SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน การติดมือถืออาจทาให้เป็นโรคซึมเศร้า
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย อนุชา วงค์ชมภู เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1 นาย อนุชา วงค์ชมภู เลขที่ 4
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การติดมือถืออาจทาให้เป็นโรคซึมเศร้า
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Social addiction
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย อนุชา วงค์ชมภู
ระยะเวลาดาเนินงาน 1 ภาคเรียน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ทุกคนมีสมาร์ทโฟนติดตัวตลอดเวลา ใช้ติดต่อกับเพื่อนและคนรัก ใช้บันทึกช่วงเวลาสาคัญของชีวิต ใช้แก้เบื่อ
และทาให้เพลิดเพลิน ใช้ในการทางาน ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตเวลารู้สึกมืดแปดด้าน และยังมีประโยชน์
อื่นๆอีกที่คงจะพูดได้ไม่หมด สมาร์ทโฟนกลายเป็นสิ่งจาเป็นที่ขาดไม่ได้ไม่ว่าจะในวัฒนธรรมใดหรือชุมชนใด แต่
สมาร์ทโฟนก็ไม่ได้เป็นสิ่งที่ดีเสมอไป ในประเทศเกาหลีใต้มีงานวิจัยพบว่า มากกว่าร้อยละ 70 ของเด็กอายุราว 12 ปี
มีสมาร์ทโฟนเป็นของตนเอง และเด็กส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้ใช้เวลาอยู่กับมันมากกว่า 5 ชั่วโมงต่อวัน และร้อยละ 25 ของ
เด็กกลุ่มนี้ ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเสพติดสมาร์ทโฟน งานวิจัยอีกชิ้นหนึ่งก็ชี้ให้เห็นเช่นกันว่า ครึ่งหนึ่งของผู้ปกครอง
ยอมรับว่าลูกๆของพวกเขามีอาการเสพติดสมาร์ทโฟนและแท็ปเล็ต ไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ ทาไมถึงต้องมีสมาร์ท
โฟนติดตัวตลอด นิตยสารไทม์ได้ทาการวิจัย และพบว่าคนกว่าร้อยละ 74 ไม่สามารถอยู่ห่างมือถือได้เกิน 1 วัน โดย
ส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้สามารถอยู่ห่างมือถือได้เพียงไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น ผลจากงานวิจัยอื่นๆก็แสดงให้เห็นไปในทานอง
เดียวกันว่า คนจานวนร้อยละ 64 จะต้องคอยเช็คมือถือทุกๆชั่วโมง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อแก้ไขปัญหาการติดมือถือ
2.ลดการเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
บริเวณโรงเรียน บ้านและชุมชน
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การเสพติดสมาร์ทโฟนไม่ได้พบในกลุ่มวัยรุ่นเท่านั้น แต่ยังกระทบต่อสุขภาพจิตของผู้ใหญ่ได้ด้วย จากงานวิจัย
พบว่า ผู้ใหญ่มากกว่าร้อยละ 60 รู้สึกว่าการใช้สมาร์ทโฟนส่งผลกับความเชื่อมั่นในตนเอง ตัวอย่างเช่น พวกเขาจะรู้สึก
ดีเมื่อมีผลตอบรับทางบวกในโซเชี่ยลมีเดีย (ดูจากสมาร์ทโฟนของตนเอง) แต่ถ้าหากพวกเขาไม่ได้รับคาชม หรือผล
ตอบรับในทางที่ดี พวกเขาจะรู้สึกสูญเสียความมั่นใจ ผลกระทบทางสุขภาพจิตของผู้ที่ติดสมาร์ทโฟนเป็นหัวข้อที่ถูก
กล่าวถึงมาบ้างแล้ว และงานวิจัยหลายงานบ่งชี้ว่าการเสพติดสมาร์ทโฟนหรือเทคโนโลยีอย่างหนักนั้น เกี่ยวข้องกับ
ความวิตกกังวลและโรคซึมเศร้า แม้ว่าจะยังไม่มีการสรุปว่าการใช้สมาร์ทโฟนเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคซึมเศร้า นักวิจัย
จากโรงเรียนแพทย์มหาวิทยาลัย Northwestern Feinberg ในชิคาโก ได้พบความสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า
และระยะเวลาที่ใช้สมาร์ทโฟน นักวิจัยได้เฝ้าติดตามกลุ่มตัวอย่างเป็นเวลาสองสัปดาห์ โดยสังเกตจากการใช้โทรศัพท์
และข้อมูล GPS พบว่าระดับของอาการซึมเศร้าที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์กับปริมาณของเวลาที่ใช้สมาร์ทโฟน ยิ่งใช้เวลา
มากขึ้นเท่าไหร่ ระดับของอาการซึมเศร้าก็จะมากขึ้นเท่านั้น ค่าเฉลี่ยของระยะเวลาของผู้ที่ใช้สมาร์ทโฟนและมีอาการ
ซึมเศร้า คือ 68 นาทีต่อวัน เมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่ได้มีอาการซึมเศร้าแล้ว พวกเขาใช้เวลากับมือถือเพียงแค่ 17 นาทีต่อ
วันเท่านั้น โดยรวมแล้วพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนบ่งชี้ถึงอาการซึมเศร้าของแต่ละบุคคลมีความถูกต้องประมาณร้อย
ละ 87 ตามงานวิจัยดังกล่าว ใน Journal of Medical Internet Research ผลการสารวจของงานวิจัยอีกชิ้นหนึ่ง
พบว่านักเรียนที่มีปัญหาทางสุขภาพจิตอย่างโรคซึมเศร้า จะมีอาการของการเสพติดสมาร์ทโฟน และเด็กที่ติดสมาร์ท
โฟนก็มีสัญญาณของการเป็นโรคซึมเศร้าเช่นเดียวกัน จากแบบสอบถาม “ผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้าจะไม่สามารถควบคุม
อารมณ์และอาการต่างๆได้นาน” พบว่าปัจจัยทางสุขภาพที่ส่งผลต่อการเสพติดสมาร์ทโฟน คือความวิตกกังวล อาการ
เศร้าโศก และความพะวกพะวง
ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพจิตและแรงจูงใจที่ทาให้ใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไปยังคงมีการวิจัยและศึกษาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อหาสาเหตุที่ส่งผลต่อกันและกัน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์ มือถือ กระดาษ ปากกา ดินสอ
งบประมาณ
ไม่มี
4
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ดลการเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้าและลดการติดโซเชียล
สถานที่ดาเนินการ
โรเรียนและบ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สุขและพละศึกษา คอมพิวเตอร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://th.thecabinbangkok.co.th/blog-
th/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8
%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%
B9%8C%E0%B8%97%E0%B9%82%E0%B8%9F%E0%B8%99-
%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%
8B%E0%B8%B6%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8
%B2/

More Related Content

What's hot (20)

2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
 
มม
มมมม
มม
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Lin
LinLin
Lin
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
 
เต้นะไอสาส
เต้นะไอสาสเต้นะไอสาส
เต้นะไอสาส
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Chel
ChelChel
Chel
 
แบบโครงร่างโครงงาน
แบบโครงร่างโครงงานแบบโครงร่างโครงงาน
แบบโครงร่างโครงงาน
 
2560 project 20
2560 project 202560 project 20
2560 project 20
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Work1 polram 32
Work1 polram 32Work1 polram 32
Work1 polram 32
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa
 

Similar to ้้้project01 (20)

Singular
SingularSingular
Singular
 
Piyawatn 09 603
Piyawatn 09 603Piyawatn 09 603
Piyawatn 09 603
 
Singular
SingularSingular
Singular
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Baibai06
Baibai06Baibai06
Baibai06
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
Project com-31
Project com-31Project com-31
Project com-31
 
2561 project (6)
2561 project  (6)2561 project  (6)
2561 project (6)
 
602 project 41
602 project 41602 project 41
602 project 41
 
604 21
604 21604 21
604 21
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Thanayut10 611
Thanayut10 611Thanayut10 611
Thanayut10 611
 
Thanayut10 611
Thanayut10 611Thanayut10 611
Thanayut10 611
 
ภาคิน
ภาคิน ภาคิน
ภาคิน
 
โครงงานคอม2559 project
โครงงานคอม2559 project โครงงานคอม2559 project
โครงงานคอม2559 project
 
Thanayut
ThanayutThanayut
Thanayut
 
Thanayut
ThanayutThanayut
Thanayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
 

More from Natthaphat Phumphuang (15)

Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
The fruit is delicious.
The fruit is delicious.The fruit is delicious.
The fruit is delicious.
 
Rt
RtRt
Rt
 
Pp
PpPp
Pp
 
Dddddd
DdddddDddddd
Dddddd
 
77
7777
77
 
Alternative energy
Alternative energyAlternative energy
Alternative energy
 
48532
4853248532
48532
 
2561 project -4
2561 project -42561 project -4
2561 project -4
 
Anu04
Anu04Anu04
Anu04
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work 1
Work 1Work 1
Work 1
 
S ura
S uraS ura
S ura
 
Chatchawan khamkhuna
Chatchawan khamkhunaChatchawan khamkhuna
Chatchawan khamkhuna
 
Working for sky
Working for skyWorking for sky
Working for sky
 

้้้project01

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน การติดมือถืออาจทาให้เป็นโรคซึมเศร้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย อนุชา วงค์ชมภู เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง 11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1 นาย อนุชา วงค์ชมภู เลขที่ 4 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การติดมือถืออาจทาให้เป็นโรคซึมเศร้า ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Social addiction ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย อนุชา วงค์ชมภู ระยะเวลาดาเนินงาน 1 ภาคเรียน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ทุกคนมีสมาร์ทโฟนติดตัวตลอดเวลา ใช้ติดต่อกับเพื่อนและคนรัก ใช้บันทึกช่วงเวลาสาคัญของชีวิต ใช้แก้เบื่อ และทาให้เพลิดเพลิน ใช้ในการทางาน ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตเวลารู้สึกมืดแปดด้าน และยังมีประโยชน์ อื่นๆอีกที่คงจะพูดได้ไม่หมด สมาร์ทโฟนกลายเป็นสิ่งจาเป็นที่ขาดไม่ได้ไม่ว่าจะในวัฒนธรรมใดหรือชุมชนใด แต่ สมาร์ทโฟนก็ไม่ได้เป็นสิ่งที่ดีเสมอไป ในประเทศเกาหลีใต้มีงานวิจัยพบว่า มากกว่าร้อยละ 70 ของเด็กอายุราว 12 ปี มีสมาร์ทโฟนเป็นของตนเอง และเด็กส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้ใช้เวลาอยู่กับมันมากกว่า 5 ชั่วโมงต่อวัน และร้อยละ 25 ของ เด็กกลุ่มนี้ ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเสพติดสมาร์ทโฟน งานวิจัยอีกชิ้นหนึ่งก็ชี้ให้เห็นเช่นกันว่า ครึ่งหนึ่งของผู้ปกครอง ยอมรับว่าลูกๆของพวกเขามีอาการเสพติดสมาร์ทโฟนและแท็ปเล็ต ไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ ทาไมถึงต้องมีสมาร์ท โฟนติดตัวตลอด นิตยสารไทม์ได้ทาการวิจัย และพบว่าคนกว่าร้อยละ 74 ไม่สามารถอยู่ห่างมือถือได้เกิน 1 วัน โดย ส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้สามารถอยู่ห่างมือถือได้เพียงไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น ผลจากงานวิจัยอื่นๆก็แสดงให้เห็นไปในทานอง เดียวกันว่า คนจานวนร้อยละ 64 จะต้องคอยเช็คมือถือทุกๆชั่วโมง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อแก้ไขปัญหาการติดมือถือ 2.ลดการเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) บริเวณโรงเรียน บ้านและชุมชน
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การเสพติดสมาร์ทโฟนไม่ได้พบในกลุ่มวัยรุ่นเท่านั้น แต่ยังกระทบต่อสุขภาพจิตของผู้ใหญ่ได้ด้วย จากงานวิจัย พบว่า ผู้ใหญ่มากกว่าร้อยละ 60 รู้สึกว่าการใช้สมาร์ทโฟนส่งผลกับความเชื่อมั่นในตนเอง ตัวอย่างเช่น พวกเขาจะรู้สึก ดีเมื่อมีผลตอบรับทางบวกในโซเชี่ยลมีเดีย (ดูจากสมาร์ทโฟนของตนเอง) แต่ถ้าหากพวกเขาไม่ได้รับคาชม หรือผล ตอบรับในทางที่ดี พวกเขาจะรู้สึกสูญเสียความมั่นใจ ผลกระทบทางสุขภาพจิตของผู้ที่ติดสมาร์ทโฟนเป็นหัวข้อที่ถูก กล่าวถึงมาบ้างแล้ว และงานวิจัยหลายงานบ่งชี้ว่าการเสพติดสมาร์ทโฟนหรือเทคโนโลยีอย่างหนักนั้น เกี่ยวข้องกับ ความวิตกกังวลและโรคซึมเศร้า แม้ว่าจะยังไม่มีการสรุปว่าการใช้สมาร์ทโฟนเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคซึมเศร้า นักวิจัย จากโรงเรียนแพทย์มหาวิทยาลัย Northwestern Feinberg ในชิคาโก ได้พบความสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า และระยะเวลาที่ใช้สมาร์ทโฟน นักวิจัยได้เฝ้าติดตามกลุ่มตัวอย่างเป็นเวลาสองสัปดาห์ โดยสังเกตจากการใช้โทรศัพท์ และข้อมูล GPS พบว่าระดับของอาการซึมเศร้าที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์กับปริมาณของเวลาที่ใช้สมาร์ทโฟน ยิ่งใช้เวลา มากขึ้นเท่าไหร่ ระดับของอาการซึมเศร้าก็จะมากขึ้นเท่านั้น ค่าเฉลี่ยของระยะเวลาของผู้ที่ใช้สมาร์ทโฟนและมีอาการ ซึมเศร้า คือ 68 นาทีต่อวัน เมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่ได้มีอาการซึมเศร้าแล้ว พวกเขาใช้เวลากับมือถือเพียงแค่ 17 นาทีต่อ วันเท่านั้น โดยรวมแล้วพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนบ่งชี้ถึงอาการซึมเศร้าของแต่ละบุคคลมีความถูกต้องประมาณร้อย ละ 87 ตามงานวิจัยดังกล่าว ใน Journal of Medical Internet Research ผลการสารวจของงานวิจัยอีกชิ้นหนึ่ง พบว่านักเรียนที่มีปัญหาทางสุขภาพจิตอย่างโรคซึมเศร้า จะมีอาการของการเสพติดสมาร์ทโฟน และเด็กที่ติดสมาร์ท โฟนก็มีสัญญาณของการเป็นโรคซึมเศร้าเช่นเดียวกัน จากแบบสอบถาม “ผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้าจะไม่สามารถควบคุม อารมณ์และอาการต่างๆได้นาน” พบว่าปัจจัยทางสุขภาพที่ส่งผลต่อการเสพติดสมาร์ทโฟน คือความวิตกกังวล อาการ เศร้าโศก และความพะวกพะวง ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพจิตและแรงจูงใจที่ทาให้ใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไปยังคงมีการวิจัยและศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อหาสาเหตุที่ส่งผลต่อกันและกัน วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ มือถือ กระดาษ ปากกา ดินสอ งบประมาณ ไม่มี
  • 4. 4 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ดลการเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้าและลดการติดโซเชียล สถานที่ดาเนินการ โรเรียนและบ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สุขและพละศึกษา คอมพิวเตอร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://th.thecabinbangkok.co.th/blog- th/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8 %95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0% B9%8C%E0%B8%97%E0%B9%82%E0%B8%9F%E0%B8%99- %E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8% 8B%E0%B8%B6%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8 %B2/