SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
เทคโนโลยีการสอน
แห่งศตวรรษที่ 21
วันที่ 28-29 ตุลาคม 2558
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็ นที่นิยมในปัจจุบัน
1. Active Learning
2. Problem-based Learning (PBL)
3. Project-based Learning (PjBL)
4. Flipped Classroom
5. Collative Learning
6. STEM Education
Active Learning คือกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทาและได้
ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทาลงไป (Bonwell, 1991) เป็นการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้สมมติฐานพื้นฐาน 2 ประการคือ 1) การเรียนรู้เป็น
ความพยายามโดยธรรมชาติของมนุษย์, และ 2) แต่ละบุคคลมีแนวทางในการเรียนรู้
ที่แตกต่างกัน (Meyers and Jones, 1993) โดยผู้เรียนจะถูกเปลี่ยน
บทบาทจากผู้รับความรู้(receive) ไปสู่การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้(co-
creators)
( Fedler and Brent, 1996)
Active Learning
Problem-based Learning (PBL)
แนวคิดในเรื่องของ การเรียนรู้ ที่นักจิตวิทยาทางการศึกษา นามาเป็นประเด็นในการถกเถียงกันมีอยู่ 2 กลุ่ม คือ
1.กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้เชิงพฤติกรรมนิยม (Behaviorist learning) ในกลุ่ม
นี้เชื่อว่า ความรู้มีอยู่มากมายในโลก แต่ความรู้ที่สามารถถ่ายโยงมายังผู้เรียน อย่างเป็นรูปธรรม มีเพียงเล็กน้อย
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อมีการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง นักจิตวิทยาที่ได้รับการยอมรับกัน
ในกลุ่มนี้ คือ สกินเนอร์ (Skinner)
2. กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้เชิงพุทธิปัญญานิยม (Cognitive learning
theory) มีความเชื่อว่า ความรู้เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างที่มีลักษณะเฉพาะ (particular
structure) กับสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา (psychological environment) ของผู้เรียนแต่ละ
บุคคล การเรียนรู้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ปรับเปลี่ยนโลกภายในของตน โดยอาศัยกระบวนการปฏิสัมพันธ์ที่
เกิดจากการรับความรู้ใหม่เข้าไปในสมอง หรือจากการปรับเปลี่ยนความรู้เก่าให้เข้ากับความรู้ใหม่ นักจิตวิทยาที่
ได้รับการยอมรับแนวคิดมากที่สุดในกลุ่มนี้ คือ เพียเจท์ (Piaget)
ขั้นตอนที่สาคัญในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
STEP 1 การเตรียมความพร้อม ครูเตรียมมอบหมายโครงงานโดยระบุในแผนการสอน ในชั้นเรียนครูอาจกาหนดขอบเขตของโครงงานอย่างกว้างๆ ให้สอดคล้องกับรายวิชา หรือความถนัดของนักเรียน และเตรียมแหล่งเรียนรู้ ข้อมูลตัวอย่าง เพื่อเป็นแนวทางให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม สามารถใช้
เว็บไซต์ หรือโปรแกรม moodle ในการ update ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ และการกาหนดนัดหมายต่างๆเกี่ยวกับการดาเนินโครงการได้
STEP 2 การคิดและเลือกหัวข้อ ให้นักเรียนเป็นผู้สร้างทางเลือกในการออกแบบโครงงานเอง เพื่อเปิดโอกาสให้รู้จักการค้นคว้าและสร้างสรรค์ความรู้เชิงนวัตกรรม ครูอาจให้ผู้เรียนทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องก่อน เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกหัวข้อ การทางานเป็นทีม กระตุ้นให้เกิด brain storm
จะทาให้เกิดทักษะ ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ ทักษะการสื่อสาร และทักษะการสร้างความร่วมมือ
STEP 3 การเขียนเค้าโครง การเขียนเค้าโครงของโครงงาน เป็นการสร้าง mind map แสดงแนวคิด แผน และขั้นตอนการทาโครงงาน เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมองเห็นภาระงาน บทบาท และระยะเวลาในการดาเนินงาน ทาให้สามารถปฏิบัติโครงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
STEP 4 การปฏิบัติโครงงาน นักเรียนลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ในเค้าโครงของโครงงาน ถ้ามีการวางเค้าโครงเอาไว้แล้ว นักเรียนจะรู้ได้เองว่าจะต้องทาอะไรในขั้นตอนต่อไป โดยไม่ต้องรอถามครู ในระหว่างการดาเนินการครูผู้สอนอาจมีการให้คาปรึกษาอย่างใกล้ชิดหรือร่วมแก้ปัญหาไปพร้อมๆกับ
นักเรียน
STEP 5 การนาเสนอโครงงาน นักเรียนสรุปรายงานผล โดยการเขียนรายงาน หรือการนาเสนอในรูปแบบอื่นๆเช่น แผ่นพับ โปสเตอร์จัดนิทรรศการ รายงานหน้าชั้นส่งงานทางเว็บไซต์หรืออีเมล ถ้ามีการประกวดหรือแข่งขันด้วยจะทาให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นมากขึ้น
STEP 6 การประเมินผลโครงงาน การประเมินโครงงานควรมีการประเมินผลการเรียนรู้โดยหลากหลาย (muiti evaluation) เช่น นักเรียนประเมินตนเอง ประเมินซึ่งกันและกัน ประเมินจากบุคคลภายนอก การประเมินจะไม่วัดเฉพาะความรู้หรือผลงานสุดท้ายเพียงอย่างเดียว แต่จะวัด
กระบวนการที่ได้มาซึ่งผลงานด้วย การประเมินโดยครูหลายคนจะเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์และทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูด้วยกันอีกด้วย แหล่งเรียนรู้
Project-based Learning (PrBL)

More Related Content

Viewers also liked

Losyen Putihkan Kulit Muka DIY
Losyen Putihkan Kulit Muka DIYLosyen Putihkan Kulit Muka DIY
Losyen Putihkan Kulit Muka DIYMamalink
 
Sosialisasi Kurikulum kelas III semester 1 2016/2017
Sosialisasi Kurikulum kelas III semester 1 2016/2017Sosialisasi Kurikulum kelas III semester 1 2016/2017
Sosialisasi Kurikulum kelas III semester 1 2016/2017florryfiorella
 
Nott Tuesday Presentation
Nott Tuesday PresentationNott Tuesday Presentation
Nott Tuesday PresentationMultiPie Ltd
 
Болонський процес
Болонський процесБолонський процес
Болонський процесUriy Gerasimuk
 
Heliocentric2 art
Heliocentric2 artHeliocentric2 art
Heliocentric2 artJasmin Lane
 
Коллективный договор
Коллективный договорКоллективный договор
Коллективный договорpupasov
 
Kurikulum SDIT AULIYA Kelas 2 Semester II 2015-2016
Kurikulum SDIT AULIYA Kelas 2 Semester II 2015-2016Kurikulum SDIT AULIYA Kelas 2 Semester II 2015-2016
Kurikulum SDIT AULIYA Kelas 2 Semester II 2015-2016florryfiorella
 
A crisp analysis of Service Export from India Scheme
A crisp analysis of Service Export from India SchemeA crisp analysis of Service Export from India Scheme
A crisp analysis of Service Export from India SchemeChandan Goyal
 
BDO Transfer Pricing Services
BDO Transfer Pricing ServicesBDO Transfer Pricing Services
BDO Transfer Pricing ServicesBDO Indonesia
 
Soal cpns bahasa inggris disertai pembahasan
Soal cpns bahasa inggris disertai pembahasanSoal cpns bahasa inggris disertai pembahasan
Soal cpns bahasa inggris disertai pembahasanaswel13
 
Soal tes wawasan kebangsaan (twk) cpns
Soal tes wawasan kebangsaan (twk) cpnsSoal tes wawasan kebangsaan (twk) cpns
Soal tes wawasan kebangsaan (twk) cpnsAswel Darussamin
 

Viewers also liked (16)

Best Deal In Delhi NCR
Best Deal In Delhi NCRBest Deal In Delhi NCR
Best Deal In Delhi NCR
 
Losyen Putihkan Kulit Muka DIY
Losyen Putihkan Kulit Muka DIYLosyen Putihkan Kulit Muka DIY
Losyen Putihkan Kulit Muka DIY
 
My Portfolio in EdTech 2
My Portfolio in EdTech 2My Portfolio in EdTech 2
My Portfolio in EdTech 2
 
Sosialisasi Kurikulum kelas III semester 1 2016/2017
Sosialisasi Kurikulum kelas III semester 1 2016/2017Sosialisasi Kurikulum kelas III semester 1 2016/2017
Sosialisasi Kurikulum kelas III semester 1 2016/2017
 
Nott Tuesday Presentation
Nott Tuesday PresentationNott Tuesday Presentation
Nott Tuesday Presentation
 
Болонський процес
Болонський процесБолонський процес
Болонський процес
 
Heliocentric2 art
Heliocentric2 artHeliocentric2 art
Heliocentric2 art
 
Коллективный договор
Коллективный договорКоллективный договор
Коллективный договор
 
Kurikulum SDIT AULIYA Kelas 2 Semester II 2015-2016
Kurikulum SDIT AULIYA Kelas 2 Semester II 2015-2016Kurikulum SDIT AULIYA Kelas 2 Semester II 2015-2016
Kurikulum SDIT AULIYA Kelas 2 Semester II 2015-2016
 
Concurency, deadlock, starvation
Concurency, deadlock, starvationConcurency, deadlock, starvation
Concurency, deadlock, starvation
 
A crisp analysis of Service Export from India Scheme
A crisp analysis of Service Export from India SchemeA crisp analysis of Service Export from India Scheme
A crisp analysis of Service Export from India Scheme
 
BDO Transfer Pricing Services
BDO Transfer Pricing ServicesBDO Transfer Pricing Services
BDO Transfer Pricing Services
 
Soal cpns bahasa inggris disertai pembahasan
Soal cpns bahasa inggris disertai pembahasanSoal cpns bahasa inggris disertai pembahasan
Soal cpns bahasa inggris disertai pembahasan
 
Digital forensic upload
Digital forensic uploadDigital forensic upload
Digital forensic upload
 
Soal tes wawasan kebangsaan (twk) cpns
Soal tes wawasan kebangsaan (twk) cpnsSoal tes wawasan kebangsaan (twk) cpns
Soal tes wawasan kebangsaan (twk) cpns
 
Design notes
Design notesDesign notes
Design notes
 

Similar to เทคโนโลยีการสอน

บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environmentTar Bt
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Natcha Wannakot
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมPom Pom Insri
 
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์guest897da
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษาAmu P Thaiying
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Krupol Phato
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกarunrat bamrungchit
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2issaraka
 

Similar to เทคโนโลยีการสอน (20)

บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
 
Comed
ComedComed
Comed
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
Chapter2 2003
Chapter2 2003Chapter2 2003
Chapter2 2003
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

เทคโนโลยีการสอน

  • 2. ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็ นที่นิยมในปัจจุบัน 1. Active Learning 2. Problem-based Learning (PBL) 3. Project-based Learning (PjBL) 4. Flipped Classroom 5. Collative Learning 6. STEM Education
  • 3. Active Learning คือกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทาและได้ ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทาลงไป (Bonwell, 1991) เป็นการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้สมมติฐานพื้นฐาน 2 ประการคือ 1) การเรียนรู้เป็น ความพยายามโดยธรรมชาติของมนุษย์, และ 2) แต่ละบุคคลมีแนวทางในการเรียนรู้ ที่แตกต่างกัน (Meyers and Jones, 1993) โดยผู้เรียนจะถูกเปลี่ยน บทบาทจากผู้รับความรู้(receive) ไปสู่การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้(co- creators) ( Fedler and Brent, 1996) Active Learning
  • 4. Problem-based Learning (PBL) แนวคิดในเรื่องของ การเรียนรู้ ที่นักจิตวิทยาทางการศึกษา นามาเป็นประเด็นในการถกเถียงกันมีอยู่ 2 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้เชิงพฤติกรรมนิยม (Behaviorist learning) ในกลุ่ม นี้เชื่อว่า ความรู้มีอยู่มากมายในโลก แต่ความรู้ที่สามารถถ่ายโยงมายังผู้เรียน อย่างเป็นรูปธรรม มีเพียงเล็กน้อย การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อมีการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง นักจิตวิทยาที่ได้รับการยอมรับกัน ในกลุ่มนี้ คือ สกินเนอร์ (Skinner) 2. กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้เชิงพุทธิปัญญานิยม (Cognitive learning theory) มีความเชื่อว่า ความรู้เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างที่มีลักษณะเฉพาะ (particular structure) กับสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา (psychological environment) ของผู้เรียนแต่ละ บุคคล การเรียนรู้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ปรับเปลี่ยนโลกภายในของตน โดยอาศัยกระบวนการปฏิสัมพันธ์ที่ เกิดจากการรับความรู้ใหม่เข้าไปในสมอง หรือจากการปรับเปลี่ยนความรู้เก่าให้เข้ากับความรู้ใหม่ นักจิตวิทยาที่ ได้รับการยอมรับแนวคิดมากที่สุดในกลุ่มนี้ คือ เพียเจท์ (Piaget)
  • 5. ขั้นตอนที่สาคัญในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน STEP 1 การเตรียมความพร้อม ครูเตรียมมอบหมายโครงงานโดยระบุในแผนการสอน ในชั้นเรียนครูอาจกาหนดขอบเขตของโครงงานอย่างกว้างๆ ให้สอดคล้องกับรายวิชา หรือความถนัดของนักเรียน และเตรียมแหล่งเรียนรู้ ข้อมูลตัวอย่าง เพื่อเป็นแนวทางให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม สามารถใช้ เว็บไซต์ หรือโปรแกรม moodle ในการ update ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ และการกาหนดนัดหมายต่างๆเกี่ยวกับการดาเนินโครงการได้ STEP 2 การคิดและเลือกหัวข้อ ให้นักเรียนเป็นผู้สร้างทางเลือกในการออกแบบโครงงานเอง เพื่อเปิดโอกาสให้รู้จักการค้นคว้าและสร้างสรรค์ความรู้เชิงนวัตกรรม ครูอาจให้ผู้เรียนทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องก่อน เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกหัวข้อ การทางานเป็นทีม กระตุ้นให้เกิด brain storm จะทาให้เกิดทักษะ ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ ทักษะการสื่อสาร และทักษะการสร้างความร่วมมือ STEP 3 การเขียนเค้าโครง การเขียนเค้าโครงของโครงงาน เป็นการสร้าง mind map แสดงแนวคิด แผน และขั้นตอนการทาโครงงาน เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมองเห็นภาระงาน บทบาท และระยะเวลาในการดาเนินงาน ทาให้สามารถปฏิบัติโครงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น STEP 4 การปฏิบัติโครงงาน นักเรียนลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ในเค้าโครงของโครงงาน ถ้ามีการวางเค้าโครงเอาไว้แล้ว นักเรียนจะรู้ได้เองว่าจะต้องทาอะไรในขั้นตอนต่อไป โดยไม่ต้องรอถามครู ในระหว่างการดาเนินการครูผู้สอนอาจมีการให้คาปรึกษาอย่างใกล้ชิดหรือร่วมแก้ปัญหาไปพร้อมๆกับ นักเรียน STEP 5 การนาเสนอโครงงาน นักเรียนสรุปรายงานผล โดยการเขียนรายงาน หรือการนาเสนอในรูปแบบอื่นๆเช่น แผ่นพับ โปสเตอร์จัดนิทรรศการ รายงานหน้าชั้นส่งงานทางเว็บไซต์หรืออีเมล ถ้ามีการประกวดหรือแข่งขันด้วยจะทาให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นมากขึ้น STEP 6 การประเมินผลโครงงาน การประเมินโครงงานควรมีการประเมินผลการเรียนรู้โดยหลากหลาย (muiti evaluation) เช่น นักเรียนประเมินตนเอง ประเมินซึ่งกันและกัน ประเมินจากบุคคลภายนอก การประเมินจะไม่วัดเฉพาะความรู้หรือผลงานสุดท้ายเพียงอย่างเดียว แต่จะวัด กระบวนการที่ได้มาซึ่งผลงานด้วย การประเมินโดยครูหลายคนจะเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์และทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูด้วยกันอีกด้วย แหล่งเรียนรู้ Project-based Learning (PrBL)