SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)
ชื่อผลงาน : การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ที่จัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community)
ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
A STUDY OF THE ACEDEMIC ACHIEVEMENTS AND COMPLACENCY
OF MATHAYOMSUKSA 4 STUDENTS USING SOCAIL MEDIA COMMUNITY
WITH CONSTRUCTIVISM THEORY
ผู้เสนอผลงาน
: นายสุรชัย ผิวเหลือง โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา อาเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11
โทรศัพท์ 077 - 539049 โทรสาร 077 - 539141
โทรศัพท์มือถือ 080 - 1435680 e – mail : Krupol555@gmail.com
Website: http://krupol555.wordpress.com/
1. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ
ความเป็นมาและสภาพปัญหา
การศึกษาคือรากฐานที่สาคัญสาหรับสร้างความเจริญก้าวหน้าและแก้ไขปัญหาการพัฒนาประเทศในด้าน
ต่าง ๆ รวมทั้งสามารถโน้มนาประเทศไปใช้ในทิศทางที่พึงประสงค์ การที่ประเทศจะเจริญก้าวหน้าได้นั้นจาเป็นต้อง
มีบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ดังนั้น การศึกษาจึงเป็นกระบวนการในการเสริมสร้างบุคคลให้มีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ดังกล่าว (มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, 2547 : 1)
การปฏิรูปในการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดไว้เกี่ยวกับ
จุดมุ่งหมายที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนและสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนในด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์
การคิดสังเคราะห์ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีเพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
เกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ซึ่งสอดคล้องกับ
ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) มีหลักการที่สาคัญว่า ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็น
ผู้กระทาและสร้างความรู้ (สุรางค์ โค้วตระกูล, 2552: 210) โดยเชื่อว่าผู้เรียนมีความสามารถพัฒนาความรู้ของ
ตนเองอยู่แล้ว (ชาตรี เกิดธรรม, 2542 : 27 อ้างใน วีระศักดิ์ เดือนแจ่ม, 2548 : 3) มนุษย์มีศักยภาพในการสร้าง
ความรู้ด้วยตนเองเมื่อได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว โดยการใช้ความรู้และประสบการณ์เดิมที่มีอยู่
สร้างความหมายของประสบการณ์ใหม่
จากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการดารงชีวิตของ
มนุษย์โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศอินเทอร์เน็ต เป็นปัจจัยสาคัญในยุคที่ข้อมูลข่าวสารมีความสาคัญ คนเราหัน
มาบริโภคข้อมูลข่าวสารกันมากขึ้นผ่านสื่อสังคมออนไลน์อย่างหลากหลาย โดยเฉพาะเว็บไซด์ยอดนิยม เช่น
2
Facebook Blog และ Google (ปณิชา นิติพรมงคล, 2555 : บทคัดย่อ) รวมถึงวงการการศึกษานาเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตมาใช้ตั้งแต่ระดับการบริหารและการจัดการของหน่วยงานทางการศึกษาและสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ
และถูกพัฒนาให้มีความสามารถในการสื่อสารผ่านระบบเครือข่าย แต่ปัญหาของการใช้เครื่องมือดังกล่าว พบว่าไม่ได้
รับการตอบรับจากนักเรียนมากนักรวมถึงไม่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความสนใจใฝ่เรียนรู้อีกทั้งการเข้าถึงสื่อเหล่านั้น
ค่อนข้างยากเพราะเป็นสื่อที่ไม่สามารถใช้งานได้บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ดังนั้นการพัฒนาสื่อปัจจุบันจึงให้ความสาคัญไปในทิศทางรูปแบบสื่อออนไลน์ที่นักเรียนสามารถเข้าถึงและ
เรียนรู้ได้ตลอดเวลาที่ต้องการแต่ต้องมีเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งสื่อที่ได้รับความนิยมและนักเรียนสามารถเข้าถึงได้
ง่ายในปัจจุบันจึงเป็นสื่อประเภท สื่อสังคม (Social Media) และเว็บไซด์ แต่การที่จะนาสื่อ และสื่อออนไลน์ต่าง ๆ
มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ ครูผู้สอนต้องมีความรู้ความเข้าใจและสามารถใช้สื่อเหล่านั้นได้เป็นอย่างดี
สามารถพัฒนาผลงาน สื่อและเนื้อหาเพื่อเผยแพร่ให้กับนักเรียนได้เรียนรู้และต้องมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนอยู่เสมอ
เช่น การตั้งประเด็นคาถาม การตอบคาถามข้อสงสัย การติดตามผลงาน การให้คาแนะนาที่เหมาะสม
แนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนา
จากการวิเคราะห์สื่อประเภทต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
ผู้วิจัยพบว่าสื่อประเภท สื่อสังคม (Social Media) มีจุดเด่นในการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างเสรี
ตลอดเวลาที่มีเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสื่อรูปแบบเดิมก็มียังมีความสาคัญและจาเป็นสาหรับนักเรียนที่มีข้อจากัดที่
สะดวกในการเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทาการวิจัย ศึกษาผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักเรียนที่จัดกระบวนการ
เรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
(Constructivism) เพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในเชิงสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของตนเอง อีกทั้ง
ยังช่วยพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์ของนักเรียน โดยคานึงถึงศักยภาพ ความพร้อมและความ
แตกต่างระหว่างบุคคลในทุกด้าน
2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน
1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รายวิชาชีววิทยา 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้าง
องค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
2. เพื่อศึกษาความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รายวิชา
ชีววิทยา1ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมสื่อสาร(SocialMediaCommunity) ตามทฤษฎีการสร้าง
องค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร(SocialMediaCommunity) ตามทฤษฎี
การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
3
สมมติฐานของการวิจัย
1. นักเรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎี
การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
2. นักเรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้สังคมสื่อสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎี
การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองอยู่ในระดับมาก
3. นักเรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎี
การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ขอบเขตของการวิจัย
1. ประชากร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา อาเภอพะโต๊ะ
จังหวัดชุมพร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวน 30 คน
2. ตัวแปรการวิจัย
2.1 ตัวแปรอิสระ คือ การจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community)
ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่
2.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2.2.2 ความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
2.2.3 ความพึงพอใจต่อการเรียน
3. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เรื่อง เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รายวิชาชีววิทยา 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ใช้เวลาทดลอง
20 คาบ คาบละ 50 นาที ภายในเวลา 5 สัปดาห์
3. กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน
กระบวนการพัฒนานวัตกรรมครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ดาเนินการทดลองตาม
แบบแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest – Posttest Design พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2543 : 59 – 62) เครื่องมือที่ใช้
ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย
1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2. ความสามารถในการสร้างองค์ความรู้
3. แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ประชากรสาหรับการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวน 30 คน
2. ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เคมีที่เป็น
พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รายวิชาชีววิทยา 1
4
3. ดาเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้าง
องค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
4. ทาการประเมินความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ในแต่ละเนื้อหาที่ทาการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคม
สื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
5. ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เคมีที่เป็น
พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รายวิชาชีววิทยา 1
6. ทาการประเมินความพึงพอใจจากการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community)
ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
7. ตรวจสอบผลการสอบ ความสามารถในการสร้างองค์ความรู้และความพึงพอใจจากการจัดกระบวนการ
เรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
(Constructivism) มาวิเคราะห์ โดยใช้วิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานต่อไป
การวิเคราะห์ข้อมูล
1. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รายวิชาชีววิทยา 1 ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community)
ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) ใช้ค่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียน วิเคราะห์
คะแนนเฉลี่ย t-test Dependent Sample ตามสูตรของพวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2543: 165 – 167)
2. ประเมินความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ จากแบบประเมินการสร้างองค์ความรู้ แล้วทาการวิเคราะห์
หาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
3. วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media
Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
4. ผลการดาเนินการ
1. นักเรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎี
การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
2. นักเรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎี
การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) สามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอยู่ในระดับดี ร้อยละ 86.67
อยู่ในระดับปานกลาง 13.33 สรุปโดยภาพรวมอยู่ในระดับดี เหมาะสมในการส่งเสริมในการจัดการเรียนรู้
การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community)
ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (  =3.51, =0.77)
5. ปัจจัยความสาเร็จ
1. ผู้บริหารมีนโยบายที่ชัดเจนในการส่งเสริมและพัฒนาครูเพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตสื่อและพัฒนา
กระบวนการจัดการเรียนรู้ในทุกรูปแบบพร้อมให้โอกาสในการแสดงศักยภาพเมื่อมีโอกาสที่สมควร
5
2. ครูผู้สอน มีความตั้งใจในการเรียนรู้ พัฒนานวัตกรรมการผลิตสื่อและกระบวนการจัดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ๆ
เพื่อพัฒนาตนเองและพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
3. ผู้เรียนเป็นเด็กสมัยใหม่มีความชื่นชอบและสนใจเทคโนโลยี ชอบการศึกษาค้นคว้าเสาะแสวงหาสิ่งใหม่ ๆ
ในระบบออนไลน์เป็นอย่างดี
6. บทเรียนที่ได้รับ
1. การจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้
ด้วยตนเอง (Constructivism) ครูควรทบทวนเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือนั้น ๆ โดยอาจทาเป็นเอกสารประกอบเพื่อให้
นักเรียนสามารถใช้เครื่องมือเหล่านั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. การจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้
ด้วยตนเอง (Constructivism) ครูควรวางแผนออกแบบในการจัดกระบวนการเรียนรู้ทั้งในส่วนที่เป็น Online และ
Offline ให้เท่าเทียมกัน เพราะผู้เรียนบางส่วนไม่สะดวกในการเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
3. ควรสร้างสื่อที่หลากหลายควรควบคู่กับการพัฒนาการออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร
(Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
4. ควรศึกษาทฤษฎี เทคนิคการสอนที่จะส่งเสริมการออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร
(Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
5. ควรพัฒนาจัดทาเป็นชุดวิจัยบูรณาการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาอื่น ๆ
7. การเผยแพร่ / การได้รับการยอมรับ / รางวัลที่ได้รับ
การเผยแพร่
1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันและต่างกลุ่มสาระ ได้รับความสนใจและนา
แนวทางนวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนาการสอน
2. ผ่านระบบสื่อสังคมออนไลน์อย่างหลากหลาย ได้แก่
2.1 http://krupol555.wordpress.com/
2.2 https://www.facebook.com/krupolphato
2.3 http://krutubechannel.com/index.php
2.4 http://www.youtube.com/user/krupol555?feature=mhee
2.5 http://www.phatowittaya.ac.th
การได้รับการยอมรับ
1. มีโอกาสได้เข้าร่วมนาเสนอผลงานผู้บริหารและครูในจังหวัดชุมพร ณ โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร
2. ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนเข้าร่วมประกวดการพัฒนานวัตกรรมตามจุดเน้น
รางวัลที่ได้รับ
1. ได้รับรางวัลการพัฒนานวัตกรรมและวิจัยดีเด่น ประจาปี 2553 – 2555 จากโรงเรียนพะโต๊ะวิทยา
2. ได้รับรางวัลการประเมินบล็อกในโครงการ “ก้าวใหม่ของครูไทย ก้าวไกลด้วย Social Media ประจาปี 2555

More Related Content

Viewers also liked

โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา พ.ศ 2551
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา  พ.ศ 2551โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา  พ.ศ 2551
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา พ.ศ 2551Krupol Phato
 
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯคู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯKrupol Phato
 
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา พ.ศ 2550
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา  พ.ศ 2550โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา  พ.ศ 2550
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา พ.ศ 2550Krupol Phato
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
เฉลยข้อสอบโอเนต ชีววิทยา 02 ปี 2548
เฉลยข้อสอบโอเนต ชีววิทยา 02  ปี 2548เฉลยข้อสอบโอเนต ชีววิทยา 02  ปี 2548
เฉลยข้อสอบโอเนต ชีววิทยา 02 ปี 2548Krupol Phato
 
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา พ.ศ 2549
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา  พ.ศ 2549โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา  พ.ศ 2549
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา พ.ศ 2549Krupol Phato
 
ตะวัน ประดิษสาร
ตะวัน  ประดิษสารตะวัน  ประดิษสาร
ตะวัน ประดิษสารKrupol Phato
 
ประมวลภาพถ่ายงานจากการปฏิบัติงาน
ประมวลภาพถ่ายงานจากการปฏิบัติงานประมวลภาพถ่ายงานจากการปฏิบัติงาน
ประมวลภาพถ่ายงานจากการปฏิบัติงานKrupol Phato
 
เฉลยโอเนต ชีววิทยา 02 ปี 48
เฉลยโอเนต ชีววิทยา 02 ปี 48เฉลยโอเนต ชีววิทยา 02 ปี 48
เฉลยโอเนต ชีววิทยา 02 ปี 48Krupol Phato
 
ตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง Krupol555 style
ตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง  Krupol555 styleตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง  Krupol555 style
ตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง Krupol555 styleKrupol Phato
 
ศยามล เหมยม
ศยามล  เหมยมศยามล  เหมยม
ศยามล เหมยมKrupol Phato
 
โอเนตชีววิทยา 06 48
โอเนตชีววิทยา 06 48โอเนตชีววิทยา 06 48
โอเนตชีววิทยา 06 48Krupol Phato
 
มวลอะตอม 13.11.55
มวลอะตอม 13.11.55มวลอะตอม 13.11.55
มวลอะตอม 13.11.55Krupol Phato
 
โอเนต ชีววิทยา 05 48
โอเนต ชีววิทยา 05 48โอเนต ชีววิทยา 05 48
โอเนต ชีววิทยา 05 48Krupol Phato
 

Viewers also liked (20)

โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา พ.ศ 2551
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา  พ.ศ 2551โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา  พ.ศ 2551
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา พ.ศ 2551
 
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯคู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
 
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา พ.ศ 2550
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา  พ.ศ 2550โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา  พ.ศ 2550
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา พ.ศ 2550
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
01ok 48
01ok 4801ok 48
01ok 48
 
เฉลยข้อสอบโอเนต ชีววิทยา 02 ปี 2548
เฉลยข้อสอบโอเนต ชีววิทยา 02  ปี 2548เฉลยข้อสอบโอเนต ชีววิทยา 02  ปี 2548
เฉลยข้อสอบโอเนต ชีววิทยา 02 ปี 2548
 
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา พ.ศ 2549
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา  พ.ศ 2549โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา  พ.ศ 2549
โจทย์ข้อสอบโอเนต ชีววิทยา พ.ศ 2549
 
ตะวัน ประดิษสาร
ตะวัน  ประดิษสารตะวัน  ประดิษสาร
ตะวัน ประดิษสาร
 
01 key 48
01 key 4801 key 48
01 key 48
 
Manual tablet
Manual tabletManual tablet
Manual tablet
 
04 ok 48
04 ok 4804 ok 48
04 ok 48
 
ประมวลภาพถ่ายงานจากการปฏิบัติงาน
ประมวลภาพถ่ายงานจากการปฏิบัติงานประมวลภาพถ่ายงานจากการปฏิบัติงาน
ประมวลภาพถ่ายงานจากการปฏิบัติงาน
 
เฉลยโอเนต ชีววิทยา 02 ปี 48
เฉลยโอเนต ชีววิทยา 02 ปี 48เฉลยโอเนต ชีววิทยา 02 ปี 48
เฉลยโอเนต ชีววิทยา 02 ปี 48
 
ตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง Krupol555 style
ตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง  Krupol555 styleตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง  Krupol555 style
ตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง Krupol555 style
 
ศยามล เหมยม
ศยามล  เหมยมศยามล  เหมยม
ศยามล เหมยม
 
Oral test
Oral testOral test
Oral test
 
โอเนตชีววิทยา 06 48
โอเนตชีววิทยา 06 48โอเนตชีววิทยา 06 48
โอเนตชีววิทยา 06 48
 
มวลอะตอม 13.11.55
มวลอะตอม 13.11.55มวลอะตอม 13.11.55
มวลอะตอม 13.11.55
 
03 ok 48
03 ok 4803 ok 48
03 ok 48
 
โอเนต ชีววิทยา 05 48
โอเนต ชีววิทยา 05 48โอเนต ชีววิทยา 05 48
โอเนต ชีววิทยา 05 48
 

Similar to นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ

รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)Ptato Ok
 
005 projectโครงการ
005 projectโครงการ005 projectโครงการ
005 projectโครงการPiyarerk Bunkoson
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์heartherher
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกarunrat bamrungchit
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8Nuttinee
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้onnichabee
 

Similar to นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)
 
005 projectโครงการ
005 projectโครงการ005 projectโครงการ
005 projectโครงการ
 
งานคอม
งานคอม งานคอม
งานคอม
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
201704 open ended-research (pdf)
201704 open ended-research (pdf)201704 open ended-research (pdf)
201704 open ended-research (pdf)
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

More from Krupol Phato

06 การขอสอบใหม่
06 การขอสอบใหม่06 การขอสอบใหม่
06 การขอสอบใหม่Krupol Phato
 
05 การส่งใบงาน
05 การส่งใบงาน05 การส่งใบงาน
05 การส่งใบงานKrupol Phato
 
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียนKrupol Phato
 
03 การเข้าเรียน
03 การเข้าเรียน03 การเข้าเรียน
03 การเข้าเรียนKrupol Phato
 
02 คู่มือการสมัครสมาชิก
02 คู่มือการสมัครสมาชิก02 คู่มือการสมัครสมาชิก
02 คู่มือการสมัครสมาชิกKrupol Phato
 
01 วัตถุประสงค์การอบรม
01 วัตถุประสงค์การอบรม01 วัตถุประสงค์การอบรม
01 วัตถุประสงค์การอบรมKrupol Phato
 
บทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classromบทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classromKrupol Phato
 
Fill in the blank quiz
Fill in the blank quizFill in the blank quiz
Fill in the blank quizKrupol Phato
 
Multiple choice multichoice quiz
Multiple choice multichoice quizMultiple choice multichoice quiz
Multiple choice multichoice quizKrupol Phato
 
Multiple choice quiz
Multiple choice quizMultiple choice quiz
Multiple choice quizKrupol Phato
 
True or false quiz
True or false quizTrue or false quiz
True or false quizKrupol Phato
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์
ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์
ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์Krupol Phato
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
การสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเรา
การสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเราการสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเรา
การสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเราKrupol Phato
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด Krupol Phato
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร Krupol Phato
 
วิเคราะห์คุณประโยชน์สารเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
วิเคราะห์คุณประโยชน์สารเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตวิเคราะห์คุณประโยชน์สารเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
วิเคราะห์คุณประโยชน์สารเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตKrupol Phato
 
ปฏิกิิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปฏิกิิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิตปฏิกิิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปฏิกิิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิตKrupol Phato
 
สารอินทรีย์
สารอินทรีย์สารอินทรีย์
สารอินทรีย์Krupol Phato
 

More from Krupol Phato (20)

06 การขอสอบใหม่
06 การขอสอบใหม่06 การขอสอบใหม่
06 การขอสอบใหม่
 
05 การส่งใบงาน
05 การส่งใบงาน05 การส่งใบงาน
05 การส่งใบงาน
 
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
 
03 การเข้าเรียน
03 การเข้าเรียน03 การเข้าเรียน
03 การเข้าเรียน
 
02 คู่มือการสมัครสมาชิก
02 คู่มือการสมัครสมาชิก02 คู่มือการสมัครสมาชิก
02 คู่มือการสมัครสมาชิก
 
01 วัตถุประสงค์การอบรม
01 วัตถุประสงค์การอบรม01 วัตถุประสงค์การอบรม
01 วัตถุประสงค์การอบรม
 
บทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classromบทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classrom
 
Fill in the blank quiz
Fill in the blank quizFill in the blank quiz
Fill in the blank quiz
 
Multiple choice multichoice quiz
Multiple choice multichoice quizMultiple choice multichoice quiz
Multiple choice multichoice quiz
 
Multiple choice quiz
Multiple choice quizMultiple choice quiz
Multiple choice quiz
 
True or false quiz
True or false quizTrue or false quiz
True or false quiz
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์
ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์
ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
การสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเรา
การสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเราการสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเรา
การสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเรา
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
 
วิเคราะห์คุณประโยชน์สารเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
วิเคราะห์คุณประโยชน์สารเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตวิเคราะห์คุณประโยชน์สารเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
วิเคราะห์คุณประโยชน์สารเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ปฏิกิิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปฏิกิิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิตปฏิกิิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปฏิกิิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
 
สารอินทรีย์
สารอินทรีย์สารอินทรีย์
สารอินทรีย์
 

นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ

  • 1. นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ชื่อผลงาน : การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) A STUDY OF THE ACEDEMIC ACHIEVEMENTS AND COMPLACENCY OF MATHAYOMSUKSA 4 STUDENTS USING SOCAIL MEDIA COMMUNITY WITH CONSTRUCTIVISM THEORY ผู้เสนอผลงาน : นายสุรชัย ผิวเหลือง โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา อาเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 โทรศัพท์ 077 - 539049 โทรสาร 077 - 539141 โทรศัพท์มือถือ 080 - 1435680 e – mail : Krupol555@gmail.com Website: http://krupol555.wordpress.com/ 1. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ ความเป็นมาและสภาพปัญหา การศึกษาคือรากฐานที่สาคัญสาหรับสร้างความเจริญก้าวหน้าและแก้ไขปัญหาการพัฒนาประเทศในด้าน ต่าง ๆ รวมทั้งสามารถโน้มนาประเทศไปใช้ในทิศทางที่พึงประสงค์ การที่ประเทศจะเจริญก้าวหน้าได้นั้นจาเป็นต้อง มีบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ดังนั้น การศึกษาจึงเป็นกระบวนการในการเสริมสร้างบุคคลให้มีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ดังกล่าว (มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, 2547 : 1) การปฏิรูปในการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดไว้เกี่ยวกับ จุดมุ่งหมายที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนและสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนในด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีเพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ซึ่งสอดคล้องกับ ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) มีหลักการที่สาคัญว่า ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็น ผู้กระทาและสร้างความรู้ (สุรางค์ โค้วตระกูล, 2552: 210) โดยเชื่อว่าผู้เรียนมีความสามารถพัฒนาความรู้ของ ตนเองอยู่แล้ว (ชาตรี เกิดธรรม, 2542 : 27 อ้างใน วีระศักดิ์ เดือนแจ่ม, 2548 : 3) มนุษย์มีศักยภาพในการสร้าง ความรู้ด้วยตนเองเมื่อได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว โดยการใช้ความรู้และประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ สร้างความหมายของประสบการณ์ใหม่ จากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการดารงชีวิตของ มนุษย์โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศอินเทอร์เน็ต เป็นปัจจัยสาคัญในยุคที่ข้อมูลข่าวสารมีความสาคัญ คนเราหัน มาบริโภคข้อมูลข่าวสารกันมากขึ้นผ่านสื่อสังคมออนไลน์อย่างหลากหลาย โดยเฉพาะเว็บไซด์ยอดนิยม เช่น
  • 2. 2 Facebook Blog และ Google (ปณิชา นิติพรมงคล, 2555 : บทคัดย่อ) รวมถึงวงการการศึกษานาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตมาใช้ตั้งแต่ระดับการบริหารและการจัดการของหน่วยงานทางการศึกษาและสามารถ นาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ และถูกพัฒนาให้มีความสามารถในการสื่อสารผ่านระบบเครือข่าย แต่ปัญหาของการใช้เครื่องมือดังกล่าว พบว่าไม่ได้ รับการตอบรับจากนักเรียนมากนักรวมถึงไม่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความสนใจใฝ่เรียนรู้อีกทั้งการเข้าถึงสื่อเหล่านั้น ค่อนข้างยากเพราะเป็นสื่อที่ไม่สามารถใช้งานได้บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดังนั้นการพัฒนาสื่อปัจจุบันจึงให้ความสาคัญไปในทิศทางรูปแบบสื่อออนไลน์ที่นักเรียนสามารถเข้าถึงและ เรียนรู้ได้ตลอดเวลาที่ต้องการแต่ต้องมีเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งสื่อที่ได้รับความนิยมและนักเรียนสามารถเข้าถึงได้ ง่ายในปัจจุบันจึงเป็นสื่อประเภท สื่อสังคม (Social Media) และเว็บไซด์ แต่การที่จะนาสื่อ และสื่อออนไลน์ต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ ครูผู้สอนต้องมีความรู้ความเข้าใจและสามารถใช้สื่อเหล่านั้นได้เป็นอย่างดี สามารถพัฒนาผลงาน สื่อและเนื้อหาเพื่อเผยแพร่ให้กับนักเรียนได้เรียนรู้และต้องมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนอยู่เสมอ เช่น การตั้งประเด็นคาถาม การตอบคาถามข้อสงสัย การติดตามผลงาน การให้คาแนะนาที่เหมาะสม แนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนา จากการวิเคราะห์สื่อประเภทต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) ผู้วิจัยพบว่าสื่อประเภท สื่อสังคม (Social Media) มีจุดเด่นในการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างเสรี ตลอดเวลาที่มีเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสื่อรูปแบบเดิมก็มียังมีความสาคัญและจาเป็นสาหรับนักเรียนที่มีข้อจากัดที่ สะดวกในการเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทาการวิจัย ศึกษาผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักเรียนที่จัดกระบวนการ เรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) เพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในเชิงสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของตนเอง อีกทั้ง ยังช่วยพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์ของนักเรียน โดยคานึงถึงศักยภาพ ความพร้อมและความ แตกต่างระหว่างบุคคลในทุกด้าน 2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รายวิชาชีววิทยา 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้าง องค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) 2. เพื่อศึกษาความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รายวิชา ชีววิทยา1ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมสื่อสาร(SocialMediaCommunity) ตามทฤษฎีการสร้าง องค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร(SocialMediaCommunity) ตามทฤษฎี การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
  • 3. 3 สมมติฐานของการวิจัย 1. นักเรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎี การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2. นักเรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้สังคมสื่อสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎี การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองอยู่ในระดับมาก 3. นักเรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎี การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา อาเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวน 30 คน 2. ตัวแปรการวิจัย 2.1 ตัวแปรอิสระ คือ การจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.2.2 ความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 2.2.3 ความพึงพอใจต่อการเรียน 3. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เรื่อง เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รายวิชาชีววิทยา 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ใช้เวลาทดลอง 20 คาบ คาบละ 50 นาที ภายในเวลา 5 สัปดาห์ 3. กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน กระบวนการพัฒนานวัตกรรมครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ดาเนินการทดลองตาม แบบแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest – Posttest Design พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2543 : 59 – 62) เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. ความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการ การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ประชากรสาหรับการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวน 30 คน 2. ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เคมีที่เป็น พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รายวิชาชีววิทยา 1
  • 4. 4 3. ดาเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้าง องค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) 4. ทาการประเมินความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ในแต่ละเนื้อหาที่ทาการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคม สื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) 5. ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เคมีที่เป็น พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รายวิชาชีววิทยา 1 6. ทาการประเมินความพึงพอใจจากการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) 7. ตรวจสอบผลการสอบ ความสามารถในการสร้างองค์ความรู้และความพึงพอใจจากการจัดกระบวนการ เรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) มาวิเคราะห์ โดยใช้วิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานต่อไป การวิเคราะห์ข้อมูล 1. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รายวิชาชีววิทยา 1 ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) ใช้ค่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียน วิเคราะห์ คะแนนเฉลี่ย t-test Dependent Sample ตามสูตรของพวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2543: 165 – 167) 2. ประเมินความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ จากแบบประเมินการสร้างองค์ความรู้ แล้วทาการวิเคราะห์ หาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3. วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) 4. ผลการดาเนินการ 1. นักเรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎี การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. นักเรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎี การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) สามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอยู่ในระดับดี ร้อยละ 86.67 อยู่ในระดับปานกลาง 13.33 สรุปโดยภาพรวมอยู่ในระดับดี เหมาะสมในการส่งเสริมในการจัดการเรียนรู้ การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (  =3.51, =0.77) 5. ปัจจัยความสาเร็จ 1. ผู้บริหารมีนโยบายที่ชัดเจนในการส่งเสริมและพัฒนาครูเพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตสื่อและพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรู้ในทุกรูปแบบพร้อมให้โอกาสในการแสดงศักยภาพเมื่อมีโอกาสที่สมควร
  • 5. 5 2. ครูผู้สอน มีความตั้งใจในการเรียนรู้ พัฒนานวัตกรรมการผลิตสื่อและกระบวนการจัดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาตนเองและพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง 3. ผู้เรียนเป็นเด็กสมัยใหม่มีความชื่นชอบและสนใจเทคโนโลยี ชอบการศึกษาค้นคว้าเสาะแสวงหาสิ่งใหม่ ๆ ในระบบออนไลน์เป็นอย่างดี 6. บทเรียนที่ได้รับ 1. การจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง (Constructivism) ครูควรทบทวนเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือนั้น ๆ โดยอาจทาเป็นเอกสารประกอบเพื่อให้ นักเรียนสามารถใช้เครื่องมือเหล่านั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. การจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง (Constructivism) ครูควรวางแผนออกแบบในการจัดกระบวนการเรียนรู้ทั้งในส่วนที่เป็น Online และ Offline ให้เท่าเทียมกัน เพราะผู้เรียนบางส่วนไม่สะดวกในการเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3. ควรสร้างสื่อที่หลากหลายควรควบคู่กับการพัฒนาการออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) 4. ควรศึกษาทฤษฎี เทคนิคการสอนที่จะส่งเสริมการออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้สื่อสังคมสื่อสาร (Social Media Community) ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) 5. ควรพัฒนาจัดทาเป็นชุดวิจัยบูรณาการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาอื่น ๆ 7. การเผยแพร่ / การได้รับการยอมรับ / รางวัลที่ได้รับ การเผยแพร่ 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันและต่างกลุ่มสาระ ได้รับความสนใจและนา แนวทางนวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนาการสอน 2. ผ่านระบบสื่อสังคมออนไลน์อย่างหลากหลาย ได้แก่ 2.1 http://krupol555.wordpress.com/ 2.2 https://www.facebook.com/krupolphato 2.3 http://krutubechannel.com/index.php 2.4 http://www.youtube.com/user/krupol555?feature=mhee 2.5 http://www.phatowittaya.ac.th การได้รับการยอมรับ 1. มีโอกาสได้เข้าร่วมนาเสนอผลงานผู้บริหารและครูในจังหวัดชุมพร ณ โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร 2. ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนเข้าร่วมประกวดการพัฒนานวัตกรรมตามจุดเน้น รางวัลที่ได้รับ 1. ได้รับรางวัลการพัฒนานวัตกรรมและวิจัยดีเด่น ประจาปี 2553 – 2555 จากโรงเรียนพะโต๊ะวิทยา 2. ได้รับรางวัลการประเมินบล็อกในโครงการ “ก้าวใหม่ของครูไทย ก้าวไกลด้วย Social Media ประจาปี 2555