SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
วิธีการเก็บข้อมูลตามแนวทางวิจัยเชิงปริมาณ
การใช้แบบสอบถาม และการทดลอง
วิธีการเก็บข้อมูลตามแนวทางวิจัยเชิงปริมาณ
การใช้แบบสอบถาม และการทดลอง
 การสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม
 การส่งแบบสอบถามไปทางไปรษณีย์
 การใช้แบบสอบถามให้ผู้ตอบตอบเอง
ณ วันที่เก็บข้อมูล และการทดลอง
การใช้แบบสอบถามเป็นกลุ่มวิธีการเก็บข้อมูลกลุ่มหนึ่ง
ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3 วิธีการหลักๆ คือ
การสัมภาษณ์ (interview) โดยใช้แบบสอบถามเป็นวิธีการเก็บ
ข้อมูลที่ใช้กันมากที่สุดในการวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์ การเก็บ
ข้อมูลโดยวิธีการนี้แบ่งงานออกได้เป็น 4 งานใหญ่ๆ ได้แก่
การสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม : วิธีการที่ใช้ในแนวทางวิจัยเชิงปริมาณ
การออกแบบสอบถามเพื่อการสัมภาษณ์
แบบสอบถามเพื่อการสัมภาษณ์ (interview schedule) คือชุดของคาถามชุดหนึ่งที่
ผู้วิจัยจะให้ผู้สัมภาษณ์ใช้ถามประชากรเป้าหมายเพื่อเก็บข้อมูลจากประชากรกลุ่มนั้น เป็นที่
ทราบโดยทั่วไปว่าคนเรามีความสามารถไม่เท่ากันในการตั้งคาถามที่ดีเพื่อให้ได้คาตอบหรือ
ข้อมูลได้ครบถ้วนและตรงประเด็น แบบสอบถามจึงมีคุณภาพต่างกันไปตามความสามารถ
ของผู้วิจัย
ในการสร้างและใช้แบบสอบถามเพื่อการเก็บข้อมูล ผู้วิจัยจะต้องพิจารณาให้มาก
เป็นพิเศษ คือ
ก.ลักษณะของประชากรที่จะรับ/ตอบแบบสอบถามหรือให้สัมภาษณ์
เป็นปัจจัยที่สาคัญมากต่อลักษณะของแบบสอบถามและวิธีการที่ใช้แบบสอบถาม
นั้น แบบสอบถามจะต้องออกให้เหมาะสมกับระดับการศึกษาและระดับความรู้ความสนใจ
ของประชากรในเรื่องนั้น ถ้าประชากรมีระดับการศึกษาน้อยหรือมีความรู้ความสนใจใน
เรื่องนั้นน้อย อาจจะต้องดัดแปลงแก้ไขให้เป็นข้อซักถามที่ง่ายลงให้เหมาะสมกับสภาพชีวิต
ความเป็นอยู่ของประชากรที่ต้องการศึกษา
ข.ลักษณะของเรื่องราวที่ต้องการเก็บข้อมูล
เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่กาหนดโครงสร้างและลักษณะอื่นๆ ของแบบสอบถามและ
การใช้แบบสอบถาม ผู้สร้างแบบสอบถามควรพยายามทาให้เรื่องราวที่ต้องการเก็บข้อมูล
เป็นเรื่องที่เปิดเผยได้โดยไม่มีผลกระทบต่อภาพพจน์ที่ไม่ดีของผู้ตอบ
ผู้วิจัยที่ดีจะต้องหาวิธีการตั้งคาถามที่เอื้ออานวยต่อการตอบโดยให้เห็นว่าสิ่ง
เหล่านั้นคนบางคนหรือหลายคนเขาก็ทากัน
ค.ความสั้น ความยาวของแบบสอบถาม
สิ่งที่ผู้วิจัยจะต้องนามาพิจารณาในเรื่องนี้คือ ลักษณะของประชากรที่ศึกษาว่าจะมีเวลา
ให้มากน้อยเพียงใด หลักโดยทั่วไปคือควรจะให้แบบสอบถามนั้นสั้นที่สุดเท่าที่จะทาได้แต่จะต้อง
ได้ข้อมูลครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการจะศึกษาหรือเพียงพอที่จะใช้ในการทดสอบข้อ
สมมติฐานที่ตั้งไว้โดยคานึงถึงตัวแปรอื่นๆ ที่ต้องนามาควบคุมและทดสอบด้วย
ง.ลักษณะของคาถามที่ดี
เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ผู้วิจัยจะต้องให้ความสาคัญเมื่อสร้าง/ทดสอบแบบ
สอบถาม ความสาเร็จของการสัมภาษณ์
หรือการใช้แบบสอบถามโดยเนื้อหาสาระแล้วขึ้นอยู่กับข้อคาถามแต่ละข้อ ซึ่งคาถามที่ดีมี
ดังต่อไปนี้
1.เป็นข้อความที่ผู้ตอบสามารถเข้าใจได้ง่าย
2.เป็นข้อความที่ผู้ตอบสนใจและสามารถตอบได้
3.เป็นข้อความง่ายๆ ไม่มีคาปฏิเสธซ้าในข้อเดียวกันจนทาให้ผู้ตอบงง
4.เป็นข้อความที่ไม่ใช้ประธานหรือกรรมของประโยคมากกว่าหนึ่ง
เช่น ข้อความที่ว่า ท่านหรือสมาชิกในครัวเรือนของท่านอ่านหนังสือพิมพ์เป็นประจาหรือไม่
5.ไม่เป็นข้อความที่สร้างความอึดอัดไม่สบายใจให้แก่ผู้ตอบ
6.ไม่เป็นข้อความที่แสดงความก้าวร้าวแก่ผู้ตอบ หรือทาให้ผู้ตอบต้องตอบในทางที่ป้องกันตนเอง
7.ไม่เป็นข้อความที่ชักนาผู้ตอบให้ตอบไปในทางใดทางหนึ่ง
8.ไม่เป็นข้อความที่อาศัยคาพังเพย หรือสุภาษิต ทั้งนี้เพราะคาตอบของคาเหล่านี้มี
อยู่แล้วในสังคมนั้นๆ
9.เป็นข้อความที่ผู้ตอบต้องคิดตอบในขณะนั้น ไม่ใช่อาศัยคาตอบที่มีอยู่แล้วใน
สังคมมาตอบ
คาถามในแบบสอบถามอาจแบ่งได้เป็น 2 ชนิด
คำถำมเปิด คือคาถามที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็นได้เต็มที่ คาถามประเภทนี้ดี
สาหรับกลุ่มที่มีการศึกษาหรือกลุ่มบุคคลที่ชอบแสดงความคิดเห็นและดีสาหรับผู้ที่ทาการวิจัยที่ต้องการ
เรียนรู้หรือรับรู้เรื่องราวที่ต้องการศึกษาจากประชากรเป้าหมายที่ตกเป็นตัวอย่าง
คำถำมปิด เป็นคาถามที่ผู้ตอบไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็น ผู้ตอบเพียงแต่เลือกคาตอบที่ได้
กาหนดไว้เท่านั้น คาถามประเภทนี้เหมาะสาหรับการวิจัยที่ผู้วิจัยรู้อย่างดีว่าต้องการเก็บตัวแปรอะไรบ้าง
และแต่ละตัวควรมี
ตัวเลือกมาตรฐานอะไรบ้าง การใช้คาถามปิดยังสะดวกแก่การลงรหัส
ตัวอย่างคาถามปลายปิด - เปิด
11
ประเภทแบบสอบถามที่มีคาถามแบบปลายปิด
1.แบบเลือกตอบเพียง 1 คาตอบ
2.แบบให้เลือกตอบได้หลายคาตอบ
3. แบบให้เรียงลาดับ
4. แบบให้ประมาณค่า
5. แบบตรวจสอบรายการ
ที่มา : เทคนิคการสร้างเครื่องมือ(แบบสอบถาม) [online] : เข้าถึง 12 ธ.ค. 2560.
จาก http://hq.prd.go.th/plan/ewt_dl_link.php?nid=2654
12
1.ตัวอย่างแบบเลือกตอบเพียง 1 คาตอบ
คาชี้แจง โปรดกาเครื่องหมาย / ลงใน ( ) ตามความเป็นจริง
1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง
2. วิชาที่ได้รับผิดชอบในการสอน
( ) ภาษาไทย ( ) ภาษาอังกฤษ
( ) คหกรรม ( ) เกษตร
( ) อื่น ๆ โปรดระบุ_____
ที่มา : เทคนิคการสร้างเครื่องมือ(แบบสอบถาม)[online] : เข้าถึง 12 ธ.ค. 2560.
จาก http://hq.prd.go.th/plan/ewt_dl_link.php?nid=2654
2.ตัวอย่างแบบให้เลือกตอบได้หลายคาตอบ
13
เหตุผลที่ท่านต้องการเข้ารับการอบรม (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
( ) เพราะต้องการมีความรู้
( ) เพราะต้องการเลื่อนวิทยฐานะ
( ) เพราะผู้บริหารบังคับ
( ) เพราะต้องการพัฒนาผู้เรียน
( ) เพราะเลือกตามเพื่อนครู
( ) อื่น ๆ (โปรดระบุ ) _____________________
ที่มา : เทคนิคการสร้างเครื่องมือ(แบบสอบถาม)[online] : เข้าถึง 12 ธ.ค. 2560.
จาก http://hq.prd.go.th/plan/ewt_dl_link.php?nid=2654
3. ตัวอย่างแบบให้เรียงลาดับ
14
(0) โปรดใส่เลข 1,2,3 ฯลฯ ลงในช่อง หน้าความต้องการในการพัฒนาตนเองโดย เรียงลาดับจากมากไปน้อย
[__] การเขียนแผนการสอน[__] การสร้างแบบทดสอบ
[__] การวัดประเมินผล [__] เทคนิคการสอน
[__] การจัดทาเอกสารหลักฐาน [__] การผลิตสื่อ
[__] การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม [__] การแนะแนว
[__] การสร้างหลักสูตร [__] การวัดประเมินผล [__] อื่น ๆ ____
ที่มา : เทคนิคการสร้างเครื่องมือ(แบบสอบถาม)[online] : เข้าถึง 12 ธ.ค. 2560.
จาก http://hq.prd.go.th/plan/ewt_dl_link.php?nid=2654
15
4.ตัวอย่างแบบให้ประมาณค่า
ที่มา : เทคนิคการสร้างเครื่องมือ(แบบสอบถาม)[online] : เข้าถึง 12 ธ.ค. 2560.
จาก http://hq.prd.go.th/plan/ewt_dl_link.php?nid=2654
16
ลักษณะของแบบสอบถามปลายเปิด
เป็นแบบสอบถามที่ให้ผู้ตอบเขียนตอบอย่างอิสระตามเงื่อนไขที่ข้อคาถามได้กาหนดไว้
ประเภทแบบสอบถามที่มีคาถามแบบปลายเปิด
1.แบบคาตอบสั้น
2.แบบคาตอบยาว
ที่มา : เทคนิคการสร้างเครื่องมือ(แบบสอบถาม)[online] : เข้าถึง 12 ธ.ค. 2560.
จาก http://hq.prd.go.th/plan/ewt_dl_link.php?nid=2654
17
ตัวอย่างแบบคาตอบสั้น : เหมาะกับการให้ข้อเท็จจริง
โปรดตอบคาถามตามความเป็ นจริง ลงใน ช่องว่างที่กาหนดให้
1. เพศ_______________
2. อายุ______________ปี
3. การศึกษาสูงสุด_____________________
4. อาชีพ_______________________________
5. รายได้ต่อเดือน_______________________
ที่มา : เทคนิคการสร้างเครื่องมือ(แบบสอบถาม)[online] : เข้าถึง 12 ธ.ค. 2560.
จาก http://hq.prd.go.th/plan/ewt_dl_link.php?nid=2654
18
ตัวอย่างแบบคาตอบยาว : เหมาะกับการให้ข้อคิดเห็น
ท่านมีปัญหาและอุปสรรคในการสอนอย่างไร บ้าง
................................................................................................................
......................................................................
................................................................................................................
......................................................................
ที่มา : เทคนิคการสร้างเครื่องมือ(แบบสอบถาม)[online] : เข้าถึง 12 ธ.ค. 2560.
จาก http://hq.prd.go.th/plan/ewt_dl_link.php?nid=2654
จ.ลักษณะของการลาดับข้อถาม
เป็นสิ่งสาคัญอีกสิ่งหนึ่งของแบบสอบถามคาถามที่เรียงกันอย่าง
มีเหตุมีผลมีความต่อเนื่อง ย่อมสะดวกต่อการซักถามและการตอบ
มากกว่าคาถามที่เปลี่ยนเรื่องและวกวนไปมา
สิ่งที่สาคัญในการลาดับข้อคาถามคือ การหลีกเลี่ยงมิให้คาตอบในข้อหนึ่งนาไปสู่หรือ
ไปกาหนดคาตอบในอีกข้อหนึ่งอย่างไม่มีทางเลือกที่จะตอบเป็นอย่างอื่นได้
ที่มา : เทคนิคการสร้างเครื่องมือ(แบบสอบถาม)[online] : เข้าถึง 12 ธ.ค. 2560.
จาก http://hq.prd.go.th/plan/ewt_dl_link.php?nid=2654
20
1. คาถามที่มีข้อความเกี่ยวข้องกันต่อเนื่องกัน หรืออยู่ในเรื่องราวเดียวกันควรเรียงไว้ใกล้ชิดกัน หรือ
เอาไว้ในหมวดเดียวกัน
2. เรียงลาดับจากสิ่งที่คุ้นเคยมากที่สุดไปหาสิ่งที่คุ้นเคยน้อยที่สุด
3. เรียงคาถามทั่ว ๆ ไป ไว้ก่อนคาถามที่เฉพาะเจาะจงจะช่วยให้ผู้ตอบเข้าใจคาถามทั่ว ๆ ไปได้ดีขึ้น
4. คาถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริงของผู้ตอบควรเอาไว้ต้น ๆ
5. เรียงลาดับจากง่ายไปหายาก
การเรียงลาดับคาถาม มีหลักดังนี้
ฉ.ลักษณะของผู้สัมภาษณ์หรือผู้ใช้แบบสอบถาม
เป็นปัจจัยหนึ่งที่ผู้ที่เลือกใช้วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์จะต้องนามาพิจารณา
โดยทั่วไปผู้สัมภาษณ์ควรเป็นผู้ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับผู้ให้สัมภาษณ์
ลักษณะการแนะนาตัวเองและการแต่งกายของผู้สัมภาษณ์เป็นสิ่งที่สาคัญในการแนะนาตัว
ควรได้มีการซักซ้อมให้ผู้สัมภาษณ์ทุกคนเข้าใจและแนะนาตัวให้เหมือนๆกัน เพื่อไม่ให้เกิดความ
ระแวงและความสงสัยแก่ผู้ให้สัมภาษณ์และต้องแต่งกายให้สุภาพ เหมาะสมกับการทางานในสนาม
และการเดินทาง
ช.สิ่งแวดล้อมในขณะที่ทาการสัมภาษณ์
เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีผลกระทบต่อข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์
หากผู้วิจัยต้องการข้อมูลที่เป็นทัศนคติส่วนบุคคลของผู้ให้สัมภาษณ์ แต่ปรากฏว่าในขณะที่
สัมภาษณ์มีบุคคลที่สามที่คอยชี้แนะหรือมีอิทธิพลต่อผู้ให้สัมภาษณ์อยู่ด้วย ผู้ให้สัมภาษณ์จะให้
ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความรู้สึกเพราะเกรงใจหรือเกรงกลัวต่อบุคคลที่สาม ในกรณีเช่นนี้ผู้สัมภาษณ์
ต้องพยายามหาทางแยกผู้ให้สัมภาษณ์ออกจากบุคคลที่สาม
การฝึกอบรมผู้สัมภาษณ์
การฝึกอบรมผู้สัมภาษณ์มีวัตถุประสงค์ที่สาคัญคือให้ผู้สัมภาษณ์
ดาเนินการทุกอย่างเหมือนกัน เพื่อป้องกันมิให้เกิดการผันแปรข้อมูลเกิดจากความผันแปรของการปฏิบัติของผู้
สัมภาษณ์ในการอบรมผู้สัมภาษณ์ เรื่องที่จะอบรม เช่น ตั้งแต่ภูมิหลัง วัตุประสงค์และความสาคัญของเรื่องที่
จะเก็บข้อมูล วิธีการแนะนาตัวกับประชากรเป้าหมาย การแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในสนาม ไปจนถึง
รายละเอียดและวัตุประสงค์ของคาถามแต่ละข้อ ลักษณะของคาตอบที่ถูกต้อง วิธีการซักถามเพิ่มเติม เป็นต้น
ในการอบรมอาจใช้อุปกรณ์และสิ่งต่างๆที่จะทาให้บรรรลุเป้าหมายของการอบรม เช่น สไลด์
ภาพยนตร์ และเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง นอกจากนั้นแล้วควรมีการทดสอบความรู้ความเข้าใจและประเมิน
ความสามารถของผู้ที่จะทาหน้าที่เป็นพนักงานสัมภาษณ์ทุกคน
การเตรียมงานสนาม
การเตรียมงานสนามเป็นขั้นตอนหนึ่งที่มีความสาคัญมากของการเก็บข้อมูล โดยการสัมภาษณ์
เพราะจะช่วยให้การทางานดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และบรรลุตามเป้าหมายหรือช่วยให้ทราบ
ปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้น
การเตรียมงานสนามที่ดีจะต้องให้ได้มาซึ่งแผนปฏิบัติงานในการเก็บข้อมูล การตรวจสอบ
ข้อมูล การจัดส่งแบบสอบถามจากแต่ละจุดที่มีระบบ แผนที่แสดงจุดที่ตั้งของเขตที่จะไปเก็บข้อมูลและ
บ้านที่อยู่อาศัยของผู้จะให้ข้อมูล ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้จะต้องมีการสารวจและจัดทาล่วงหน้าก่อนส่งทีมผู้
สัมภาษณ์เข้าทาการเก็บข้อมูล
การออกงานสนาม
การออกงานสนามเป็นขั้นตอนของการเก็บข้อมูลที่แท้จริง หลังจากการออกแบบสอบถาม ซึ่ง
จะมีการกาหนดเวลาการปฏิบัติงานที่แน่นอนที่ต้องปฏิบัติตามภารกิจส่วนใหญ่ของงานในขั้นตอนนี้คือ
การดูแลการทางานของผู้สัมภาษณ์,การรักษากาหนดเวลานัดหมาย การตรวจสอบข้อมูลที่ได้จากการ
สัมภาษณ์,การวางแผน,การจัดเก็บข้อมูลต่อวัน,การรักษาขวัญกาลังใจและความกระตือรือร้นในการ
ทางานของทีมผู้สัมภาษณ์,การจ่ายเงินค่าตอบแทน การใช้เวลาในวันหยุดระหว่างปฏิบัติงานสนาม,การ
จัดเตรียมแบบสอบถามที่ใช้แล้วเพื่อการส่งต่อให้ผู้วิจัย
ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในงานสนาม คือ ความประพฤติส่วนตัวของพนักงานสัมภาษณ์ เช่น การ
ดื่มสุรา การไม่ถูกกันระหว่างลูกทีม การแต่งกาย เป็นต้น ซึ่งปัญหาต่างๆเหล่านี้ ผู้ควบคุมงานสนาม
จะต้องดูแลแก้ไขด้วยกฎเกณฑ์กติกาที่เป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย นอกเหนือไปจากการบันทึกผลการทางาน
การตรวจสอบ
การส่งแบบถามทางไปรษณีย์
แบบสอบถามที่จะให้ผู้ตอบตอบเอง แตกต่างจากแบบสอบถามที่ใช้สัมภาษณ์เพราะ
แบบสอบถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์นั้น ผู้สัมภาษณ์สามารถอธิบายข้อสงสัยหรือความไม่ชัดเจนในคาถาม
หรือในคาตอบได้และมีบุคลิกภาพของผู้สัมภาษณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ส่วนแบบสอบถามที่ผู้ตอบต้องตอบเอง
นั้นไม่มีบุคคลที่จะไปอธิบายและไม่มีบุคลิกภาพของผู้สัมภาษณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง
แบบสอบถามที่ส่งทางไปรษณีย์ให้ผู้ตอบตอบเองนั้นควร
สั้นกว่า ง่ายกว่า และควรใช้กับประชาการกลุ่มเดียวกัน
การส่งแบบสอบถามให้ผู้ตอบตอบเองจึงประหยัดเงินและเวลา
แต่มีข้อจากัดหรือข้อเสียเปรียบบางประการ คือ
1.ประชากรที่ศึกษาจะจากัดอยู่เฉพาะผู้ที่สามารถอ่าน และเขียนได้เท่านั้น
2.อัตราการคัดเลือกตัวเองสูง ซึ่งหมายความวว่า ผู้ที่จะตอบเป็นบุคคลกลุ่มหนึ่งเท่านั้นเช่น เป็นผู้ที่มี
การศึกษาดี
3.แบบสอบถามที่ส่งจะต้องจากัดในด้านความยาวและขอบเขต เพราะมิฉะนั้นผู้ตอบจะไม่ตอบ ไม่สนใจที่จะ
ตอบหรือเบื่อหน่ายต่อการตอบ
4.ผู้ตอบไม่สามารถซักถามความหายของข้อความต่างๆได้ต้องตีความหมายเองในกรณีที่เกิดความสงสัย
นอกจากนั้น การขาดความสะดวกสบายทางด้านการไปรษณีย์
ที่ทางานก็ดีหรือในชุมชนที่ห่างไกลก็ดี ทาให้ผู้ตอบหลายคนต้องใช้ความ
พยายามเป็นพิเศษยิ่งขึ้นในการที่จะนาแบบสอบถามไปส่งลงตู้ไปรษณีย์
แม้จะได้กรอกแบบสอบถามแล้วก็ตาม
การใช้แบบสอบถามให้ผู้ตอบตอบเอง
ผู้วิจัยอาจให้ผู้ตอบกรอกแบบสอบถามเองตามลาพังหรือเป็นกลุ่มและ
คอยรอรับหรือคอยตอบคาถามเมื่อมีการซักถามความหมายของคาถามหรือวัตถุประสงค์และประโยชน์ของ
การศึกษาซึ่งผู้ตอบข้อมูลต้องการทราบโดยปกติมักจะมีการนัดหมายล่วงหน้าถึงการมาของผู้ส่งและ
รวบรวมแบบสอบถาม ถ้าเป็นการนัดหมายกลุ่มจะต้องมีการกาหนดสถานที่และวันเวลานัดหมายที่แน่นอน
วิธีการดังกล่าว มีข้อจากัดน้อยกว่าวิธีการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์เพราะสามารถเก็บ
รวบรวมแบบสอบถามได้ครบถ้วนกว่าและสามารถชี้แจงรายละเอียดต่างๆ เมื่อผู้กรอกมีความไม่เข้าใจ
หรือไม่แน่ใจในข้อคาถามบางข้อ
การทดลอง
การทดลองเป็นวิธีการเก็บข้อมูลใหม่หรือข้อมูลปฐมภูมิอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งมีการใช้กันบ้างแต่ไม่
กว้างขวาง เช่นเดียวกับวิธีการเก็บข้อมูลอื่นๆที่ได้กล่าวมาแล้ว เป็นวิธีการที่ผู้วิจัยสามารถควบคุมการ
เปลี่ยนแปลงบางอย่างที่ต้องการทดลอง เพื่อศึกษาดูปฏิกิริยาของประชากรเป้าหมายว่าเป็นไปในลักษณะใด
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการนี้สิ่งที่ต้องพิจารณา คือ ประชากร
เป้าหมาย อัตราการควบคุมสถานการณ์หรือความร่วมมือ สิ่งกระตุ้นที่จะใช้หรือตัวทดลอง แบบของการ
วิจัยที่ใช้วิธีการวัด และการวิเคราะห์
สาหรับประชากรที่เป็นเป้าหมายของการเก็บข้อมูลด้วยการ
ทดลอง ผู้วิจัยจะต้องคานึงถึงผลกระทบในขณะทาการทดลองและใน
อนาคตทางด้านจิตใจและสังคมต่อประชากรกลุ่มที่จะทดลอง และควร
หลีกเลี่ยงทุกวิถีทางมิให้มีผลกระทบดังกล่าวต่อทางจิตใจและสังคม
ของประชากรที่ศึกษา เพราะผลกระทบบางอย่างโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ทางด้านจิตใจแล้วยากแก่การบาบัดภายหลัง
ตัวอย่าง
การใช้แบบสอบถามและการทดลอง
ตัวอย่างเสนอผลใช้แบบสอบถาม
32
ที่มา : Te’tee Pudcha. 2560.แบบสอบถามซีโออาม10(ออนไลน์). แหล่งที่มา:
https://www.slideshare.net/TeteePudcha/10-25640205. 31 ตุลาคม 2560
สรุป
ในการวิจัยเชิงปริมาณ วิธีการเก็บข้อมูลมีทั้งที่ต้องใช้
การทดลองและที่ไม่ต้องใช้การทดลอง การเก็บข้อมูล
โดยใช้แบบสอบถาม เป็นวิธีที่ไม่ต้องอาศัยการทดลอง
สามารถทาได้หลายวิธี วิธีที่นิยมกันมากที่สุดคือ การ
สัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม รองลงมาคือ การให้
ผู้ตอบกรอกแบบสอบถามเอง และการส่ง
แบบสอบถามทางไปรษณีย์
34
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์.
กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์เลี่ยงเชี่ยง.
Te’tee Pudcha (แบบสอบถามซีโออาม10) [online] : เข้าถึง 31 ต.ค.
2560. จาก https://www.slideshare.net/TeteePudcha/10-25640205.
บรรณานุกรม
35
จัดทาโดย
1.นางสาว จิรัชยา หมื่นหาญ รหัสนักศึกษา 59123322008
2.นางสาว ชาลิสา มานะอาริยกุล รหัสนักศึกษา 59123322031
3.นางสาว ปรียาภรณ์ ปัญญาพล รหัสนักศึกษา 59123322041
4.นางสาว กัญญาณัฐ อุตภูมินนท์ รหัสนักศึกษา 59123322047
5.นาย พีรพล พงษ์ประยูร รหัสนักศึกษา 59123322080

More Related Content

What's hot

หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศsutima piboon
 
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงPumPui Oranuch
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....Z-class Puttichon
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวNut Seraphim
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการDuangnapa Inyayot
 
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพChapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพRonnarit Junsiri
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวpurithem
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.rubtumproject.com
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3juckit009
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 

What's hot (20)

Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรมเอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
 
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
 
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพChapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 

Similar to FCA2102 4-1 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)

FCA2102 4-2 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)
FCA2102 4-2 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)FCA2102 4-2 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)
FCA2102 4-2 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)KwamWhan
 
นำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้านำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้าRamkhamhaeng University
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการpatmalya
 
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือpatmalya
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchAnucha Somabut
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยwanichaya kingchaikerd
 
Project planning - Workshop
Project planning - WorkshopProject planning - Workshop
Project planning - Workshopinanza
 
Research student chapter 3
Research student chapter 3Research student chapter 3
Research student chapter 3morekung
 
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)Ronnarit Thanmatikorn
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 

Similar to FCA2102 4-1 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ) (20)

FCA2102 4-2 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)
FCA2102 4-2 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)FCA2102 4-2 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)
FCA2102 4-2 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)
 
นำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้านำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้า
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ
 
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action Research
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร SPAR Model.pdf
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร SPAR Model.pdfรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร SPAR Model.pdf
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร SPAR Model.pdf
 
17
1717
17
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
 
Project planning - Workshop
Project planning - WorkshopProject planning - Workshop
Project planning - Workshop
 
Research student chapter 3
Research student chapter 3Research student chapter 3
Research student chapter 3
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
31.111+ข้..
31.111+ข้..31.111+ข้..
31.111+ข้..
 
31.111+ข้..
31.111+ข้..31.111+ข้..
31.111+ข้..
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 

FCA2102 4-1 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)