SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน “เพื่อชีวิตที่ดีกว่า เรามาใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวมนัสยา จารุสิน เลขที่ 5 ชั้น ม.6/12
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวมนัสยา จารุสิน เลขที่ 5 ชั้น ม.6/12
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
เพื่อชีวิตที่ดีกว่า เรามาใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
For a better life, We used the sufficiency economy philosophy.
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวมนัสยา จารุสิน
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการ
ดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ดังนั้นเกิด
แนวคิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ให้เป็นแนวทางในการการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้
แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของ
นิยาม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ
"คุณธรรม" เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่
ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐาน
จิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐนักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความ
ซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความ
รอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ดังนั้นโครงงานนี้ ดิฉันจึงต้องการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
และนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทุกระดับที่กล่าวมา
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาความเป็นมาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. เพื่อให้ทราบถึงหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3. เพื่อทราบถึงปัจจัยที่ได้มีการเผยแพร่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาความเป็นมาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ทราบถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่
สามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่การใช้ชีวิตได้
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ประวัติความเป็นมาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการ
ดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ดังนั้นเกิด
แนวคิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ให้เป็นแนวทางในการการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้
แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของ
นิยาม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ
"คุณธรรม"
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับ
ครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ดังนั้นจะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่าง
ยิ่ง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้าง
พื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐนักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความ
รอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและ
ความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจน
ใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา ดังนั้นจึงมีการกาหนด
4
หลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นมา
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีหลักพิจารณาอยู่3 ส่วน ดังนี้
• กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ ควรจะเป็น
โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการ
มองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความ
มั่นคง และ ความยั่งยืน ของการพัฒนา
• คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ
โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
• คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย คุณลักษณะ ดังนี้
• ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียน
ตนเองและผู้อื่น เช่นการผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
• ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป
อย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
จากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
• การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง
ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
ในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้งความรู้
และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ
 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน
และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม
มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้คือ
การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
ความรู้และเทคโนโลยี
5
แนวทางการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงให้เหมาะสมมีแนวทางดังนี้
ระดับบุคคล
1. รู้จัก “พอ” ไม่เบียดเบียนผู้อื่น
2. พยายามพัฒนาทักษะ ความรู้ ความเข้มแข็งของตนเอง
3. ยึดทางสายกลาง พอใจกับชีวิตที่พอเพียง
ระดับชุมชน
1. รวมกลุ่ม ใช้ภูมิป๎ญญาของชุมชน
2. เอื้อเฟื้อกัน
3. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ
ระดับประเทศ
1. ชุมชนร่วมมือกัน
2. วางระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง
3. พัฒนาเศรษฐกิจแบบค่อยเป็นค่อยไป
4. เติบโตจากข้างใน
แนวทางการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีดังนี้
ยึดหลักสามพอ พออยู่พอกิน พอใช้ประหยัด ประกอบอาชีพสุจริต เน้นหาข้าวหาปลาก่อนหาเงินหา
ทอง ทามาหากินก่อน ทามาค้าขาย ใช้ภูมิป๎ญญาพื้นบ้าน ที่ดิน คืนทุนสังคม ตั้งสติมั่นคง ท างานอย่างรู้ตัวไม่
ประมาท ใช้ปัญญาใช้ความรู้แท้รักษาสุขภาพให้แข็งแรงทั้งกายและใจ แนวทางการประกอบอาชีพตามหลัก
6
เศรษฐกิจพอเพียง ทางานอย่างผู้รู้ ใช้ปัญญาทางานอย่างมืออาชีพ อดทนมุ่งมั่น ยึดธรรมะและความถูกต้อง อ่อน
น้อมถ่อมตน เรียบง่าย ประหยัด มุ่งประโยชน์ของคนส่วนใหญ่เป็นสาคัญ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ตั้งใจ
ขยันหมั่นเพียร สุจริต กตัญญู พึ่งตนเอง ส่งเสริมคนดี และคนเก่ง รักประชาชน (ผู้รับบริการ)
เอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน
สรุปได้ว่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความสาคัญอย่างมากในการพัฒนาคน ทั้งการ
พัฒนาระดับบุคคล ระดับชุมชน และระดับประเทศชาติ โดยยึดหลัก 3 ห่วง คือ ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว และ 2 เงื่อนไข คือ เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรม ซึ่งถ้า
นาไปปฏิบัติอย่างจริงจังแล้วทุกคนในชาติหรือในระดับโลกจะเป็นบุคคลที่มีจิตสาธารณะที่มองเห็น
ประโยชน์ต่อส่วนรวมเป็นที่ตั้ง และจะนามาซึ่งความสงบสุขของคนในสังคมได้
การนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ควรอยู่แบบเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง ดังนี้
1.พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอที่จะมีไว้กินเองในครัวเรือน
แบ่งให้เพื่อนบ้านบ้าง เหลือจึงขายไป
2.พออยู่พอใช้ทาให้บ้านน่าอยู่ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ของที่เป็นธรรมชาติ รายจ่ายลดลง สุขภาพ
จะดีขึ้น (ประหยัดค่ารักษาพยาบาล) เน้นเกี่ยวกับเรื่องไฟฟ้าและน้าประปา ให้พวกเราช่วยกันประหยัด ไม่ว่าจะอยู่ที่
บ้านหรือโรงเรียน ก็ควรปิดน้า ปิดไฟ เมื่อเลิกใช้งานทุกครั้ง
3.พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ ชีวิต
โดยจะอยู่ในกิจกรรม “ออมวันนี้ เศรษฐีวันหน้า”
4.เมื่อมีรายได้แต่ละเดือน จะแบ่งไว้ใช้จ่าย 3 ส่วน เป็นค่าน้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ค่าจิปาถะ ที่ใช้ในครัวเรือน
รวมทั้งค่าเสื้อผ้า เครื่องใช้บางอย่างที่ชารุด เป็นต้น
5.ยึดความประหยัด ตัดทอนรายจ่ายในทุกๆ วันที่ไม่จาเป็น ลดละความฟุ่มเฟือย
การปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
 ยึดหลัก พออยู่พอกิน พอใช้
 ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุ่มเฟือย ในการดารงชีพ
 ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุจริต
 ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ในการค้าขาย ประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง
 มุ่งเน้นหาข้าวหาปลา ก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง
 ทามาหากินก่อนทามาค้าขาย
 ภูมิปัญญาชาวบ้านและที่ดินทากิน คือทุนทางสังคม
7
 ตั้งสติที่มั่นคง ร่างกายที่แข็งแรงปัญญาที่เฉียบแหลม
ข้อเสนอแนะ
เศรษฐกิจพอเพียงจะดาเนินไปได้ดี ด้วยการ ประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนปฏิบัติตาม ที่ขอให้อย่าลืมที่จะปฏิบัติใน
เรื่อง ความขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์อดทน ปฏิบัติตนเป็นคนดี ดาเนินชีวิตแบบเรียบง่ายให้พอเพียง พอกิน และพอใช้
โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ถึงเวลาแล้วที่พวกเราทุกคนควรร่วมมือ ร่วมใจ กันปฏิบัติตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง
ตั้งแต่ยังเด็ก แล้วจะติดเป็นนิสัยความพอเพียงไปตลอดชีวิต สามารถนาไปพัฒนาตน พัฒนาประเทศชาติให้เจริญ
ก้าวหน้า เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ เป็นคนดีของสังคม
การประยุกต์ปลูกฝังใช้เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน
เริ่มต้นจากการเสริมสร้างคนให้มีการเรียนรู้ วิชาการและทักษะต่างๆ ที่จาเป็น เพื่อให้สามารถรู้เท่าทัน
การเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ พร้อมทั้งเสริมสร้างคุณธรรม จนมีความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าของการอยู่
ร่วมกันของคนในสังคม และอยู่ร่วมกับระบบนิเวศน์วิทยาอย่างสมดุล เพื่อจะได้มีความเกรงกลัวและละอายต่อการ
ประพฤติผิดมิชอบ ไม่ตระหนี่ เป็นผู้ให้ เกื้อกูล แบ่งปัน มีสติยั้งคิดพิจารณาอย่างรอบคอบ ก่อนที่จะตัดสินใจ หรือ
กระทาการใดๆ จนกระทั่งเกิดเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีในการดารงชีวิต โดยสามารถคิดและกระทาบนพื้นฐานของความมี
เหตุมีผล พอเหมาะ พอประมาณกับสถานภาพ บทบาทและหน้าที่ของแต่ละบุคคล ในแต่ละสถานการณ์ แล้วเพียร
ฝึกปฏิบัติเช่นนี้ จนตนสามารถทาตนให้เป็นพึ่งของตนเองได้และเป็นที่พึ่งของผู้อื่นได้ในที่สุด
เศรษฐกิจพื้นฐาน ประกอบด้วยลักษณะสาคัญคือ
• เป็นเศรษฐกิจ ของคนทั้งมวล
• มีชุมชนที่เข้มแข็งเป็นพื้นฐานของเศรษฐกิจ
• มีความเป็นบูรณาการเข้มแข็งไปพร้อม ๆ กันหมด ทั้งเรื่องเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และ วัฒนธรรม
• เติบโตบนพื้นฐานที่เข้มแข็งของเราเอง เช่น ด้านเกษตร หัตถกรรม อุตสาหกรรม สมุนไพร อาหาร การท่องเที่ยว
เป็นต้น
• มีการจัดการที่ดีเป็นพื้นฐาน ส่งเสริมการเกิดนวัตกรรมต่าง ๆ ให้สามารถนามาใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาประเทศตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาประเทศ มิได้มีแบบอย่างตายตัวตามตารา หากแต่ต้องเป็นไปตามสภาพภูมิประเทศทาง
ภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา วัฒนธรรมชุมชน ที่มีความหลากหลาย ในขณะเดียวกันเราก็ต้องเข้าใจในการเปลี่ยนแปลง
ของสังคมโลกที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วตามอิทธิพลของกระแสโลกาภิวัฒน์ ควบคู่ไปกับการพยายามหาแนวทางหรือ
วิธีการที่จะดารงชีวิตตามหลักการพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ให้ดาเนินไปได้อย่างสมดุลและสอดคล้องกับ
8
สภาพแวดล้อมในยุคโลกาภิวัฒน์ โดยอาศัยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นตัวสร้างภูมิคุ้มกันต่อผลกระทบที่ชุมชน
อาจจะได้รับ ไม่ให้กระแสเหล่านั้นมาทาลายเอกลักษณ์และวัฒนธรรมชุมชนจนต้องล่มสลายไป
จากแนวพระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียง
เป็นแนวทางที่ให้ประชาชนดาเนินตามวิถีแห่งการดารงชีพ ที่สมบูรณ์ ศานติสุข โดยมีธรรมะเป็นเครื่องกากับ และ
ใจตนเป็นที่สาคัญ ซึ่งก็คือ วิถีชีวิตไทย ที่ยึดเส้นทางสายกลางของความพอดี ในหลักของการพึ่งพาตนเอง
5 ประการ คือ
• ความพอดีด้านจิตใจ : เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้มีจิตสานึกที่ดี เอื้ออาทร ประณีประนอม คานึงถึงผลประโยชน์
ส่วนรวม
• ความพอดีด้านสังคม : มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน รู้จักผนึกกาลัง และที่สาคัญมี
กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดจากฐานรากที่มั่นคงและแข็งแรง
• ความพอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ เพื่อให้เกิดความ
ยั่งยืนสูงสุด ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศ เพื่อพัฒนาประเทศให้มั่นคงเป็นขั้นเป็นตอนไป
• ความพอดีด้านเทคโนโลยี: รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับความต้องการและควรพัฒนา
เทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านของเราเอง และสอดคล้องเป็นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมของเราเอง
• ความพอดีด้านเศรษฐกิจ : เพิ่มรายได้ลดรายจ่าย ดารงชีวิตอย่างพอสมควร พออยู่พอกินตามอัตภาพ และฐานะ
ของตนเอง
จะเห็นได้ว่าการพัฒนาเริ่มจาก การสร้างพื้นฐาน ความพอกินพอใช้ของประชาชนในชาติเป็นส่วนใหญ่ก่อน แล้ว
จึงค่อยเสริมสร้างความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจ . ตามลาดับ เพื่อจะได้เกิดสมดุลทางด้านต่าง ๆ หรือ เป็นการ
ดาเนินการไปอย่างเป็นขั้นเป็นตอน จากระดับหนึ่งไปสู่อีกระดับหนึ่ง โดยสร้างความพร้อมทางด้านต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม ที่ไม่ใช่เป็นการ “ ก้าวกระโดด ” ที่ต้องใช้ปัจจัยภายนอกต่าง ๆ มาเป็นตัวกระตุ้น เพียงเพื่อให้เกิดความ
ทันกันในชั่วขณะหนึ่ง
ทฤษฎีใหม่กับเศรษฐกิจพอเพียง
ที่มาแห่งพระราชดาริ "ทฤษฎีใหม่"
9
หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จเยี่ยมราษฎรที่บ้านกุดตอแก่น ต.กุดสินคุ้มใหญ่ อ.เขาวง จ.
กาฬสินธุ์เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2535 ได้ทรงเห็นสภาพความยากลาบากของราษฎรในการทาการเกษตรในพื้นที่
อาศัยน้าฝน (ปลูกข้าวได้ประมาณ 1 ถัง / 1 ไร่) เพาะปลูกได้ปีละครั้งในช่วงฤดูฝนเท่านั้น มีความเสี่ยงในการ
เสียหายจากความปรวนแปรของดินฟ้าอากาศ และฝนทิ้งช่วง ซึ่งสภาพดังกล่าวคงเป็นสภาพปัญหาของเกษตรกร
ส่วนใหญ่ของประเทศ แม้ว่าจะมีการขุดบ่อน้าไว้บ้างก็มีขนาดไม่แน่นอน น้าใช้ยังไม่พอเพียง รวมทั้งระบบการ
ปลูกพืชไม่มีหลักเกณฑ์และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จึงทรงศึกษา
รวบรวมข้อมูลนามาวิเคราะห์และได้พระราชทานพระราชดาริ เพื่อให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤติการขาดแคลน
น้าได้โดยไม่เดือดร้อนและยากลาบากนัก พระราชดารินี้ ทรงเรียกว่า "ทฤษฎีใหม่" อันเป็นแนวทางการจัดการที่ดิน
และน้าเพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยทรงทดลองเป็นแห่งแรกที่วัดมงคลชัยพัฒนา
ตาบลห้วยบง อาเภอเมือง จังหวัดสระบุรี
เหตุที่เรียกว่า "ทฤษฎีใหม่"
- มีการจัดแบ่งที่ดินออกเป็นสัดส่วนที่ชัดเจน เพื่อประโยชน์สูงสุดของเกษตรกรรายย่อยเนื้อที่ที่ถือครอง
ขนาดเล็ก ซึ่งไม่เคยมีใครคิดมาก่อน
- มีการคานวณปริมาณน้ากักเก็บให้เพียงพอในการเพาะปลูกตลอดปีโดยหลักวิชาการ
- มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบ ให้แบ่งพื้นที่ซึ่งโดยเฉลี่ยแล้วเกษตรกรไทยมีเนื้อที่ถือครองประมาณ 10 -
15 ไร่ ต่อครอบครัว และแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ (1) แหล่งน้า (2) นาข้าว (3) พืชผสมผสาน (4) ที่อยู่โครงสร้าง
พื้นฐานในอัตราส่วนร้อยละ 30:30:30:10 ตามลาดับ โดยมี 3 ชั้น ๆ
ส่วนแรก ร้อยละ 30 ให้ขุดสระกักเก็บน้าในฤดูฝนไว้เพาะปลูกและใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้งได้
ตลอดปี ทั้งยังใช้เลี้ยงปลาและปลูกพืชน้า พืชริมสระเพื่อบริโภคและเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวอีกทางหนึ่งด้วย
โดยพระราชทานแนวทางการคานวณว่าต้องมีน้า 1,000 ลูกบาศก์เมตรต่อการเพาะปลูก 1 ไร่ โดยประมาณ และบน
สระน้าอาจสร้างเล้าไก่ เล้าหมูได้ด้วย
10
ส่วนที่สอง ร้อยละ 30 ให้ทานาข้าว เนื่องจากคนไทยบริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก โดยมีเกณฑ์เฉลี่ยเกษตรกรบริโภค
ข้าวคนละ 200 กิโลกรัมข้าวเปลือกต่อปี เกษตรกรมีครอบครัวละ 3 - 4 คน ดังนั้น ควรปลูกข้าว 5 ไร่ ผลผลิต
ประมาณไร่ละ 30 ถัง ซึ่งเพียงพอต่อการบริโภคตลอดปี เพื่อยึดหลักพึ่งตนเองได้อย่างมีอิสรภาพ
ส่วนที่สาม ร้อยละ 30 ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ไม้ใช้สอย ไม้ทาเชื้อเพลิง ไม่สร้างบ้าน พืชผัก พืชไร่
พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อการบริโภคและใช้สอยอย่างพอเพียง หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่ายเป็นรายได้ต่อไป
ส่วนที่สี่ ร้อยละ 10 เป็นที่อยู่อาศัย และอื่น ๆ เช่น ถนน คันดิน ลานตาก กองปุ๋ ยหมัก โรงเพาะเห็ด
พืชผักสวนครัว เป็นต้น
ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า
หลักการที่ได้กล่าวมาแล้วทั้งหมดเป็นทฤษฎีขั้นที่หนึ่งเท่านั้น เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ลง
มือปฏิบัติตามขั้นที่หนึ่งในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว เกษตรกรก็จะสามารถพัฒนาตนเองไปสู่ขั้นพออยู่พอกิน และ
ตัดค่าใช้จ่ายลงเกือบทั้งหมด มีอิสระจากสภาพปัจจัยภายนอกแล้ว และเพื่อให้มีผลสมบูรณ์ยิ่งขึ้น จึงควรที่จะต้อง
ดาเนินการตามขั้นที่สอง และขั้นที่สาม ต่อไปตามลาดับ ดังนี้
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง
เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง คือ ให้
เกษตรกรรวมพลังในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจกัน ดาเนินการใน
ด้านการผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
11
- เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิตโดยเริ่มตั้งแต่ขั้นเตรียมดินการหาพันธุ์พืช ปุ๋ ย การจัดหาน้า และ
อื่น ๆ เพื่อการเพาะปลูก
การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจาหน่ายผลผลิต)
- เมื่อมีผลผลิตแล้วจะต้องเตรียมการต่าง ๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียม
ลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหาเครื่องสีข้าว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ได้ราคาดี
และลดค่าใช้จ่ายลงด้วย
การเป็นอยู่(กะปิ น้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ)
- ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิต เช่น
อาหาร การกินต่าง ๆ กะปิ น้าปลา เสื้อผ้า ที่พอเพียง
สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้)
- แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริหารที่จาเป็น เช่น มีสถานีอนามัยเมื่อยามป่วยไข้หรือมีกองทุน
ไว้กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน
การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา)
- ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่าเรียนให้แก่เยาวชนของ
ชุมชนเอง
สังคมและศาสนา
- ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวกิจกรรมทั้งหมด
ดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องไม่ว่าส่วนราชการองค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิก
ในชุมชนนั้นเป็นสาคัญ
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม
เมื่อดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สาม
ต่อไป คือ ติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการ
ลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะได้รับประโยชน์ร่วมกัน
กล่าวคือ
12
- เกษตรกรขายข้าวในราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา)
- ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่า
- เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคในราคาต่า เพราะรวมกันซื้อเป็นจานวนมาก
- ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดาเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิดผลดี
ยิ่งขึ้น
ประโยชน์ของทฤษฎีใหม่
จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ได้พระราชทานในโอกาสต่าง ๆ นั้น พอจะสรุป
ถึงประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ ได้ดังนี้
- ให้ประชาชนพออยู่พอกินสมควรแก่อัตภาพในระดับที่ประหยัด ไม่อดอยากและเลี้ยงตนเองได้ตาม
หลักปรัชญาของ "เศรษฐกิจพอเพียง"
- ในหน้าแล้งมีน้าน้อย ก็สามารถเอาน้าที่เก็บไว้ในสระมาปลูกพืชผักต่าง ๆ ที่ใช้น้าน้อยได้โดยไม่ต้อง
เบียดเบียนชลประทาน
- ในปีที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน้าตลอดปี ทฤษฎีใหม่นี้ก็สามารถสร้างรายได้ให้ร่ารวยขึ้นได้
- ในกรณีที่เกิดอุทกภัยก็สามารถจะฟื้นตัว และช่วยตัวเองได้ในระดับหนึ่ง โดยทางราชการไม่ต้อง
ช่วยเหลือมากเกินไป เป็นการประหยัดงบประมาณด้วย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากสื่อต่างๆ และหนังสือที่เกี่ยวข้อง
2. สอบถามผู้ที่นาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. อินเตอร์เน็ต
2. หนังสือ
3. ผู้มีความรู้เฉพาะด้าน
13
งบประมาณ
ไม่เกิน 400 บาท ประมาณจากการลงพื้นที่สารวจและศึกษาข้อมูล
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน / มนัสยา
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
/ มนัสยา
3 จัดทาโครงร่างงาน / มนัสยา
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. สามารถนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
2. ผู้ที่สนใจได้ทราบเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
สถานที่ดาเนินการ
1. บ้านผู้จัดทา
2. แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
3. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
14
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
แนวทางการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง. เข้าถึงได้จาก
https://www.facebook.com/permalink.php?id=246686582120563&story_fbid=315168008605753
ประวัติความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง. เข้าถึงได้จาก
http://www.eto.ku.ac.th/s-e/mean-th.html
ทฤษฎีใหม่กับเศรษฐกิจพอเพียง. เข้าถึงได้จาก
http://www.fpo.go.th/S-I/Source/Article/Article40.htm
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. เข้าถึงได้จาก
http://www.eto.ku.ac.th/s-e/main-th.html

More Related Content

Similar to ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสPreeyaporn Wannamanee
 
งานนนนน
งานนนนนงานนนนน
งานนนนนachirayaRchi
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานsirinya55555
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานsirinya55555
 
2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610guntjetnipat
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วdaranpornkotkaew
 
2559 project3334
2559 project33342559 project3334
2559 project3334Sita_buf
 
กาแฟดีต่อสุขภาพ
กาแฟดีต่อสุขภาพ กาแฟดีต่อสุขภาพ
กาแฟดีต่อสุขภาพ Ploy Jutamas
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610patittaoumm
 

Similar to ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
งานนนนน
งานนนนนงานนนนน
งานนนนน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
 
2561 project 14
2561 project  142561 project  14
2561 project 14
 
2559 project3334
2559 project33342559 project3334
2559 project3334
 
กาแฟดีต่อสุขภาพ
กาแฟดีต่อสุขภาพ กาแฟดีต่อสุขภาพ
กาแฟดีต่อสุขภาพ
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
2561 project 14 607
2561 project  14 6072561 project  14 607
2561 project 14 607
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
 

ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน “เพื่อชีวิตที่ดีกว่า เรามาใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวมนัสยา จารุสิน เลขที่ 5 ชั้น ม.6/12 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวมนัสยา จารุสิน เลขที่ 5 ชั้น ม.6/12 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) เพื่อชีวิตที่ดีกว่า เรามาใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) For a better life, We used the sufficiency economy philosophy. ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวมนัสยา จารุสิน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการ ดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ดังนั้นเกิด แนวคิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ให้เป็นแนวทางในการการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้ แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของ นิยาม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม" เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐาน จิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐนักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความ ซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความ รอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ดังนั้นโครงงานนี้ ดิฉันจึงต้องการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม และนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทุกระดับที่กล่าวมา
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาความเป็นมาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. เพื่อให้ทราบถึงหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. เพื่อทราบถึงปัจจัยที่ได้มีการเผยแพร่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาความเป็นมาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ทราบถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ สามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่การใช้ชีวิตได้ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ประวัติความเป็นมาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการ ดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ดังนั้นเกิด แนวคิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ให้เป็นแนวทางในการการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้ แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของ นิยาม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม" เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ดังนั้นจะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่าง ยิ่ง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้าง พื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐนักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความ รอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและ ความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจน ใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา ดังนั้นจึงมีการกาหนด
  • 4. 4 หลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นมา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่3 ส่วน ดังนี้ • กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการ มองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความ มั่นคง และ ความยั่งยืน ของการพัฒนา • คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน • คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย คุณลักษณะ ดังนี้ • ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อื่น เช่นการผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ • ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป อย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ • การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ  เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ  เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี
  • 5. 5 แนวทางการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงให้เหมาะสมมีแนวทางดังนี้ ระดับบุคคล 1. รู้จัก “พอ” ไม่เบียดเบียนผู้อื่น 2. พยายามพัฒนาทักษะ ความรู้ ความเข้มแข็งของตนเอง 3. ยึดทางสายกลาง พอใจกับชีวิตที่พอเพียง ระดับชุมชน 1. รวมกลุ่ม ใช้ภูมิป๎ญญาของชุมชน 2. เอื้อเฟื้อกัน 3. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ ระดับประเทศ 1. ชุมชนร่วมมือกัน 2. วางระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง 3. พัฒนาเศรษฐกิจแบบค่อยเป็นค่อยไป 4. เติบโตจากข้างใน แนวทางการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีดังนี้ ยึดหลักสามพอ พออยู่พอกิน พอใช้ประหยัด ประกอบอาชีพสุจริต เน้นหาข้าวหาปลาก่อนหาเงินหา ทอง ทามาหากินก่อน ทามาค้าขาย ใช้ภูมิป๎ญญาพื้นบ้าน ที่ดิน คืนทุนสังคม ตั้งสติมั่นคง ท างานอย่างรู้ตัวไม่ ประมาท ใช้ปัญญาใช้ความรู้แท้รักษาสุขภาพให้แข็งแรงทั้งกายและใจ แนวทางการประกอบอาชีพตามหลัก
  • 6. 6 เศรษฐกิจพอเพียง ทางานอย่างผู้รู้ ใช้ปัญญาทางานอย่างมืออาชีพ อดทนมุ่งมั่น ยึดธรรมะและความถูกต้อง อ่อน น้อมถ่อมตน เรียบง่าย ประหยัด มุ่งประโยชน์ของคนส่วนใหญ่เป็นสาคัญ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ตั้งใจ ขยันหมั่นเพียร สุจริต กตัญญู พึ่งตนเอง ส่งเสริมคนดี และคนเก่ง รักประชาชน (ผู้รับบริการ) เอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน สรุปได้ว่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความสาคัญอย่างมากในการพัฒนาคน ทั้งการ พัฒนาระดับบุคคล ระดับชุมชน และระดับประเทศชาติ โดยยึดหลัก 3 ห่วง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว และ 2 เงื่อนไข คือ เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรม ซึ่งถ้า นาไปปฏิบัติอย่างจริงจังแล้วทุกคนในชาติหรือในระดับโลกจะเป็นบุคคลที่มีจิตสาธารณะที่มองเห็น ประโยชน์ต่อส่วนรวมเป็นที่ตั้ง และจะนามาซึ่งความสงบสุขของคนในสังคมได้ การนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ควรอยู่แบบเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง ดังนี้ 1.พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอที่จะมีไว้กินเองในครัวเรือน แบ่งให้เพื่อนบ้านบ้าง เหลือจึงขายไป 2.พออยู่พอใช้ทาให้บ้านน่าอยู่ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ของที่เป็นธรรมชาติ รายจ่ายลดลง สุขภาพ จะดีขึ้น (ประหยัดค่ารักษาพยาบาล) เน้นเกี่ยวกับเรื่องไฟฟ้าและน้าประปา ให้พวกเราช่วยกันประหยัด ไม่ว่าจะอยู่ที่ บ้านหรือโรงเรียน ก็ควรปิดน้า ปิดไฟ เมื่อเลิกใช้งานทุกครั้ง 3.พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ ชีวิต โดยจะอยู่ในกิจกรรม “ออมวันนี้ เศรษฐีวันหน้า” 4.เมื่อมีรายได้แต่ละเดือน จะแบ่งไว้ใช้จ่าย 3 ส่วน เป็นค่าน้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ค่าจิปาถะ ที่ใช้ในครัวเรือน รวมทั้งค่าเสื้อผ้า เครื่องใช้บางอย่างที่ชารุด เป็นต้น 5.ยึดความประหยัด ตัดทอนรายจ่ายในทุกๆ วันที่ไม่จาเป็น ลดละความฟุ่มเฟือย การปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง  ยึดหลัก พออยู่พอกิน พอใช้  ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุ่มเฟือย ในการดารงชีพ  ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุจริต  ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ในการค้าขาย ประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง  มุ่งเน้นหาข้าวหาปลา ก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง  ทามาหากินก่อนทามาค้าขาย  ภูมิปัญญาชาวบ้านและที่ดินทากิน คือทุนทางสังคม
  • 7. 7  ตั้งสติที่มั่นคง ร่างกายที่แข็งแรงปัญญาที่เฉียบแหลม ข้อเสนอแนะ เศรษฐกิจพอเพียงจะดาเนินไปได้ดี ด้วยการ ประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนปฏิบัติตาม ที่ขอให้อย่าลืมที่จะปฏิบัติใน เรื่อง ความขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์อดทน ปฏิบัติตนเป็นคนดี ดาเนินชีวิตแบบเรียบง่ายให้พอเพียง พอกิน และพอใช้ โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ถึงเวลาแล้วที่พวกเราทุกคนควรร่วมมือ ร่วมใจ กันปฏิบัติตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง ตั้งแต่ยังเด็ก แล้วจะติดเป็นนิสัยความพอเพียงไปตลอดชีวิต สามารถนาไปพัฒนาตน พัฒนาประเทศชาติให้เจริญ ก้าวหน้า เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ เป็นคนดีของสังคม การประยุกต์ปลูกฝังใช้เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน เริ่มต้นจากการเสริมสร้างคนให้มีการเรียนรู้ วิชาการและทักษะต่างๆ ที่จาเป็น เพื่อให้สามารถรู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ พร้อมทั้งเสริมสร้างคุณธรรม จนมีความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าของการอยู่ ร่วมกันของคนในสังคม และอยู่ร่วมกับระบบนิเวศน์วิทยาอย่างสมดุล เพื่อจะได้มีความเกรงกลัวและละอายต่อการ ประพฤติผิดมิชอบ ไม่ตระหนี่ เป็นผู้ให้ เกื้อกูล แบ่งปัน มีสติยั้งคิดพิจารณาอย่างรอบคอบ ก่อนที่จะตัดสินใจ หรือ กระทาการใดๆ จนกระทั่งเกิดเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีในการดารงชีวิต โดยสามารถคิดและกระทาบนพื้นฐานของความมี เหตุมีผล พอเหมาะ พอประมาณกับสถานภาพ บทบาทและหน้าที่ของแต่ละบุคคล ในแต่ละสถานการณ์ แล้วเพียร ฝึกปฏิบัติเช่นนี้ จนตนสามารถทาตนให้เป็นพึ่งของตนเองได้และเป็นที่พึ่งของผู้อื่นได้ในที่สุด เศรษฐกิจพื้นฐาน ประกอบด้วยลักษณะสาคัญคือ • เป็นเศรษฐกิจ ของคนทั้งมวล • มีชุมชนที่เข้มแข็งเป็นพื้นฐานของเศรษฐกิจ • มีความเป็นบูรณาการเข้มแข็งไปพร้อม ๆ กันหมด ทั้งเรื่องเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และ วัฒนธรรม • เติบโตบนพื้นฐานที่เข้มแข็งของเราเอง เช่น ด้านเกษตร หัตถกรรม อุตสาหกรรม สมุนไพร อาหาร การท่องเที่ยว เป็นต้น • มีการจัดการที่ดีเป็นพื้นฐาน ส่งเสริมการเกิดนวัตกรรมต่าง ๆ ให้สามารถนามาใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง การพัฒนาประเทศตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาประเทศ มิได้มีแบบอย่างตายตัวตามตารา หากแต่ต้องเป็นไปตามสภาพภูมิประเทศทาง ภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา วัฒนธรรมชุมชน ที่มีความหลากหลาย ในขณะเดียวกันเราก็ต้องเข้าใจในการเปลี่ยนแปลง ของสังคมโลกที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วตามอิทธิพลของกระแสโลกาภิวัฒน์ ควบคู่ไปกับการพยายามหาแนวทางหรือ วิธีการที่จะดารงชีวิตตามหลักการพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ให้ดาเนินไปได้อย่างสมดุลและสอดคล้องกับ
  • 8. 8 สภาพแวดล้อมในยุคโลกาภิวัฒน์ โดยอาศัยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นตัวสร้างภูมิคุ้มกันต่อผลกระทบที่ชุมชน อาจจะได้รับ ไม่ให้กระแสเหล่านั้นมาทาลายเอกลักษณ์และวัฒนธรรมชุมชนจนต้องล่มสลายไป จากแนวพระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางที่ให้ประชาชนดาเนินตามวิถีแห่งการดารงชีพ ที่สมบูรณ์ ศานติสุข โดยมีธรรมะเป็นเครื่องกากับ และ ใจตนเป็นที่สาคัญ ซึ่งก็คือ วิถีชีวิตไทย ที่ยึดเส้นทางสายกลางของความพอดี ในหลักของการพึ่งพาตนเอง 5 ประการ คือ • ความพอดีด้านจิตใจ : เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้มีจิตสานึกที่ดี เอื้ออาทร ประณีประนอม คานึงถึงผลประโยชน์ ส่วนรวม • ความพอดีด้านสังคม : มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน รู้จักผนึกกาลัง และที่สาคัญมี กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดจากฐานรากที่มั่นคงและแข็งแรง • ความพอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ เพื่อให้เกิดความ ยั่งยืนสูงสุด ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศ เพื่อพัฒนาประเทศให้มั่นคงเป็นขั้นเป็นตอนไป • ความพอดีด้านเทคโนโลยี: รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับความต้องการและควรพัฒนา เทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านของเราเอง และสอดคล้องเป็นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมของเราเอง • ความพอดีด้านเศรษฐกิจ : เพิ่มรายได้ลดรายจ่าย ดารงชีวิตอย่างพอสมควร พออยู่พอกินตามอัตภาพ และฐานะ ของตนเอง จะเห็นได้ว่าการพัฒนาเริ่มจาก การสร้างพื้นฐาน ความพอกินพอใช้ของประชาชนในชาติเป็นส่วนใหญ่ก่อน แล้ว จึงค่อยเสริมสร้างความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจ . ตามลาดับ เพื่อจะได้เกิดสมดุลทางด้านต่าง ๆ หรือ เป็นการ ดาเนินการไปอย่างเป็นขั้นเป็นตอน จากระดับหนึ่งไปสู่อีกระดับหนึ่ง โดยสร้างความพร้อมทางด้านต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม ที่ไม่ใช่เป็นการ “ ก้าวกระโดด ” ที่ต้องใช้ปัจจัยภายนอกต่าง ๆ มาเป็นตัวกระตุ้น เพียงเพื่อให้เกิดความ ทันกันในชั่วขณะหนึ่ง ทฤษฎีใหม่กับเศรษฐกิจพอเพียง ที่มาแห่งพระราชดาริ "ทฤษฎีใหม่"
  • 9. 9 หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จเยี่ยมราษฎรที่บ้านกุดตอแก่น ต.กุดสินคุ้มใหญ่ อ.เขาวง จ. กาฬสินธุ์เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2535 ได้ทรงเห็นสภาพความยากลาบากของราษฎรในการทาการเกษตรในพื้นที่ อาศัยน้าฝน (ปลูกข้าวได้ประมาณ 1 ถัง / 1 ไร่) เพาะปลูกได้ปีละครั้งในช่วงฤดูฝนเท่านั้น มีความเสี่ยงในการ เสียหายจากความปรวนแปรของดินฟ้าอากาศ และฝนทิ้งช่วง ซึ่งสภาพดังกล่าวคงเป็นสภาพปัญหาของเกษตรกร ส่วนใหญ่ของประเทศ แม้ว่าจะมีการขุดบ่อน้าไว้บ้างก็มีขนาดไม่แน่นอน น้าใช้ยังไม่พอเพียง รวมทั้งระบบการ ปลูกพืชไม่มีหลักเกณฑ์และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จึงทรงศึกษา รวบรวมข้อมูลนามาวิเคราะห์และได้พระราชทานพระราชดาริ เพื่อให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤติการขาดแคลน น้าได้โดยไม่เดือดร้อนและยากลาบากนัก พระราชดารินี้ ทรงเรียกว่า "ทฤษฎีใหม่" อันเป็นแนวทางการจัดการที่ดิน และน้าเพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยทรงทดลองเป็นแห่งแรกที่วัดมงคลชัยพัฒนา ตาบลห้วยบง อาเภอเมือง จังหวัดสระบุรี เหตุที่เรียกว่า "ทฤษฎีใหม่" - มีการจัดแบ่งที่ดินออกเป็นสัดส่วนที่ชัดเจน เพื่อประโยชน์สูงสุดของเกษตรกรรายย่อยเนื้อที่ที่ถือครอง ขนาดเล็ก ซึ่งไม่เคยมีใครคิดมาก่อน - มีการคานวณปริมาณน้ากักเก็บให้เพียงพอในการเพาะปลูกตลอดปีโดยหลักวิชาการ - มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบ ให้แบ่งพื้นที่ซึ่งโดยเฉลี่ยแล้วเกษตรกรไทยมีเนื้อที่ถือครองประมาณ 10 - 15 ไร่ ต่อครอบครัว และแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ (1) แหล่งน้า (2) นาข้าว (3) พืชผสมผสาน (4) ที่อยู่โครงสร้าง พื้นฐานในอัตราส่วนร้อยละ 30:30:30:10 ตามลาดับ โดยมี 3 ชั้น ๆ ส่วนแรก ร้อยละ 30 ให้ขุดสระกักเก็บน้าในฤดูฝนไว้เพาะปลูกและใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้งได้ ตลอดปี ทั้งยังใช้เลี้ยงปลาและปลูกพืชน้า พืชริมสระเพื่อบริโภคและเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวอีกทางหนึ่งด้วย โดยพระราชทานแนวทางการคานวณว่าต้องมีน้า 1,000 ลูกบาศก์เมตรต่อการเพาะปลูก 1 ไร่ โดยประมาณ และบน สระน้าอาจสร้างเล้าไก่ เล้าหมูได้ด้วย
  • 10. 10 ส่วนที่สอง ร้อยละ 30 ให้ทานาข้าว เนื่องจากคนไทยบริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก โดยมีเกณฑ์เฉลี่ยเกษตรกรบริโภค ข้าวคนละ 200 กิโลกรัมข้าวเปลือกต่อปี เกษตรกรมีครอบครัวละ 3 - 4 คน ดังนั้น ควรปลูกข้าว 5 ไร่ ผลผลิต ประมาณไร่ละ 30 ถัง ซึ่งเพียงพอต่อการบริโภคตลอดปี เพื่อยึดหลักพึ่งตนเองได้อย่างมีอิสรภาพ ส่วนที่สาม ร้อยละ 30 ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ไม้ใช้สอย ไม้ทาเชื้อเพลิง ไม่สร้างบ้าน พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อการบริโภคและใช้สอยอย่างพอเพียง หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่ายเป็นรายได้ต่อไป ส่วนที่สี่ ร้อยละ 10 เป็นที่อยู่อาศัย และอื่น ๆ เช่น ถนน คันดิน ลานตาก กองปุ๋ ยหมัก โรงเพาะเห็ด พืชผักสวนครัว เป็นต้น ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า หลักการที่ได้กล่าวมาแล้วทั้งหมดเป็นทฤษฎีขั้นที่หนึ่งเท่านั้น เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ลง มือปฏิบัติตามขั้นที่หนึ่งในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว เกษตรกรก็จะสามารถพัฒนาตนเองไปสู่ขั้นพออยู่พอกิน และ ตัดค่าใช้จ่ายลงเกือบทั้งหมด มีอิสระจากสภาพปัจจัยภายนอกแล้ว และเพื่อให้มีผลสมบูรณ์ยิ่งขึ้น จึงควรที่จะต้อง ดาเนินการตามขั้นที่สอง และขั้นที่สาม ต่อไปตามลาดับ ดังนี้ ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง คือ ให้ เกษตรกรรวมพลังในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจกัน ดาเนินการใน ด้านการผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
  • 11. 11 - เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิตโดยเริ่มตั้งแต่ขั้นเตรียมดินการหาพันธุ์พืช ปุ๋ ย การจัดหาน้า และ อื่น ๆ เพื่อการเพาะปลูก การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจาหน่ายผลผลิต) - เมื่อมีผลผลิตแล้วจะต้องเตรียมการต่าง ๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียม ลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหาเครื่องสีข้าว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ได้ราคาดี และลดค่าใช้จ่ายลงด้วย การเป็นอยู่(กะปิ น้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ) - ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิต เช่น อาหาร การกินต่าง ๆ กะปิ น้าปลา เสื้อผ้า ที่พอเพียง สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้) - แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริหารที่จาเป็น เช่น มีสถานีอนามัยเมื่อยามป่วยไข้หรือมีกองทุน ไว้กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) - ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่าเรียนให้แก่เยาวชนของ ชุมชนเอง สังคมและศาสนา - ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวกิจกรรมทั้งหมด ดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องไม่ว่าส่วนราชการองค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิก ในชุมชนนั้นเป็นสาคัญ ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม เมื่อดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สาม ต่อไป คือ ติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการ ลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ
  • 12. 12 - เกษตรกรขายข้าวในราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา) - ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่า - เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคในราคาต่า เพราะรวมกันซื้อเป็นจานวนมาก - ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดาเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิดผลดี ยิ่งขึ้น ประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ได้พระราชทานในโอกาสต่าง ๆ นั้น พอจะสรุป ถึงประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ ได้ดังนี้ - ให้ประชาชนพออยู่พอกินสมควรแก่อัตภาพในระดับที่ประหยัด ไม่อดอยากและเลี้ยงตนเองได้ตาม หลักปรัชญาของ "เศรษฐกิจพอเพียง" - ในหน้าแล้งมีน้าน้อย ก็สามารถเอาน้าที่เก็บไว้ในสระมาปลูกพืชผักต่าง ๆ ที่ใช้น้าน้อยได้โดยไม่ต้อง เบียดเบียนชลประทาน - ในปีที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน้าตลอดปี ทฤษฎีใหม่นี้ก็สามารถสร้างรายได้ให้ร่ารวยขึ้นได้ - ในกรณีที่เกิดอุทกภัยก็สามารถจะฟื้นตัว และช่วยตัวเองได้ในระดับหนึ่ง โดยทางราชการไม่ต้อง ช่วยเหลือมากเกินไป เป็นการประหยัดงบประมาณด้วย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากสื่อต่างๆ และหนังสือที่เกี่ยวข้อง 2. สอบถามผู้ที่นาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. อินเตอร์เน็ต 2. หนังสือ 3. ผู้มีความรู้เฉพาะด้าน
  • 13. 13 งบประมาณ ไม่เกิน 400 บาท ประมาณจากการลงพื้นที่สารวจและศึกษาข้อมูล ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / มนัสยา 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล / มนัสยา 3 จัดทาโครงร่างงาน / มนัสยา 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. สามารถนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 2. ผู้ที่สนใจได้ทราบเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง สถานที่ดาเนินการ 1. บ้านผู้จัดทา 2. แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง 3. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 14. 14 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) แนวทางการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง. เข้าถึงได้จาก https://www.facebook.com/permalink.php?id=246686582120563&story_fbid=315168008605753 ประวัติความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง. เข้าถึงได้จาก http://www.eto.ku.ac.th/s-e/mean-th.html ทฤษฎีใหม่กับเศรษฐกิจพอเพียง. เข้าถึงได้จาก http://www.fpo.go.th/S-I/Source/Article/Article40.htm หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. เข้าถึงได้จาก http://www.eto.ku.ac.th/s-e/main-th.html