SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน สายตาล้าปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม
ชื่อผู้ทาโครงงาน
น.ส.ภัทรนันท์ ดวงอินทร์ เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. น.ส.ภัทรนันท์ ดวงอินทร์ เลขที่ 25
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
สายตาล้าปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Visual fatigue
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ภัทรนันท์ ดวงอินทร์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียน1-2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน รวมไปถึงสมาร์ทโฟนต่างๆ เมื่อผู้คนใช้เวลาไปกับ
เทคโนโลยีเหล่านี้มากๆ อาจส่งผลให้เกิด อาการตาล้า(Visual fatigue) ทาให้มีอาการปวดตา ระคายเคืองตา ตาแห้ง
ปวดศีรษะ เห็นภาพไม่ชัด เห็นภาพซ้อน น้าตาคลอ ซึ่งเกิดจากกล้ามเนื้อตามีการเกร็งโดยการยืดหรือหดตัว ในขณะที่
มีการจ้องมองวัตถุเป็นเวลานาน แต่อาการสายตาล้าไม่ได้เกิดจากการจ้องหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์เป็น
เวลานานเท่านั้น การอ่านหนังสือนานๆ อ่านหนังสือในที่ๆแสงไม่เพียงพอ หรือการสัมผัสกับแสงจ้ามากๆ ก็ก่อให้เกิด
อาการตาล้าได้เช่นเดียวกัน ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆจากอาการตาล้าได้แก่ ความเครียดและความเหนื่อยล้า การนั่งนานๆอาจ
ส่งผลให้เกิดอาการปวดหลัง ซึ่งอาจส่งผลกระทบในระยะยาวได้ หากมีอาการตาแห้งมากๆอาจทาให้เกิด
ภาวะแทรกซ้อนและตาบอดได้ ดังนั้นผู้จัดทาจึงสนใจศึกษาข้อมูลของอาการสายตาล้า ได้แก่ สาเหตุ และปัจจัยต่างๆ
วิธีป้องกันและแก้อาการสายตาล้า รวมถึงบทวิจัยที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับอาการนี้ เนื่องจากผู้จัดทาเห็นว่ามีประโยชน์
สาหรับทุกเพศทุกวัย และเป็นอาการที่เกิดมากในยุคปัจจุบัน
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาสาเหตุของสายตาล้า
2.เพื่อหาวิธีแก้ปัญหาอาการสายตาล้า
3.เพื่อนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาเฉพาะอาการสายตาล้าจากการใช้โทรศัพท์และคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
นายชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เปิดเผยว่า สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้วิจัยผลการใช้งานแท็บเล็ตของนักเรียนชั้น ป.1 เพื่อใช้เป็นข้อมูล
เบื้องต้นที่จะทาให้เห็นถึงแนวทางการใช้แท็บเล็ตให้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้แบบใหม่
ผลการวิจัยพบว่าโรงเรียนหลายแห่งมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ โดยที่ เด็กร้อยละ 72 ได้
สืบหาความรู้ด้วยตนเอง จากนั้นจะทาความเข้าใจและสรุปเป็นองค์ความรู้ แต่ร้อยละ 35.96 เล่นกับเพื่อนลดลง
หลังจากได้รับแท็บเล็ต
นอกจากนี้ยังพบว่า ร้อยละ 20.15 จะมีอาการปวดเมื่อยนิ้ว ปวดตา เคืองตา แสบตา เวียนหัว ปวดบริเวณคอ
และไหล่ และปวดหลังบ้างเล็กน้อยจากการใช้แท็บเล็ต กลุ่มอาการดังกล่าว รวมกันว่า Computer vision
syndrome (CVS) อาการเหล่านี้ อาจแย่ลงเรื่อยๆ ถ้าแสงไม่เหมาะสม (อาทิเช่น แสงจ้า หรือสว่างเกินไป) หรือ
อากาศที่เคลื่อนไหวผ่านดวงตา (อาทิเช่น ลมจากพัดลม)
CVS เป็นผลจากการเพ่งสายตาบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็นระยะเวลานาน โดยไม่พักสายตาเลย โดยจะมีอาการปวด
ศีรษะ ตาพร่ามัว ปวดต้นคอ ตาแดง อ่อนล้า ตาแข็ง ตาแห้ง ระคายเคืองตา เห็นภาพซ้อน เวียนศีรษะ/มึนงง และ
มองไม่ชัด
สถาบันอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแห่งชาติ (National Institute of Occupational Safety and
Health) ของสหรัฐอดมริกา ได้ชี้แจงว่า CVS เกิดขึ้นกว่า 90% ของคนที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลา 3 ชั่วโมง หรือ
มากกว่าต่อวัน โดยตาแห้งเป็นอาการส่วนใหญ่ที่ผู้ป่วยที่มารักษา ดังนั้นการใช้น้าตาเทียมที่ซื้อจากร้านขายยาก็
สามารถลดอาการตาแห้งจาก CVS ได้
อาการกล้ามเนื้อดวงตาอ่อนล้าเป็นต้นเหตุส่วนใหญ่ของอาการ CVS ดังนั้น การพักสายตาและกล้ามเนื้อตาที่
เหมาะสม จึงเป็นคาแนะนาสาหรับลดอาการเมื่อยล้าของดวงตา และวลีที่ถูกใช้เพื่อเผยแพร่คาเตือน ก็คือ “การพัก
สายตาขณะที่ทางานหน้าจอเครื่องคอมพิวเตอร์”บนพื้นฐานนี้เป็นระยะที่ตามองและเวลาที่เหมาะสมตามคาแนะนา
จากผู้เชี่ยวชาญด้านสายตาที่ประกอบแว่นตา (Optometrist) และจักษุแพทย์ (Ophthalmologist) หรือมิฉะนั้นก็ให้
ผู้ป่วยหลับตา (ซึ่งให้ผลคล้ายกัน) เป็นเวลา 20 วินาที อย่างน้อยทุกๆ ครึ่งชั่วโมงของการทางานหน้าจอคอมพิวเตอร์
การลดลงของความสามารถในการจับภาพ สามารถบรรเทาโดยการสวมแว่นตาสายตายาว (+1.00-+1.50) การสวม
แว่นตานี้ช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นความสามารถในการจับภาพระยะใกล้ได้ ผู้มีอาชีพต้องเพ่งสายตาอย่างเช่น ช่างตัดเสื้อซึ่ง
ต้องเย็บปักถักร้อยก็ประสบอาการคล้ายๆ กัน และสามารถช่วยได้โดยแว่นตาดังกล่าว
มหาวิทยาลัย แปซิฟิกได้ (Pacific University) ทาการศึกษาในอาสาสมัคร 36 คน และได้พบความแตกต่าง
อย่างมีนัยสาคัญในเรื่องการระคายเคือง หรือการแสบของดวงตา น้าตา หรือน้าในตา ตาแห้ง และ ตาเมื่อยล้า ซึ่ง
สามารถแก้ไขให้ดีขึ้นได้ด้วยการใช้เลนส์ที่มีตัวกรองเทียบกับเลนส์ธรรมดา
ปัญหาการมองเห็นเกิดขึ้นเสมอกับคนทางานเกี่ยวกับจอภาพ (Video display terminal) โดยเฉพาะการ
สารวจสุขภาพคนทางานส่วนใหญ่ พบปัญหาการร้องเรียนเกี่ยวกับสายตา มากที่สุด
4
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ปรึกษาเลือกหัวข้อ
2.นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
3.ศึกษาอาการและสาเหตุของสายตาล้าในอินเทอร์เน็ต
4.ศึกษาวิธีการแก้ปัญหาสายตาล้าและผลกระทบของอาการสายตาล้า
5.รวบรวมข้อมูลในเว็บไซต์มาสรุปโดยย่อ
6.สอบถามกลุ่มตัวอย่างถึงวิธีการแก้ปัญหาสายตาล้าของแต่ละบุคคล
7.สรุปและนาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.โทรศัพท์
งบประมาณ
-50 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.สามารถแก้ปัญหาอาการสายตาล้าได้
2.เรียนรู้และเข้าใจอาการสายตาล้า
3.สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
5
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.ชีววิทยา
2.ฟิสิกส์
3.การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. http://jes.rtu.ac.th/rtunc2017/pdf/Oral%20Presentation/Oral%20%E0%B8%81%E0%B
8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%201%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%
E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%
B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%
A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E/OHS_156_full.pdf
2. https://tci-thaijo.org/index.php/JHR/article/view/18346/16138
3. https://www.blackmores.co.th/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%94-
%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88-
%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%
B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8
%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%
A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%
B2-04/109-
%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%81-
%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%
E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B9%88%E0%B8
%B2%E0%B8%A2%E0%B9%86-
%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B9%88%E0
%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%
B9%89
4.

More Related Content

What's hot

มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนJa Palm
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยGuy Prp
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07 PPhumin
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561NodChaa
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์pimnarayrc
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกselenagomezz
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรมThanakorn Intrarat
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project THXB
 
2562 final-project-14
2562 final-project-142562 final-project-14
2562 final-project-14Stamprsn
 

What's hot (20)

มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
 
615 35 wpdf
615 35 wpdf615 35 wpdf
615 35 wpdf
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทย
 
Work1 polram 32
Work1 polram 32Work1 polram 32
Work1 polram 32
 
Lin
LinLin
Lin
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
05 606 2561-1
05 606 2561-105 606 2561-1
05 606 2561-1
 
5
55
5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
Jj
JjJj
Jj
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Chel
ChelChel
Chel
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project-14
2562 final-project-142562 final-project-14
2562 final-project-14
 
2561 project 04
2561 project 042561 project 04
2561 project 04
 

Similar to Visual fatigue

Similar to Visual fatigue (20)

The benefits of carrots
The benefits of carrotsThe benefits of carrots
The benefits of carrots
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Project com-31
Project com-31Project com-31
Project com-31
 
615 28 namthip
615 28 namthip615 28 namthip
615 28 namthip
 
05 606 2561-1
05 606 2561-105 606 2561-1
05 606 2561-1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Bababa
BababaBababa
Bababa
 
Travel solo
Travel soloTravel solo
Travel solo
 
Travel solo
Travel soloTravel solo
Travel solo
 
2561 project (15)
2561 project  (15)2561 project  (15)
2561 project (15)
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Alopecia
AlopeciaAlopecia
Alopecia
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 

More from Pattaranan Duangin

More from Pattaranan Duangin (7)

Fruit juice
Fruit juiceFruit juice
Fruit juice
 
Healthy by-juice
Healthy by-juiceHealthy by-juice
Healthy by-juice
 
Fill
FillFill
Fill
 
สายตาล้า
สายตาล้าสายตาล้า
สายตาล้า
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Prbcom60
Prbcom60Prbcom60
Prbcom60
 
Work2 606_25
Work2 606_25Work2 606_25
Work2 606_25
 

Visual fatigue

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน สายตาล้าปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ภัทรนันท์ ดวงอินทร์ เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. น.ส.ภัทรนันท์ ดวงอินทร์ เลขที่ 25 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สายตาล้าปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Visual fatigue ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ภัทรนันท์ ดวงอินทร์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียน1-2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปัจจุบันคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน รวมไปถึงสมาร์ทโฟนต่างๆ เมื่อผู้คนใช้เวลาไปกับ เทคโนโลยีเหล่านี้มากๆ อาจส่งผลให้เกิด อาการตาล้า(Visual fatigue) ทาให้มีอาการปวดตา ระคายเคืองตา ตาแห้ง ปวดศีรษะ เห็นภาพไม่ชัด เห็นภาพซ้อน น้าตาคลอ ซึ่งเกิดจากกล้ามเนื้อตามีการเกร็งโดยการยืดหรือหดตัว ในขณะที่ มีการจ้องมองวัตถุเป็นเวลานาน แต่อาการสายตาล้าไม่ได้เกิดจากการจ้องหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์เป็น เวลานานเท่านั้น การอ่านหนังสือนานๆ อ่านหนังสือในที่ๆแสงไม่เพียงพอ หรือการสัมผัสกับแสงจ้ามากๆ ก็ก่อให้เกิด อาการตาล้าได้เช่นเดียวกัน ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆจากอาการตาล้าได้แก่ ความเครียดและความเหนื่อยล้า การนั่งนานๆอาจ ส่งผลให้เกิดอาการปวดหลัง ซึ่งอาจส่งผลกระทบในระยะยาวได้ หากมีอาการตาแห้งมากๆอาจทาให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนและตาบอดได้ ดังนั้นผู้จัดทาจึงสนใจศึกษาข้อมูลของอาการสายตาล้า ได้แก่ สาเหตุ และปัจจัยต่างๆ วิธีป้องกันและแก้อาการสายตาล้า รวมถึงบทวิจัยที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับอาการนี้ เนื่องจากผู้จัดทาเห็นว่ามีประโยชน์ สาหรับทุกเพศทุกวัย และเป็นอาการที่เกิดมากในยุคปัจจุบัน
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาสาเหตุของสายตาล้า 2.เพื่อหาวิธีแก้ปัญหาอาการสายตาล้า 3.เพื่อนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาเฉพาะอาการสายตาล้าจากการใช้โทรศัพท์และคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) นายชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เปิดเผยว่า สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้วิจัยผลการใช้งานแท็บเล็ตของนักเรียนชั้น ป.1 เพื่อใช้เป็นข้อมูล เบื้องต้นที่จะทาให้เห็นถึงแนวทางการใช้แท็บเล็ตให้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้แบบใหม่ ผลการวิจัยพบว่าโรงเรียนหลายแห่งมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ โดยที่ เด็กร้อยละ 72 ได้ สืบหาความรู้ด้วยตนเอง จากนั้นจะทาความเข้าใจและสรุปเป็นองค์ความรู้ แต่ร้อยละ 35.96 เล่นกับเพื่อนลดลง หลังจากได้รับแท็บเล็ต นอกจากนี้ยังพบว่า ร้อยละ 20.15 จะมีอาการปวดเมื่อยนิ้ว ปวดตา เคืองตา แสบตา เวียนหัว ปวดบริเวณคอ และไหล่ และปวดหลังบ้างเล็กน้อยจากการใช้แท็บเล็ต กลุ่มอาการดังกล่าว รวมกันว่า Computer vision syndrome (CVS) อาการเหล่านี้ อาจแย่ลงเรื่อยๆ ถ้าแสงไม่เหมาะสม (อาทิเช่น แสงจ้า หรือสว่างเกินไป) หรือ อากาศที่เคลื่อนไหวผ่านดวงตา (อาทิเช่น ลมจากพัดลม) CVS เป็นผลจากการเพ่งสายตาบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็นระยะเวลานาน โดยไม่พักสายตาเลย โดยจะมีอาการปวด ศีรษะ ตาพร่ามัว ปวดต้นคอ ตาแดง อ่อนล้า ตาแข็ง ตาแห้ง ระคายเคืองตา เห็นภาพซ้อน เวียนศีรษะ/มึนงง และ มองไม่ชัด สถาบันอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแห่งชาติ (National Institute of Occupational Safety and Health) ของสหรัฐอดมริกา ได้ชี้แจงว่า CVS เกิดขึ้นกว่า 90% ของคนที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลา 3 ชั่วโมง หรือ มากกว่าต่อวัน โดยตาแห้งเป็นอาการส่วนใหญ่ที่ผู้ป่วยที่มารักษา ดังนั้นการใช้น้าตาเทียมที่ซื้อจากร้านขายยาก็ สามารถลดอาการตาแห้งจาก CVS ได้ อาการกล้ามเนื้อดวงตาอ่อนล้าเป็นต้นเหตุส่วนใหญ่ของอาการ CVS ดังนั้น การพักสายตาและกล้ามเนื้อตาที่ เหมาะสม จึงเป็นคาแนะนาสาหรับลดอาการเมื่อยล้าของดวงตา และวลีที่ถูกใช้เพื่อเผยแพร่คาเตือน ก็คือ “การพัก สายตาขณะที่ทางานหน้าจอเครื่องคอมพิวเตอร์”บนพื้นฐานนี้เป็นระยะที่ตามองและเวลาที่เหมาะสมตามคาแนะนา จากผู้เชี่ยวชาญด้านสายตาที่ประกอบแว่นตา (Optometrist) และจักษุแพทย์ (Ophthalmologist) หรือมิฉะนั้นก็ให้ ผู้ป่วยหลับตา (ซึ่งให้ผลคล้ายกัน) เป็นเวลา 20 วินาที อย่างน้อยทุกๆ ครึ่งชั่วโมงของการทางานหน้าจอคอมพิวเตอร์ การลดลงของความสามารถในการจับภาพ สามารถบรรเทาโดยการสวมแว่นตาสายตายาว (+1.00-+1.50) การสวม แว่นตานี้ช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นความสามารถในการจับภาพระยะใกล้ได้ ผู้มีอาชีพต้องเพ่งสายตาอย่างเช่น ช่างตัดเสื้อซึ่ง ต้องเย็บปักถักร้อยก็ประสบอาการคล้ายๆ กัน และสามารถช่วยได้โดยแว่นตาดังกล่าว มหาวิทยาลัย แปซิฟิกได้ (Pacific University) ทาการศึกษาในอาสาสมัคร 36 คน และได้พบความแตกต่าง อย่างมีนัยสาคัญในเรื่องการระคายเคือง หรือการแสบของดวงตา น้าตา หรือน้าในตา ตาแห้ง และ ตาเมื่อยล้า ซึ่ง สามารถแก้ไขให้ดีขึ้นได้ด้วยการใช้เลนส์ที่มีตัวกรองเทียบกับเลนส์ธรรมดา ปัญหาการมองเห็นเกิดขึ้นเสมอกับคนทางานเกี่ยวกับจอภาพ (Video display terminal) โดยเฉพาะการ สารวจสุขภาพคนทางานส่วนใหญ่ พบปัญหาการร้องเรียนเกี่ยวกับสายตา มากที่สุด
  • 4. 4 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ปรึกษาเลือกหัวข้อ 2.นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน 3.ศึกษาอาการและสาเหตุของสายตาล้าในอินเทอร์เน็ต 4.ศึกษาวิธีการแก้ปัญหาสายตาล้าและผลกระทบของอาการสายตาล้า 5.รวบรวมข้อมูลในเว็บไซต์มาสรุปโดยย่อ 6.สอบถามกลุ่มตัวอย่างถึงวิธีการแก้ปัญหาสายตาล้าของแต่ละบุคคล 7.สรุปและนาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.โทรศัพท์ งบประมาณ -50 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.สามารถแก้ปัญหาอาการสายตาล้าได้ 2.เรียนรู้และเข้าใจอาการสายตาล้า 3.สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
  • 5. 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.ชีววิทยา 2.ฟิสิกส์ 3.การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. http://jes.rtu.ac.th/rtunc2017/pdf/Oral%20Presentation/Oral%20%E0%B8%81%E0%B 8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%201%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4% E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0% B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8% A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E/OHS_156_full.pdf 2. https://tci-thaijo.org/index.php/JHR/article/view/18346/16138 3. https://www.blackmores.co.th/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%94- %E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88- %E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8% B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8 %A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8% A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8% B2-04/109- %E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%81- %E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3% E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B9%88%E0%B8 %B2%E0%B8%A2%E0%B9%86- %E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B9%88%E0 %B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0% B9%89 4.