งสู่อีกคนโดยตรง ผ่านระบบทางเดินหายใจ แบบเชื้อ แพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ (meningococcemia) เชื้อเข้าในกระแสเลือด โดยเลือดจะมาหล่อ เลี้ยงที่ปลายหลอดเลือดเป็นจํานวนมาก ผู้ป่วยจะมีผื่น เลือดออกตามผิวหนัง ในรายที่รุนแรงจะมีเลือดออก ในลําไส้และต่อมหมวกไต แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitidis) เชื้อที่เข้าเยื่อหุ้มสมองทําให้เกิดอาการ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ Neisseria meningitidis ระยะติดต่อ วิธีการติดต่อ
  • 11. เป็นสาเหตุของโรค โรคอหิวาตกโรค (Cholera) แบคทีเรียแกรมลบ curve rod หรือ comma เคลื่อนที่ได้ด้วยแฟลกเจลลา โรคนี้พบเชื้อ ตามเขตน้ํากร่อย บริเวณปากแม่น้ําที่ติดทะเล พบได้ในน้ําจืด และอาหาร ทะเล จําพวก กุ้ง หอย ปู และแมลงบางชนิด TCBS ให้ colony สี เหลืองขนาดใหญ่ ระยะฟักตัว 2-48 ชั่วโมง ระยะเวลาในการเกิดอาการ 2-5 วันการก่อโรค และ อาการของโรค Vibrio cholera เกิดจากได้รับสารพิษเข้าไปยับยั้งการดูดซึมน้ําที่ ลําไส้ใหญ่ ทําให้เกิดการถ่ายเป็นน้ําจํานวนมากและมี ลักษณะเฉพาะคือเป็นสีน้ําซาวข้าว ผู้ป่วยที่เสียชีวิตจะ เกิดจากการเสียน้ําอย่างรุนแรง
  • 12. Vibrio cholerae อาการ เป็นอย่างไม่รุนแรง พวกนี้มักหายภายใน 1 วัน หรืออย่างช้า 5 วัน มีอาการถ่ายอุจจาระเหลวเป็นน้ํา วันละหลายครั้ง แต่จํานวนอุจจาระไม่เกินวันละ 1 ลิตร ในผู้ใหญ่อาจมีปวดท้องหรือ คลื่นไส้อาเจียนได้ เป็นอย่างรุนแรง อาการระยะแรก มีท้องเดิน มีเนื้ออุจจาระมาก ต่อมามีลักษณะเป็นน้ําซาวข้าว เพราะว่ามีมูกมาก มีกลิ่นเหม็นคาว ถ่ายอุจจาระได้โดยไม่มีอาการปวดท้อง บางครั้งไหลพุ่งออกมาโดยไม่ รู้สึกตัว มีอาเจียนโดยไม่คลื่นไส้ อุจจาระออกมากถึง 1 ลิตร ต่อชั่วโมง และจะหยุดเองใน 1 - 6 วัน ถ้าได้น้ํา และเกลือแร่ชดเชยอย่างเพียงพอ แต่ถ้าได้น้ําและเกลือแร่ทดแทนไม่ทันกับที่เสียไป จะมีอาการขาดน้ําอย่างมาก ลุกนั่งไม่ไหว ปัสสาวะน้อย หรือไม่มีเลย อาจมีอาการเป็นลม หน้ามืด จนถึงช็อค ซึ่งเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
  • 13. การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ 1. วิธีการตรวจวินัจฉัยมาตรฐาน วิธีการเพาะเชื้อจากอุจจาระ อาหาร และน้ํา จากการสอบสวนโรค เพื่อตรวจหาเชื้อแบคทีเรียก่อโรคอุจจาระร่วง อย่างแรง ได้แก่ เชื้อ V.cholera 2. การตรวจหายีสส์ควบคุมกลไกก่อโรค วิธี Multiplex PCR ตรวจดีเอ็นเอของเชื้อที่แยกได้จากผู้ป่วย ซึ่งมียีนส์ควบคุมกลไกก่อโรค เป็นสายพันธุ์ที่ สามารถสร้างสารพิษก่อโรคลําไส้ (enterotoxin)
  • 14. Vibrio vulnificus ในประเทศตะวันตกมักจะพบผู้ป่วยติดเชื้อนี้ในหน้าร้อน แต่ในประเทศ ไทยและประเทศอื่นๆ ในเขตร้อนสามารถพบโรคติดเชื้อV. Vulnificus ได้ตลอดทั้งปี ก่อโรคในอาหารทะเล ที่ปนเปื้อนเชื้อนี้หรือมีบาดแผลเปิดที่สัมผัสกับเชื้อนี้. ในคนที่แข็งแรงดีเมื่อกินอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อนี้จะทําให้มีอาการในระบบ ทางเดินอาหาร. ในคนที่มีภูมิคุ้มกันไม่ปกติโดยเฉพาะถ้ามีโรคตับอยู่ มักจะมี การติดเชื้อในกระแสเลือด (bacteremia) ร่วมด้วย ทําให้มีอาการรุนแรง และอาจถึงกับ เสียชีวิต. การก่อโรค
  • 15. อาการ ในคนที่แข็งแรงดี เมื่อกินอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อนี้จะทําให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว และปวดท้อง. โดยจะเริ่มมีอาการหลังจากกิน อาหารทะเล ที่ปนเปื้อนเชื้อนี้ไปนานประมาณ 16 ชั่วโมง. ในคนที่มีภูมิคุ้มกันไม่ปกติ โดยเฉพาะถ้ามีโรคตับอยู่มักจะมีการติดเชื้อในกระแสเลือด. ทําให้มีอาการรุนแรง และ อาจถึงกับเสียชีวิต. โดยผู้ป่วยมักจะมาด้วยไข้เฉียบ พลัน หนาวสั่น ความดันเลือดตก และมีรอยโรคที่ผิวหนัง เป็นแบบตุ่มน้ํา รายที่มีการติดเชื้อรุนแรงมักจะพบว่ามีตุ่มน้ําที่มีเลือดปน วินิจฉัยโดยการเพาะเชื้อจากอุจจาระ บาดแผล ตุ่มน้ํา และเลือด. มักเพาะเชื้อขึ้นจากเลือดในรายที่มีไข้หรือ มีตุ่มน้ํา โดยเฉพาะตุ่มน้ําที่มีเลือดปน. การวินิจฉัย Vibrio vulnificus
  • 16. เมื่อสงสัยว่ามีการติดเชื้อ V. vulnificus ควรให้การรักษาทันที หลังจากที่เก็บสิ่งส่งตรวจเพาะเชื้อ เพราะการให้ยาต้านจุลชีพที่ครอบคลุมเชื้อนี้จะช่วยลดอัตราตายของผู้ป่วยในรายที่มี แผลที่ติดเชื้อ ควรให้การ รักษาทางศัลยกรรมอย่างพอเพียง เช่น การทําแผล การระบายหนอง การตัดเนื้อเยื่อที่ตายออก การทํา fasciotomy ในรายที่มี necrotizing fasciitis. ในบางรายที่มีอาการรุนแรง อาจต้องถึงกับตัดขา (amputation). การรักษา ไม่ควรกินอาหารทะเลดิบโดยเฉพาะหอยนางรม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในคนที่เป็นโรคตับหรือภูมิคุ้มกัน ไม่ปกติ ควรทําอาหารทะเลให้สุกก่อน การป้องกัน Vibrio vulnificus
  • 17. Vibrio parahaemolyticus (แบคทีเรียกินเนื้อคน) เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปแท่ง มีแหล่งธรรมชาติในน้ําทะเลและน้ํากร่อย แยกได้จากน้ําทะเลทั่วโลก กุ้ง หอย ปลา และปูหลายชนิด ก่อโรคอาหารเป็นพิษหรือทางเดินอาหารอักเสบ ส่วนใหญ่สายพันธุ์ที่แยกได้จาก ผู้ป่วยผลิตสารพิษชนิดทนความร้อนเรียกว่า Thermostable direct hemolysin อุจจาระผู้ป่วยที่เมืองโอซากา ประเทศญี่ปุ่น สาเหตุอาหารเป็นพิษจากการรับประทาน "ชิราสุ shirasu" เป็นเพราะ คนญี่ปุ่นชอบรับประทานปลาดิบ พบได้ใน แยกเชื้อได้จาก
  • 18. ลักษณะโรค มีอาการถ่ายอุจจาระเป็นน้ําและปวดมวนท้องรุนแรงเป็นส่วนใหญ่ บางครั้ง มีคลื่นไส้ อาเจียน เป็นไข้และปวดศีรษะ บางครั้งมีอาการคล้ายเป็นบิด ถ่ายอุจจาระปนเลือด หรือเป็นมูก ไข้สูง และมีจํานวนเม็ดเลือดขาวสูง เป็นโรคที่ไม่ค่อย รุนแรง มีระยะเวลาดําเนินโรค 1-7 วัน การติดเชื้อในระบบอื่นของร่างกายและการตายพบได้น้อยมาก โดยการแยกเชื้อได้จากอุจจาระผู้ป่วยบนอาหารเลี้ยงเชื้อเฉพาะ.สาเหตุ Vibrio parahaemolyticus ซึ่งเป็น แบคทีเรียที่ชอบเกลือเข้มข้นสูงในการเจริญเติบโต (halophilic vibrio) มีแอนติเจนโอ ("O" antigen) และมีแอนติเจนเค ("K" antigen) Vibrio parahaemolyticus (แบคทีเรียกินเนื้อคน) การวินิจฉัย
  • 19. โดยการกินอาหารทะเลที่ดิบหรือที่ปรุงไม่สุกพอ หรือกินอาหารอื่นที่มีการปนเปื้อนอาหารทะเลดิบ หรือล้าง ด้วยน้ําทะเลที่ปนเปื้อนเชื้อนี้ ระยะฟักตัว ปกติ 12-24 ชั่วโมง หรืออยู่ในช่วง 4-30 ชั่วโมง ระยะติดต่อ ไม่ติดต่อจากคนสู่คน มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดมวนท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเป็นน้ํา อาจมีมูกเลือดปน ส่วนใหญ่มีอาการภายหลัง รับประทานอาหารทะเล ที่ปรุงไม่สุกพอ หรือ อาหารที่ปนเปื้อนอาหารทะเลหรือชะล้างด้วยน้ําทะเลที่ปนเปื้อนเชื้อ Vibrio parahaemolyticus (แบคทีเรียกินเนื้อคน) วิธีติดต่อ อาการและอาการแสดง
  • 20. Aeromonas hydrophila - เป็นแบคทีเรียที่มีรูปร่างท่อนหรือ rod-shaped เนื่องจากเป็นแบคทีเรียที่อาศัยในแหล่ง - พบในแหล่งน้ําจืดและน้ํากร่อย บางสายพันธุ์พบว่าทําให้เกิดอาการป่วยในปลาและสัตว์ครี่งบกครึ่งน้ําเหมือนกับที่ พบในคนที่ได้รับการติดเชื้อทางบาดแผลเปิด หรือจากทางเดินอาหาร - เชื้อ A. hydrophila เป็นสาเหตุองการอักเสบของกระเพาะอาหารและลําไส้ หรือภาวะเลือดมีพิษ อาการ มีอาการเหมือนเป็นอหิวาตกโรค ถ่ายเป็นน้ําซาวข้าว และมีอาการของโรคบิดเป็นถ่ายอุจจาระปนมูกเลือด
  • 21. แหล่งที่พบ เป็นเชื้อที่มีอยู่ทั่วไปตามแหล่งน้ําธรรมชาติ ทั้งน้ําจืด น้ํากร่อยและน้ําทะเล การก่อโรค มักก่อให้เกิดโรคในสัตว์น้ําจืด เช่น ปลา กุ้ง กบ ทาก งู จระเข้ เชื้อสามารถเข้าสู่ร่างกาย ทางปาก ทางผิวหนัง กระแสเลือด เริ่มติดเชื้อจะมีอาการ ปวด บวม แดง ร้อน ที่เป็นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอาการปวดที่ค่อนข้างมากที่ไม่สัมพันธ์ กับบาดแผล ถือเป็นลักษณะเฉพาะของโรคนี้ รวมทั้งมีไข้สูง Aeromonas Veronii
  • 22. Plesiomonas Shigelloides พบเชื้อแบคทีเรียPlesiomonas Shigelloides ได้จาก การตรวจหาเชื้อในเลือดและปัสสาวะ ที่พบ ในสัตว์น้ําประเภทหอยและปลาน้ําจืด ก่อให้เกิดโรค โรคอุจจาระร่วง
  • 23. โรควิบริโอซีส (Vibriosis) สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Vibrio anguillarum, V. alginolyticus, V. vulnificus และ Vibrio อื่น ๆ ชนิดของสัตว์ที่ติดเชื้อได้ พบการติดเชื้อในปลาน้ําเค็ม พบการติดเชื้อในปลาน้ําจืด อาการและรอยโรค - คล้ายกับรอยโรคติดเชื้อ Aeromonas hydrophila - ติดเชื้อในกระแสโลหิต - พบจุดเนื้อตายที่ตับ ไต ม้าม และบางครั้งอาจพบที่เยื่อเมือกของทางเดินอาหาร การวินิจฉัยโรค ทําได้โดยสังเกตจากอาการและรอยโรค การติดต่อสู่คน ก่อโรคในผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางภูมิคุ้มกัน แต่บางชนิดก็สามารถก่อโรคได้ด้วยตัวมันเอง
  • 24. สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Edwardsiella tarda ลักษณะของเชื้อ เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างแท่ง โค้งงอเล็กน้อย แต่ก็อาจมีรูปร่างที่ไม่ แน่นอนแบคทีเรีย มักอาศัยอยู่ภายในเซลล์ของปลาที่ป่วย สัตว์ที่พบเชื้อ พบการติดเชื้อในปลาดุก ปลาทอง ปลาไหล และเชื้อที่มีผลกระทบมากต่ออุตสาหกรรมการ อาการและรอยโรค - คล้ายกับรอยโรคติดเชื้อ Aeromonas hydrophila - เป็นการติดเชื้อในกระแสโลหิต - อาจพบแผลหลุมที่ผิวหนัง โรคEdwardsiella septicemia
  • 25. โรคEdwardsiella septicemia การวินิจฉัยโรค - สังเกตจากอาการและรอยโรค - ทําการเพาะแยกและพิสูจน์เชื้อแบคทีเรีย - การตรวจสอบหาเชื้อก่อโรคโดยใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยา การแพร่กระจายของโรค เกิดโดยการแพร่กระจายผ่านทางน้ําหรือปลาที่ป่วยเป็นโรค การติดต่อสู่คน อาจก่อโรคในคนได้ในกรณที่คนป่วยมีภาวะบกพร่องของระบบภูมคุ้มกัน
  • 26. โรคBacterial haemorrhagic septicemia สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila ลักษณะของเชื้อแบคทีเรีย เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างแท่ง ไม่สร้างสปอร์ เป็นแบคทีเรียที่มี ความแตกต่างขอระดับความรุนแรงสูงในแต่ ละ Serotype ชนิดของสัตว์น้ําที่ติดเชื้อได้ ได้แก่ สัตว์น้ําจืดต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่เกิดตามหลังจากความเครียด และสิ่งที่ส่งผลให้สัตว์เหล่านั้นมีภาวะ ภูมิคุ้มกันโรคที่ลดต่ํา
  • 27. โรคHaemorrhagic septicemia สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Pseudomonas fluorescens และ Pseudomonas anquilliseptica ลักษณะของเชื้อ เป็นแบคทีเรียแกรมลบ แอโรบิค รูปร่างแท่งสั้น มีแฟลกเจลลาแบบ Polar flagella ชนิดของสัตว์น้ําที่ติดเชื้อได้ ทั้งปลาน้ําจืดและปลาน้ําเค็ม อาการและรอยโรค คล้ายกับรอยโรคติดเชื้อ Aeromonas hydrophila ซึ่งรอยโรคเด่นชัดที่พบได้แก่การติดเชื้อในกระแสโลหิตซึ่ง ก่อให้เกิดจุดหรือปิ้นเลือดออกที่อวัยวะต่าง ๆ โดยเฉพาะคลีบและ หาง และอาจพบแผลหลุมที่ผิวหนังด้วย การแพร่กระจายของโรค เกิดโดยการแพร่กระจายผ่านทางน้ําหรือปลาที่ป่วยเป็นโรค การติดต่อสู่คน (Zoonotic potency) อาจก่อโรคใน คนได้ในกรณีที่คนป่วยมีภาวะบกพร่องของ ระบบภูมคุ้มกัน(Immunocompromised patient)
  • 28. สมาชิก 1. นางสาวปภาวดี คําเทพ เลขที่ 16 2.นางสาวพรพิมล ธรรมนิยม เลขที่ 17 3.นางสาวพัชรีภรณ์ อุดแก้ว เลขที่ 18 4.นางสาวภณิดา หมันมณี เลขที่ 19 5.นางสาวภรัณยา ทิพย์รักษา เลขที่ 20 โสตทัศนศึกษาทางการแพทย์ชั้นปีที่2