SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน พลังงานทดแทน (Alternative Energy)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายชัชวาล คาคุณา ชั้น ม.6/11 เลขที่ 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ……….
3………………………………….. เลขที่………
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
พลังงานทดแทน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Alternative Energy
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายชัชวาล คาคุณา
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน
พลังงานที่มนุษย์ใช้ประโยชน์กันอยู่ทุกวันนี้นั้นพบว่ามีอัตราการใช้พลังงานเพิ่มสูงขึ้นราว ๆ 2 เท่าเมื่อเทียบกับ
เมื่อ 30 ปีก่อน ในขณะที่น้ามันและก๊าซธรรมชาติที่มีสารองอยู่นั้นคาดว่าจะเพียงพอให้ใช้อยู่ได้อีกประมาณ 100
ปี ส่วนถ่านหินซึ่งใช้ในโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้านั้นคาดกันว่ามีสารองให้ใช้ได้อีกเพียง 500 ปีเท่านั้น แต่เมื่ออัตรา
การใช้พลังงานเพิ่มขึ้นอย่างทวีคูณเช่นนี้ ไม่แน่ว่าปริมาณเชื้อเพลิงสารองอาจหมดไปก่อนเวลาที่ได้คาดการณ์ไว้ก็
เป็นได้ นี่จึงเป็นเหตุผลว่าทาไมเราจึงต้องมองหาแหล่งพลังงานทดแทนสารองไว้ใช้
สาเหตุสาคัญที่ทาให้การใช้พลังงานเพิ่มสูงขึ้นนั้นมาจากหลายสาเหตุด้วยกัน สาเหตุแรกก็คือการเพิ่มขึ้นของ
ประชากรโลกซึ่ง ณ ปัจจุบันก็ยังคงมีอัตราการเพิ่มสูงขึ้นทุกปี สาเหตุที่สองก็คือความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
โดยเฉพาะทางด้านคมนาคม มีการผลิตยานพาหนะมาเป็นจานวนมากโดยกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วเป้าหมายก็คือ
กลุ่มประเทศกาลังพัฒนาที่ถือเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักเลยก็ว่าได้ ในขณะที่กลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วกลับเริ่มหัน
กลับไปใช้การเดินทางด้วยการเดินหรือไม่ก็ปั่นจักรยานกันแล้ว นอกจากนั้นแล้วอุปกรณ์ต่าง ๆ นั้นมีผลทาให้
อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นความต้องการในการใช้เครื่องปรับอากาศก็สูงขึ้นตามไปด้วย อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดนั้น
นอกจากจะอานวยความสะดวกให้มนุษย์แล้วยังแถมความร้อนมาให้ด้วย ยิ่งใช้โลกก็ยิ่งร้อน ยิ่งร้อนก็ยิ่งใช้วนไป
มาเป็นวัฏจักรเพิ่มอุณหภูมิกันอยู่อย่างนี้แหละ สาเหตุที่สามก็คือพฤติกรรมการใช้พลังงานของมนุษย์ ถือเป็น
ตัวการสาคัญที่ทาให้ทรัพยากรแทบทุกด้านลดน้อยลงอย่างทวีคูณเลย ผู้คนจานวนมากกว่าค่อนโลกไม่เห็น
3
ความสาคัญของการประหยัดพลังงานเนื่องจากคิดว่าเป็นเงินที่ตัวเองซื้อพลังงานนั้นมาแล้วก็ควรจะมีการใช้
พลังงานอย่างเต็มที่ โดยไม่ได้สนใจด้วยซ้าว่าพลังงานที่ใช้อยู่นั้นจะหมดสิ้นไปวันใด
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ
1.ต้องการให้ตระหนักถึงพลังงานที่มนุษย์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2.เพื่อเตรียมตัวสู่อนาคตในวันที่พลังงานต่างๆเริ่มลดน้อยลง
3.ปรับตัวให้สามารถใช้ชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.แสวงหาแหล่งพลังงานทดแทน
5.สามารถสร้างพลังงานทดแทนใช้เองได้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน
1.สืบค้นความรู้
2.ใช้ระยะเวลาพอสมควร
3.งบประมาณในการผลิตพลังงานทดแทนบางประเภทค่อนข้างสูง
4.ระยะเวลาตลอดภาคเรียนที่ 2
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน
พลังงานทดแทน โดยทั่วไปหมายถึงพลังงานที่ใช้ทดแทนพลังงานจากฟอสซิล เช่น ถ่านหิน, ปิโตรเลียม และ แก๊ส
ธรรมชาติซึ่งปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มหาศาลอันเป็นสาเหตุโลกร้อน ตัวอย่างพลังงานทดแทนที่สาคัญเช่น
พลังงานลม, พลังงานน้า, พลังงานแสงอาทิตย์, พลังงานน้าขึ้นน้าลง, พลังงานคลื่น, พลังงานความร้อนใต้พิภพ,
เชื้อเพลิงชีวภาพ เป็นต้น ในปี 2555 ประเทศไทยใช้พลังงานทดแทนเพียง 18.2% ของพลังงานทั้งหมด เพิ่มขึ้น
จากปีก่อนหน้า เพียง 1.8% โดยที่พลังงานแสงอาทิตย์ และเชื้อเพลิงชีวภาพ เพิ่มขึ้น 23% แต่พลังงานจาก ฟืน
ถ่าน แกลบ และวัสดุเหลือใช้ทางเกษตร โดยนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงดั้งเดิม มีอัตราลดลง 10% (อาจเป็นเพราะ
มวลชีวภาพดังกล่าวถูกแปรรูปไปเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพไปแล้ว)
พลังงานทดแทนอีกประเภทหนึ่งเป็นพลังงานที่ถูกทาขึ้นใหม่ได้อย่างต่อเนื่อง (เช่นมวลของลมกลุ่มแรกผ่านกังหัน
ลมไป มวลของลมกลุ่มใหม่ก็ตามมาอย่างต่อเนื่องเป็นต้น) เรียกว่า พลังงานหมุนเวียน (อังกฤษ: Renewal
Energy) ได้แก่ แสงอาทิตย์ ลม น้า และไฮโดรเจน เป็นต้น (บางตาราว่า มวลชีวภาพ ก็เป็นพลังงานหมุนเวียน
ขึ้นกับว่า มันทาขึ้นใหม่ได้อย่างต่อเนื่องหรือไม่)
ตามแผนพัฒนาและส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน 15 ปี ระหว่าง 2555-2564 มีแผนที่จะให้มีการใช้พลังงาน
ทดแทนเป็นสัดส่วน 20% ของพลังงานทั้งหมด การศึกษาและพัฒนาพลังงานทดแทนเป็นการศึกษา ค้นคว้า
ทดสอบ พัฒนา และสาธิต ตลอดจนส่งเสริมและเผยแพร่พลังงานทดแทน ซึ่งเป็นพลังงานที่สะอาด ไม่มี
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเป็นแหล่งพลังงานที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น พลังงานลม แสงอาทิตย์ ชีวมวล และอื่นๆ
4
เพื่อให้มีการผลิต และการใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย มีประสิทธิภาพ และมีความเหมาะสมทั้งทางด้านเทคนิค
เศรษฐกิจ และสังคม
สาหรับผู้ใช้ในเมือง และชนบท ซึ่งในการศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาพลังงานทดแทนดังกล่าว ยังรวมถึงการ
พัฒนาเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์เพื่อการใช้งานมีประสิทธิภาพสูงสุดด้วย งานศึกษา และพัฒนาพลังงาน
ทดแทน เป็นส่วนหนึ่งของแผนงานพัฒนาพลังงานทดแทน ซึ่งมีโครงการที่เกี่ยวข้องโดยตรงภายใต้แผนงานนี้คือ
โครงการศึกษาวิจัยด้านพลังงาน และมีความเชื่อมโยงกับแผนงานพัฒนาชนบทในโครงการจัดตั้งระบบผลิตไฟฟ้า
ประจุแบตเตอรี่ด้วยเซลล์แสงอาทิตย์สาหรับหมู่บ้านชนบทที่ไม่มีไฟฟ้า โดยงานศึกษา และพัฒนาพลังงาน
ทดแทนจะเป็นงานประจาที่มีลักษณะการดาเนินงานของกิจกรรมต่างๆ ในเชิงกว้างเพื่อสนับสนุนการพัฒนา
เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ทั้งในด้านวิชาการเชิงทฤษฎี และอุปกรณ์เครื่องมือทดลอง และการทดสอบ รวมถึง
การส่งเสริมและเผยแพร่ ซึ่งจะเป็นการสนับสนุน และรองรับความพร้อมในการจัดตั้งโครงการใหม่ๆ ในโครงการ
ศึกษาวิจัยด้านพลังงานและโครงการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การศึกษาค้นคว้าเบื้องต้น การติดตามความก้าวหน้า
และร่วมมือประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาต้นแบบ ทดสอบ วิเคราะห์ และประเมินความ
เหมาะสมเบื้องต้น และเป็นงานส่งเสริมการพัฒนาโครงการที่กาลังดาเนินการให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ตลอดจน
สนับสนุนให้โครงการที่เสร็จสิ้นแล้วได้นาผลไปดาเนินการส่งเสริม และเผยแพร่และการใช้ประโยชน์อย่าง
เหมาะสมต่อไป
ประโยชน์ของพลังงานทดแทน โดยในปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกพยายามศึกษาและค้นหาพลังงานทดแทนใน
รูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ และมีประสิทธิภาพดียิ่งกว่าพลังงานแบบเดิม
เพื่อช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ลดปัญหามลพิษและสิ่งแวดล้อมของโลก รวมทั้งช่วยประหยัดพลังงาน ดังนั้น
พลังงานทดแทนหรือพลังงานทางเลือก จึงเป็นพลังงานที่สามารถนามาใช้ทดแทนพลังงานแบบเดิมได้อย่างไม่
จากัด ทั้งยังหาได้จากธรรมชาติและสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ เพื่อช่วยลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน
รวมทั้งลดมลพิษอีกด้วย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เลือกพลังงานทดแทนที่จะนามาผลิต (ก๊าชชีวภาพ Biogas)
2.นาหัวข้อเสนอครูผู้สอน
3.ศึกษารวบรวมข้อมูล
4.จัดทารายงาน
5.นาเสนอครูผู้สอน
6.ปรับปรุงแก้ไข
5
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1 ) หาวัสดุสาหรับนามาเป็นวัตถุดิบสาหรับการหมักซึ่งหาได้ง่ายใกล้ ๆ บ้านเรา เช่น สิ่งปฎิกูลต่าง ๆ มูลสัตว์
เศษอาหาร หรือแม้กระทั่ง เศษใบหญ้าที่เพิ่งถูกตัด โดยวัสดุที่นามาหมักนี้เป็นสิ่งสาคัญที่สุดสาหรับการผลิตก๊าซ
ชีวภาพ
2) นาพืชจาพวกหัวบีช ข้าวโพด หรือพืชที่มีปริมาณแป้งและน้าตาลสูงมาใส่ในบ่อหมักด้วยเพื่อเป็นอาหารหลัก
สาหรับการเจริญเติบโตของพวกจุลินทรีย์ ซึ่งพวกจุลินทรีย์เหล่านี้มีหน้าที่สาคัญแปรรูปวัสดุที่นามาใส่ในบ่อหมัก
แปรรูปเป็นก๊าซชีวภาพด้วยกระบวนการหมักโดยปราศจากอากาศ (Anaerobic digestion)
3) เมื่อวัสดุที่เรานามาเริ่มเน่าเปื่อยโดยไม่สัมผัสอากาศจะเริ่มเปลี่ยนรูปเป็นก๊าซมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์
ด้วยพวกจุลินทรีย์ ซึ่งถังหมักนี้ควรทามาจากโลหะจาพวก สแตนเลส (Stainless steel) เพื่อป้องกันการกัด
กร่อนจากก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (hydrogen sulphide, H2S) แต่ก็สามารถใช้วัสดุทาจากเหล็กทาถังหมักได้
เช่นกัน ถึงอย่างไรก็ตามถังหมักดังกล่าวต้องทนอุณหภูมิประมาณ 55 องศาเซลเซียสซึ่งเป็นอุณหภูมิที่เหมาะสม
กับจุลินทรีย์ที่เราใช้ในกระบวนการได้
4) หลักกระบวนการหมักแบบไร้อากาศเสร็จสิ้นก็ทาการแยกก๊าซชีวภาพออกจากกากที่เหลือจากการหมักซึ่งเรา
สามารถนากากที่เหลือนี้ไปแปรรูปเป็นปุ๋ยชีวภาพได้ข้อดีของการนากากเหล่านี้มาทาปุ๋ยคือมีสารอาหารที่
เหมาะสมกับพืชสูง ส่วนก๊าซที่แยกออกมาจะถูกนาเก็บไว้ที่ส่วนบนของถังหมักหรือแยกออกมาจากถังเก็บก็ได้
ขึ้นอยู่ดับความสะดวกและลักษณะการใช้งาน
5) ก๊าซชีวภาพถูกนามาเป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการเทคโนโลยีผลิตไฟฟ้าและความร้อนร่วม (Combined Heat
and Power generation, CHP) ความร้อนที่ได้จากก๊าซชีวภาพนี้สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งให้ความร้อนและ
ผลิตไฟฟ้าในเครื่องปั่นไฟฟ้า ซึ่งบางครั้งก๊าซชีวภาพดังกล่าวจะผ่านการทาให้แห้งและสะอาดก่อนนาไปเผา เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพในการเผาไหม้และช่วยเพิ่มอายุการใช้งานของเครื่องปั่นไฟฟ้า
6) ไฟฟ้าที่ผลิตได้นั้นสามารถใช้เองภายในครัวเรือน หรือ หมู่บ้าน หรือบางครั้งสามารถส่งเข้าสายส่งไฟฟ้าหลัก
ได้ขึ้นอยู่กับกาลังการผลิตไฟฟ้าที่ได้ ส่วนความร้อนอาจนาไปใช้ประโยชน์ในหลายด้านเช่น อบแห้งไม้หรือ
ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เป็นต้น
งบประมาณ
1500
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน
1.ได้พลังงานทดแทนที่มีคุณภาพ
2.สามารถนาความรู้ถ่ายทอดได้
3.สามารถใช้ในชีวิตประจาวัน
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์โรวเรียนยุพราชวิทยาลัย
บ้านพักผู้จัดทา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน
http://www.dede.go.th
https://ienergyguru.com
th.wikipedia.org

More Related Content

What's hot

โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41Benz 'ExTreame
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41Benz 'ExTreame
 
2562 final-pai
2562 final-pai2562 final-pai
2562 final-paimrpainaty
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Ksm' Oom
 
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...Boontrakarn Silarak
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41Benz 'ExTreame
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8Ns-mooham Cnx
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)Thawanongpao
 
ใบงานที่2 8งานคอมเต๋า
ใบงานที่2 8งานคอมเต๋าใบงานที่2 8งานคอมเต๋า
ใบงานที่2 8งานคอมเต๋าKittichai Singzakorn
 

What's hot (13)

2560 project no.03,28
2560 project  no.03,282560 project  no.03,28
2560 project no.03,28
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
Comm
CommComm
Comm
 
Com
ComCom
Com
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
2562 final-pai
2562 final-pai2562 final-pai
2562 final-pai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
ใบงานที่2 8งานคอมเต๋า
ใบงานที่2 8งานคอมเต๋าใบงานที่2 8งานคอมเต๋า
ใบงานที่2 8งานคอมเต๋า
 

Similar to Alternative energy

การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27Chonlakan Kuntakalang
 
2561 project (6)
2561 project  (6)2561 project  (6)
2561 project (6)Aum Vanis
 
2561 project (6) (2)
2561 project  (6) (2)2561 project  (6) (2)
2561 project (6) (2)Aum Vanis
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Panpreeya Kawturn
 
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่งแบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่งJah Jadeite
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sorrawit Skuljareun
 

Similar to Alternative energy (20)

คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
605 43projectcom
605 43projectcom605 43projectcom
605 43projectcom
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
 
RUN FOR HEALTH
RUN FOR HEALTHRUN FOR HEALTH
RUN FOR HEALTH
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
2561 project-chichayu
2561 project-chichayu2561 project-chichayu
2561 project-chichayu
 
2561 project (6)
2561 project  (6)2561 project  (6)
2561 project (6)
 
2561 project (6) (2)
2561 project  (6) (2)2561 project  (6) (2)
2561 project (6) (2)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
อาหารคลีน
อาหารคลีนอาหารคลีน
อาหารคลีน
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่งแบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
Nattun 605 06
Nattun 605 06Nattun 605 06
Nattun 605 06
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
2560 project (4)
2560 project  (4)2560 project  (4)
2560 project (4)
 

More from Natthaphat Phumphuang (20)

Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
The fruit is delicious.
The fruit is delicious.The fruit is delicious.
The fruit is delicious.
 
Rt
RtRt
Rt
 
Pp
PpPp
Pp
 
Thanayut10 611
Thanayut10 611Thanayut10 611
Thanayut10 611
 
Thanayut10 611
Thanayut10 611Thanayut10 611
Thanayut10 611
 
Thanayut
ThanayutThanayut
Thanayut
 
Dddddd
DdddddDddddd
Dddddd
 
Thanayut
ThanayutThanayut
Thanayut
 
Singular
SingularSingular
Singular
 
Singular
SingularSingular
Singular
 
้้้project01
้้้project01้้้project01
้้้project01
 
77
7777
77
 
48532
4853248532
48532
 
2561 project -4
2561 project -42561 project -4
2561 project -4
 
Anu04
Anu04Anu04
Anu04
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work 1
Work 1Work 1
Work 1
 
S ura
S uraS ura
S ura
 
Chatchawan khamkhuna
Chatchawan khamkhunaChatchawan khamkhuna
Chatchawan khamkhuna
 

Alternative energy

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน พลังงานทดแทน (Alternative Energy) ชื่อผู้ทาโครงงาน นายชัชวาล คาคุณา ชั้น ม.6/11 เลขที่ 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ………. 3………………………………….. เลขที่……… คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) พลังงานทดแทน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Alternative Energy ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายชัชวาล คาคุณา ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน พลังงานที่มนุษย์ใช้ประโยชน์กันอยู่ทุกวันนี้นั้นพบว่ามีอัตราการใช้พลังงานเพิ่มสูงขึ้นราว ๆ 2 เท่าเมื่อเทียบกับ เมื่อ 30 ปีก่อน ในขณะที่น้ามันและก๊าซธรรมชาติที่มีสารองอยู่นั้นคาดว่าจะเพียงพอให้ใช้อยู่ได้อีกประมาณ 100 ปี ส่วนถ่านหินซึ่งใช้ในโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้านั้นคาดกันว่ามีสารองให้ใช้ได้อีกเพียง 500 ปีเท่านั้น แต่เมื่ออัตรา การใช้พลังงานเพิ่มขึ้นอย่างทวีคูณเช่นนี้ ไม่แน่ว่าปริมาณเชื้อเพลิงสารองอาจหมดไปก่อนเวลาที่ได้คาดการณ์ไว้ก็ เป็นได้ นี่จึงเป็นเหตุผลว่าทาไมเราจึงต้องมองหาแหล่งพลังงานทดแทนสารองไว้ใช้ สาเหตุสาคัญที่ทาให้การใช้พลังงานเพิ่มสูงขึ้นนั้นมาจากหลายสาเหตุด้วยกัน สาเหตุแรกก็คือการเพิ่มขึ้นของ ประชากรโลกซึ่ง ณ ปัจจุบันก็ยังคงมีอัตราการเพิ่มสูงขึ้นทุกปี สาเหตุที่สองก็คือความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะทางด้านคมนาคม มีการผลิตยานพาหนะมาเป็นจานวนมากโดยกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วเป้าหมายก็คือ กลุ่มประเทศกาลังพัฒนาที่ถือเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักเลยก็ว่าได้ ในขณะที่กลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วกลับเริ่มหัน กลับไปใช้การเดินทางด้วยการเดินหรือไม่ก็ปั่นจักรยานกันแล้ว นอกจากนั้นแล้วอุปกรณ์ต่าง ๆ นั้นมีผลทาให้ อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นความต้องการในการใช้เครื่องปรับอากาศก็สูงขึ้นตามไปด้วย อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดนั้น นอกจากจะอานวยความสะดวกให้มนุษย์แล้วยังแถมความร้อนมาให้ด้วย ยิ่งใช้โลกก็ยิ่งร้อน ยิ่งร้อนก็ยิ่งใช้วนไป มาเป็นวัฏจักรเพิ่มอุณหภูมิกันอยู่อย่างนี้แหละ สาเหตุที่สามก็คือพฤติกรรมการใช้พลังงานของมนุษย์ ถือเป็น ตัวการสาคัญที่ทาให้ทรัพยากรแทบทุกด้านลดน้อยลงอย่างทวีคูณเลย ผู้คนจานวนมากกว่าค่อนโลกไม่เห็น
  • 3. 3 ความสาคัญของการประหยัดพลังงานเนื่องจากคิดว่าเป็นเงินที่ตัวเองซื้อพลังงานนั้นมาแล้วก็ควรจะมีการใช้ พลังงานอย่างเต็มที่ โดยไม่ได้สนใจด้วยซ้าว่าพลังงานที่ใช้อยู่นั้นจะหมดสิ้นไปวันใด วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ 1.ต้องการให้ตระหนักถึงพลังงานที่มนุษย์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2.เพื่อเตรียมตัวสู่อนาคตในวันที่พลังงานต่างๆเริ่มลดน้อยลง 3.ปรับตัวให้สามารถใช้ชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.แสวงหาแหล่งพลังงานทดแทน 5.สามารถสร้างพลังงานทดแทนใช้เองได้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน 1.สืบค้นความรู้ 2.ใช้ระยะเวลาพอสมควร 3.งบประมาณในการผลิตพลังงานทดแทนบางประเภทค่อนข้างสูง 4.ระยะเวลาตลอดภาคเรียนที่ 2 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน พลังงานทดแทน โดยทั่วไปหมายถึงพลังงานที่ใช้ทดแทนพลังงานจากฟอสซิล เช่น ถ่านหิน, ปิโตรเลียม และ แก๊ส ธรรมชาติซึ่งปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มหาศาลอันเป็นสาเหตุโลกร้อน ตัวอย่างพลังงานทดแทนที่สาคัญเช่น พลังงานลม, พลังงานน้า, พลังงานแสงอาทิตย์, พลังงานน้าขึ้นน้าลง, พลังงานคลื่น, พลังงานความร้อนใต้พิภพ, เชื้อเพลิงชีวภาพ เป็นต้น ในปี 2555 ประเทศไทยใช้พลังงานทดแทนเพียง 18.2% ของพลังงานทั้งหมด เพิ่มขึ้น จากปีก่อนหน้า เพียง 1.8% โดยที่พลังงานแสงอาทิตย์ และเชื้อเพลิงชีวภาพ เพิ่มขึ้น 23% แต่พลังงานจาก ฟืน ถ่าน แกลบ และวัสดุเหลือใช้ทางเกษตร โดยนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงดั้งเดิม มีอัตราลดลง 10% (อาจเป็นเพราะ มวลชีวภาพดังกล่าวถูกแปรรูปไปเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพไปแล้ว) พลังงานทดแทนอีกประเภทหนึ่งเป็นพลังงานที่ถูกทาขึ้นใหม่ได้อย่างต่อเนื่อง (เช่นมวลของลมกลุ่มแรกผ่านกังหัน ลมไป มวลของลมกลุ่มใหม่ก็ตามมาอย่างต่อเนื่องเป็นต้น) เรียกว่า พลังงานหมุนเวียน (อังกฤษ: Renewal Energy) ได้แก่ แสงอาทิตย์ ลม น้า และไฮโดรเจน เป็นต้น (บางตาราว่า มวลชีวภาพ ก็เป็นพลังงานหมุนเวียน ขึ้นกับว่า มันทาขึ้นใหม่ได้อย่างต่อเนื่องหรือไม่) ตามแผนพัฒนาและส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน 15 ปี ระหว่าง 2555-2564 มีแผนที่จะให้มีการใช้พลังงาน ทดแทนเป็นสัดส่วน 20% ของพลังงานทั้งหมด การศึกษาและพัฒนาพลังงานทดแทนเป็นการศึกษา ค้นคว้า ทดสอบ พัฒนา และสาธิต ตลอดจนส่งเสริมและเผยแพร่พลังงานทดแทน ซึ่งเป็นพลังงานที่สะอาด ไม่มี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเป็นแหล่งพลังงานที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น พลังงานลม แสงอาทิตย์ ชีวมวล และอื่นๆ
  • 4. 4 เพื่อให้มีการผลิต และการใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย มีประสิทธิภาพ และมีความเหมาะสมทั้งทางด้านเทคนิค เศรษฐกิจ และสังคม สาหรับผู้ใช้ในเมือง และชนบท ซึ่งในการศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาพลังงานทดแทนดังกล่าว ยังรวมถึงการ พัฒนาเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์เพื่อการใช้งานมีประสิทธิภาพสูงสุดด้วย งานศึกษา และพัฒนาพลังงาน ทดแทน เป็นส่วนหนึ่งของแผนงานพัฒนาพลังงานทดแทน ซึ่งมีโครงการที่เกี่ยวข้องโดยตรงภายใต้แผนงานนี้คือ โครงการศึกษาวิจัยด้านพลังงาน และมีความเชื่อมโยงกับแผนงานพัฒนาชนบทในโครงการจัดตั้งระบบผลิตไฟฟ้า ประจุแบตเตอรี่ด้วยเซลล์แสงอาทิตย์สาหรับหมู่บ้านชนบทที่ไม่มีไฟฟ้า โดยงานศึกษา และพัฒนาพลังงาน ทดแทนจะเป็นงานประจาที่มีลักษณะการดาเนินงานของกิจกรรมต่างๆ ในเชิงกว้างเพื่อสนับสนุนการพัฒนา เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ทั้งในด้านวิชาการเชิงทฤษฎี และอุปกรณ์เครื่องมือทดลอง และการทดสอบ รวมถึง การส่งเสริมและเผยแพร่ ซึ่งจะเป็นการสนับสนุน และรองรับความพร้อมในการจัดตั้งโครงการใหม่ๆ ในโครงการ ศึกษาวิจัยด้านพลังงานและโครงการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การศึกษาค้นคว้าเบื้องต้น การติดตามความก้าวหน้า และร่วมมือประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาต้นแบบ ทดสอบ วิเคราะห์ และประเมินความ เหมาะสมเบื้องต้น และเป็นงานส่งเสริมการพัฒนาโครงการที่กาลังดาเนินการให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ตลอดจน สนับสนุนให้โครงการที่เสร็จสิ้นแล้วได้นาผลไปดาเนินการส่งเสริม และเผยแพร่และการใช้ประโยชน์อย่าง เหมาะสมต่อไป ประโยชน์ของพลังงานทดแทน โดยในปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกพยายามศึกษาและค้นหาพลังงานทดแทนใน รูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ และมีประสิทธิภาพดียิ่งกว่าพลังงานแบบเดิม เพื่อช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ลดปัญหามลพิษและสิ่งแวดล้อมของโลก รวมทั้งช่วยประหยัดพลังงาน ดังนั้น พลังงานทดแทนหรือพลังงานทางเลือก จึงเป็นพลังงานที่สามารถนามาใช้ทดแทนพลังงานแบบเดิมได้อย่างไม่ จากัด ทั้งยังหาได้จากธรรมชาติและสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ เพื่อช่วยลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน รวมทั้งลดมลพิษอีกด้วย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เลือกพลังงานทดแทนที่จะนามาผลิต (ก๊าชชีวภาพ Biogas) 2.นาหัวข้อเสนอครูผู้สอน 3.ศึกษารวบรวมข้อมูล 4.จัดทารายงาน 5.นาเสนอครูผู้สอน 6.ปรับปรุงแก้ไข
  • 5. 5 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1 ) หาวัสดุสาหรับนามาเป็นวัตถุดิบสาหรับการหมักซึ่งหาได้ง่ายใกล้ ๆ บ้านเรา เช่น สิ่งปฎิกูลต่าง ๆ มูลสัตว์ เศษอาหาร หรือแม้กระทั่ง เศษใบหญ้าที่เพิ่งถูกตัด โดยวัสดุที่นามาหมักนี้เป็นสิ่งสาคัญที่สุดสาหรับการผลิตก๊าซ ชีวภาพ 2) นาพืชจาพวกหัวบีช ข้าวโพด หรือพืชที่มีปริมาณแป้งและน้าตาลสูงมาใส่ในบ่อหมักด้วยเพื่อเป็นอาหารหลัก สาหรับการเจริญเติบโตของพวกจุลินทรีย์ ซึ่งพวกจุลินทรีย์เหล่านี้มีหน้าที่สาคัญแปรรูปวัสดุที่นามาใส่ในบ่อหมัก แปรรูปเป็นก๊าซชีวภาพด้วยกระบวนการหมักโดยปราศจากอากาศ (Anaerobic digestion) 3) เมื่อวัสดุที่เรานามาเริ่มเน่าเปื่อยโดยไม่สัมผัสอากาศจะเริ่มเปลี่ยนรูปเป็นก๊าซมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยพวกจุลินทรีย์ ซึ่งถังหมักนี้ควรทามาจากโลหะจาพวก สแตนเลส (Stainless steel) เพื่อป้องกันการกัด กร่อนจากก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (hydrogen sulphide, H2S) แต่ก็สามารถใช้วัสดุทาจากเหล็กทาถังหมักได้ เช่นกัน ถึงอย่างไรก็ตามถังหมักดังกล่าวต้องทนอุณหภูมิประมาณ 55 องศาเซลเซียสซึ่งเป็นอุณหภูมิที่เหมาะสม กับจุลินทรีย์ที่เราใช้ในกระบวนการได้ 4) หลักกระบวนการหมักแบบไร้อากาศเสร็จสิ้นก็ทาการแยกก๊าซชีวภาพออกจากกากที่เหลือจากการหมักซึ่งเรา สามารถนากากที่เหลือนี้ไปแปรรูปเป็นปุ๋ยชีวภาพได้ข้อดีของการนากากเหล่านี้มาทาปุ๋ยคือมีสารอาหารที่ เหมาะสมกับพืชสูง ส่วนก๊าซที่แยกออกมาจะถูกนาเก็บไว้ที่ส่วนบนของถังหมักหรือแยกออกมาจากถังเก็บก็ได้ ขึ้นอยู่ดับความสะดวกและลักษณะการใช้งาน 5) ก๊าซชีวภาพถูกนามาเป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการเทคโนโลยีผลิตไฟฟ้าและความร้อนร่วม (Combined Heat and Power generation, CHP) ความร้อนที่ได้จากก๊าซชีวภาพนี้สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งให้ความร้อนและ ผลิตไฟฟ้าในเครื่องปั่นไฟฟ้า ซึ่งบางครั้งก๊าซชีวภาพดังกล่าวจะผ่านการทาให้แห้งและสะอาดก่อนนาไปเผา เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการเผาไหม้และช่วยเพิ่มอายุการใช้งานของเครื่องปั่นไฟฟ้า 6) ไฟฟ้าที่ผลิตได้นั้นสามารถใช้เองภายในครัวเรือน หรือ หมู่บ้าน หรือบางครั้งสามารถส่งเข้าสายส่งไฟฟ้าหลัก ได้ขึ้นอยู่กับกาลังการผลิตไฟฟ้าที่ได้ ส่วนความร้อนอาจนาไปใช้ประโยชน์ในหลายด้านเช่น อบแห้งไม้หรือ ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เป็นต้น งบประมาณ 1500
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน 1.ได้พลังงานทดแทนที่มีคุณภาพ 2.สามารถนาความรู้ถ่ายทอดได้ 3.สามารถใช้ในชีวิตประจาวัน สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์โรวเรียนยุพราชวิทยาลัย บ้านพักผู้จัดทา กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน http://www.dede.go.th https://ienergyguru.com th.wikipedia.org