SlideShare a Scribd company logo
มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
เครือข่ายองค์กรผู้บริโภค 8 จังหวัด
และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์จังหวัดอุบลราชธานี
โครงการพัฒนากลไกการเฝ้ าระวัง
ความปลอดภัยด้านอาหารของผู้บริโภค
(Food Alert System for Thai Consumers)
เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา
สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
สถาบันโภชนาการ
มหาวิทยาลัยมหิดล
นาเสนอโดย ผศ.ดร.พรรัตน์ สินชัยพานิช
บทบาทของหน่วยงานในการควบคุมความปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อาหาร
ที่มา : ชนินทร์ เจริญพงศ์ (2548)
กระทรวงเกษตรฯ
1.นาเข้า
(พันธุ์,ปุ๋ ย,สารกาจัด
ศัตรูพืช,ฮอร์โมน)
อาหาร
2.แปลงเพาะ
ปลูก
3.แหล่ง
รวบรวม
4.แปรรูป
เบื้องต้น
5.แปรรูป
ผลิตภัณฑ์
6.จาหน่าย
หาบ/เรือ/รถเร่
ตลาดสด
ตลาดนัด
ซุปเปอร์มาเก็ต
ร้านอาหาร
ขนส่ง ขนส่ง ขนส่ง
ขนส่ง
โฆษณา
กลุ่มพืช
ผู้บริโภค
1
3
4
54
5 7
6
7
พ่อค้าคนกลาง
1.พรบ.อาหาร 4.พรบ.กักพืช 7.พรบ. วัตถุอันตราย
2.พรบ. การสาธารณสุข 5.พรบ.ปุ๋ ย 8.พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค
3.พรบ. มาตรฐานสินค้าเกษตร 6.พรบ. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตฯ (เฉพาะสับประรดกระป๋ อง)
3
4
7
1
6
1
2
3
3 22
3
8
ให้ความสาคัญความปลอดภัยอาหารส่งออก>การบริโภคในประเทศ
มีความซ้าซ้อนในการกากับดูแลอาหาร
มีจุดอ่อนในการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระบบการตรวจสอบย้อนกลับของผลิตภัณฑ์ขาดประสิทธิภาพ
ระบบการควบคุมการนาเข้ายังไม่มีประสิทธิภาพ
ระบบการบริหารจัดการในภาวะวิกฤตยังไม่มีประสิทธิภาพ
การนาระบบควบคุมคุณภาพมาใช้ไม่ครอบคลุมอาหารทุกประเภท
ต้องประเมินภาพรวมระบบกากับดูแล และการเฝ้ าระวังความ
ปลอดภัยด้านอาหารอย่างเป็นระบบ และการทวนสอบระบบ ให้เหมาะสม
กับสถานการณ์
พลังผู้บริโภค
กลไกอาหาร
ปลอดภัย
อาหาร
ปลอดภัย
สร้างองค์ความรู้
พลังและแนวร่วม
ภาคประชาชน
หน่วยงานกากับด้าน
อาหารปลอดภัย
อาหาร
ปลอดภัย
วัตถุประสงค์โครงการ
พัฒนากลไกการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารโดย
ผู้บริโภค
การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคจากปัญหาความไม่ปลอดภัยด้าน
อาหาร
พัฒนาเครือข่ายองค์กรผู้บริโภคในการเฝ้าระวังความปลอดภัย
ด้านอาหาร
สถาบันโภชนาการ
ม. มหิดล
ม.เชียงใหม่
ม.ขอนแก่น
ม.สงขลา
เครือข่ายผู้บริโภค
มูลนิธิฯ
เชียงใหม่
พะเยา
กรุงเทพ
สมุทรสงคราม
ขอนแก่น
มหาสารคาม
สงขลา
สตูล
กรมวิทย์ฯ
การแพทย์
ศูนย์อุบล
เผยแพร่
ประสานงาน
 ผลิตภัณฑ์ทตรวจสอบ
จากมูลนิธิ ฯ /สสจ
สถาบันวิจัยโภชนาการ
 ผลิตภัณฑ์ทถูกร้องเรยน
 ข้อมูลทตรวจสอบจาก
พื้นท
- การแจ้งเตือนป หา
- ความตืนตัวของผู้บริโภค
- ป ิบัติการและมส่วนร่วม
ในการแก้ไขป หา
ผู้ประกอบการ
- ความรับผิดชอบต่อ
ความปลอดภัย
- ปรับปรุงมาตร าน
ผลิตภัณฑ์
/ .
8
- วารสารฉลาดซื้อ
- ศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภค
- สนับสนุนการทดสอบ
- การทาข้อเสนอต่อ
ผู้ประกอบการในการปรับปรุง
การ
- การสุ่มตรวจอาหารประจาป
- การสุ่มตรวจเมือเกิดป หา
- การรับเรืองร้องเรยน
- การสุ่มตรวจคุณภาพอาหาร
ความ
ปลอดภัย
ด้านอาหาร
มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคปัญหาความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร
มีการร้องเรียน ๔๙ กรณี (๘ จังหวัด) ๔๔ กรณีเสร็จสิ้นและได้รับการ
ช่วยเหลือเยียวยาความเสียหาย และอยู่ระหว่างดาเนินการอีก ๕ กรณี
คิดเป็นร้อยละ ๘๙.๕ ของความสาเร็จในการแก้ไขปัญหาให้ผู้บริโภค
การเฝ้าระวังความปลอดภัยอาหาร โดยสุ่มตรวจสินค้าอาหารที่จาหน่าย
ในประเทศ ๔ ครั้ง/ปี
1. กลุ่มอาหารที่เป็นปัญหาสาคัญต้องเก็บตัวอย่างร่วมกันทุกจังหวัด
2. กลุ่มอาหารท้องถิ่นที่เก็บตัวอย่างตามความสนใจของพื้นที่
3. กลุ่มอาหารกระแสที่เก็บตัวอย่างตามกระแสความไม่ปลอดภัยที่
เกิดขึ้น ณ ช่วงเวลาหนึ่ง (current issue)
4. กลุ่มอาหารร้องเรียน
ตัวอย่างนม จานวนสุ่ม จุลินทรีย์ ปริมาณโปรตีน
>2.8%
พาสเจอร์ไรซ์ 59 25% NA
UHT 59 5% 24%
พาสเจอร์ไรซ์* 5 0 0
UHT* 6 16.6% (1 ตย) 0
กลุ่ม 1 ตัวอย่างนม(โรงเรียน)ที่ไม่ผ่านมาตรฐาน
NA = ไม่ได้วิเคราะห์
* สุ่มตัวอย่างนมที่จาหน่ายในซุปเปอร์มาเก็ต
ตัวอย่าง จานวนสุ่ม สารกันบูด
mg/kg
สีสังเคราะห์ ไนเตรท/
ไนไตรท์
บอแรกซ์
ไส้กรอกหมู 53 36% (20-1200) 8% 0% NA
ไส้กรอกไก่ 8 75%(44-1253) 0% 0% NA
ลูกชิ้นหมู 46 100%(10-9536) NA 33% 0%
ลูกชิ้นไก่ 12 100%(20-5800) NA 100% 0%
ลูกชิ้นปลา 16 75%(170-1230) NA 0% 0%
กุนเชียง 9 56%(5-1205) 0% 0% NA
กลุ่ม 1(ต่อ) ตัวอย่างไส้กรอกและลูกชิ้นที่ไม่ผ่านมาตรฐาน
ตัวอย่าง จานวนสุ่ม
ตัวอย่าง
สารเคมีตกค้าง
บร๊อคโคลี่ 16 44%
คะน้า 24 33%
กะหล่าปลี 8 38%
กะหล่าดอก 8 50%
ถั่วฝักยาว 8 50%
ส้ม 16 63%
แอ๊ปเปิ้ล 16 25%
กลุ่ม 1(ต่อ) ตัวอย่างผักผลไม้ที่มีสารเคมีตกค้างไม่ผ่านมาตรฐาน
ตัวอย่าง จานวน
สุ่ม
สารเคมี
ตกค้าง
อัลฟา
ท๊อกซิน
ซัลเฟอร์
ไดออกไซด์
โลหะหนัก สี
สังเคราะห์
เห็ดหอม 25 60% 0 NA NA NA
เห็ดหูหนูขาว 32 9% 0 56% NA NA
สาหร่ายแกง 22 36% 0 NA 73% NA
กุ้งแห้ง 11 64% 0 NA NA 45%
หมึกแห้ง 8 62% 0 NA 71% NA
พริกป่น 7 100% 0 NA NA NA
กลุ่ม 1(ต่อ) ตัวอย่างอาหารแห้งที่ไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย
ตัวอย่าง จานวนที่สุ่ม จุลินทรีย์ สารเร่งเนื้อแดง สารกันบูด ไนเตรท
ข้าวปั้นปลาดิบ 5 0% NA NA NA
ข้างกล่อง CPF 4 0% NA NA NA
หมูย่างเกาหลี(ดิบ) 16 63% 50% NA NA
ไส้กรอกอิสาน(ดิบ) 4 50% NA NA NA
น้าปลาร้าขวด 4 100% NA NA NA
ปลาส้ม 5 NA NA 0% 0%
แหนม 16 38% NA NA 0%
กะปิ 14 0% NA 43% NA
น้าดื่มขวด 16 13% NA NA NA
น้าดื่มตู้หยอด 13 8% NA NA NA
กลุ่ม 2 ตัวอย่างอาหารที่ไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย
ตัวอย่าง จานวน
ที่สุ่ม
สาร
กันบูด
จุลินทรีย์ อัลฟา
ท๊อกซิน
โลหะหนัก สี
สังเคราะห์
สาหร่ายขนม 26 NA 8% 8% 75% NA
ก๋วยเตี๋ยวใหญ่ 8 88% 12% 0 NA NA
ก๋วยเตี๋ยวเล็ก 8 75% NA 12% NA NA
เส้นหมี่ 5 40% NA 0 NA NA
บะหมี่ 6 50% NA 0 NA NA
กลุ่ม 3 ตัวอย่างอาหารที่ไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย
ตัวอย่าง ข้อร้องเรียน ผลวิเคราะห์ความไม่ปลอดภัย จานวน
(ตัวอย่าง)
หน่อไม้ปี๊บ รับประทานแล้วท้องเสีย Salicylic acid 43.2 mg/kg 1
มหาสารคาม
Sorbic acid, Sulfurdioxide
(<10mg/kg)
S.aureus < 10 cfu/g
ชาโออิชิขวด มีตะกอนที่ก้นขวด คุณภาพจุลินทรีย์เป็นไปตาม 1
เกณฑ์มาตรฐาน ประกาศ 214
นมโรงเรียน รสชาติไม่ปกติ TPC >3 x106 cfu/ml 2
พาสเจอร์ไรซ์ Coliform >102-107 cfu/ml
นมโรงเรียน รสชาติไม่ปกติ คุณภาพตามประกาศนมโค 2
UHT ฉบับที่ 265
กลุ่ม 4 ตัวอย่างอาหารที่มีการร้องเรียนมายังเครือข่ายผู้บริโภค
• สรุปผลการทดสอบผลิตภัณฑ์อาหารทั้ง 4 กลุ่ม รวม ตัวอย่าง
๑ ใน ๓ ของอาหารที่สุ่มเก็บ พบว่ามีการปนเปื้อนอันตราย
(วัตถุเจือปนอาหาร จุลินทรีย์ สารเคมี) เกินมาตรฐาน
ข้อเสนอ
มาตรฐานอาหาร ยากต่อการตีความ/เข้าใจ ขาดความชัดเจน และไม่
ครอบคลุมทุกผลิตภัณฑ์อาหาร รวมทั้งมีบทลงโทษที่ไม่รุนแรง
ผลลัพธ์จากโครงการฯwww.tumdee.org/food
www.consumerthai.org
และเชื่อมต่อ
รายงานและเผยแพร่ความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร
ที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของผู้บริโภค
การจัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารในระดับจังหวัด ๘ จังหวัด
ได้แก่ กรุงเทพฯ สมุทรสงคราม ขอนแก่น มหาสารคาม เชียงใหม่ พะเยา
สงขลาและสตูล มีสมาชิกเครือข่ายมากกว่า 500 คน
– หน่วยประสานงาน มีความรู้ความเข้าใจในการดาเนินงานพิทักษ์สิทธิผู้บริโภค
และเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารได้ถูกต้องตาม
หลักการทางวิทยาศาสตร์
– ขยายผลรายงานการทดสอบในพื้นที่และระดับประเทศ
– แลกเปลี่ยนสถานการณ์ปัญหา ขับเคลื่อนกลไกการเฝ้าระวังระดับประเทศ
– พัฒนาข้อเสนอนโยบายด้านความปลอดภัยของอาหาร ในงานสมัชชาผู้บริโภค
ผลลัพธ์จากโครงการฯ (ต่อ)
กรุงเทพฯ – สมาชิกนิตยสารฉลาดซื้อ สมาชิกกินเปลี่ยนโลก เครือข่ายเกษตรกรรม
ทางเลือก สื่อมวลชน >100 คน การจัดงานรณรงค์ส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหาร
เวทีเสวนาฉลาดซื้อ กินเปลี่ยนโลก
สมุทรสงคราม – เครือข่ายเฝ้าระวัง ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ สสจ. เครือข่ายผู้บริโภคระดับ
อาเภอ 3 อาเภอ (อัมพวา บางคนที และอาเภอเมือง) กลุ่มสาระในสวน เทศบาลเมือง
สมุทรสงคราม และกลุ่มวิทยุชุมชน > 30 คน
ขอนแก่น – เครือข่ายเฝ้าระวังระดับอาเภอใน 26 อาเภอ อาจารย์ในสถานศึกษา สสจ.
สื่อวิทยุชุมชน และ ผู้ประกอบการท้องถิ่น > 30 คน
มหาสารคาม – ภาคีเครือข่ายเฝ้าระวัง ชมรมคุ้มครองผู้บริโภค 16 ตาบล เครือข่าย
เยาวชนคุ้มครองผู้บริโภคในสถานศึกษาและในชุมชน 7 แห่ง กลุ่มเยาวชนตาบลหัวเรือ
อีก 1 กลุ่ม สสจ อนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สคบ และอบต.หนองแสง > 50 คน
พะเยา-มีภาคี(13 ภาคี) เครือข่ายผู้บริโภคระดับอาเภอและระดับตาบล ผู้ติดเชื้อเอช
ไอวี คณะทางานส่งเสริมบทบาทหญิงชาย เครือข่ายแรงงานนอกระบบ สภาองค์กร
ชุมชน เกษตรกรยั่งยืน เครือข่ายผู้พิการ สื่อท้องถิ่น สสจ สานักงานท้องถิ่นจังหวัด
องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น นักวิชาการท้องถิ่น(ม.นเรศวร พะเยา)นักวิชาการ
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ ม.เชียงใหม่ > 200 คน
เชียงใหม่ –ภาคีเครือข่ายคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคระดับอาเภอ 16 อาเภอ โรงเรียน
จานวน 9 โรงเรียน อปท.ตาบลศรีดงเย็น เทศบาลตาบลสันทราย สมาคมมาตรฐาน
เกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ และผู้บริโภคเกษตรอินทรีย์> 30 คน
จังหวัดสงขลา – ภาคีเครือข่าย อาสาสมัครเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารระดับ
อาเภอ ๑๐ อาเภอ ศูนย์เด็กเล็กจังหวัดสงขลา เครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพ
นักวิชาการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สถานีวิทยุกระจายเสียง มอ. และสถานี
วิทยุมวลชนหาดใหญ่ > 30 คน
สตูล- ภาคีต่าง ๆ คณะกรรมการเครือข่ายผู้บริโภค แกนนาผู้สูงอายุ ผู้นาศาสนา
ชมรมประมงพื้นบ้าน เกษตรทางเลือก ชมรมวิทยุสมัครเล่น ชมรมอสม. ชมรม
พอช. แกนนาเยาวชน ผู้นาท้องถิ่น ชมรมแอโรบิค แกนนาผู้ติดเชื้อ แกนนาผู้พิการ
ครู พยาบาลวิชาชีพ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่งานป้องกันเอดส์
ผู้อานวยการโรงพยาบาลละงู และผู้นาอบต. 2 ตาบล > 30 คน
การพัฒนาศักยภาพศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารในระดับจังหวัด
– จัดอบรมการใช้ฐานข้อมูล และการรายงานข้อมูลความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร
แก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
• มีคู่มือการใช้ฐานข้อมูลและการรายงานข้อมูล
– การติดตามความก้าวหน้า รวมไปถึงสรุปบทเรียน ปัญหาและอุปสรรค
– คู่มือทางานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร: ทาอย่างไรให้อาหารปลอดภัย
(Make Our Food Safe)
ผลลัพธ์จากโครงการฯ (ต่อ)
• ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับความไม่ปลอดภัยด้าน
อาหารเพื่อคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค
√คู่มือรับเรื่องร้องเรียนความปลอดภัยด้านอาหาร
√อบรมกฎหมายด้านอาหาร
√ปฏิบัติการรับเรื่องร้องเรียน การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนที่เกิดขึ้นจริง
ผลลัพธ์จากโครงการฯ (ต่อ)
ผลลัพธ์จากโครงการฯ (ต่อ)
• เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา 4 สถาบัน/ภูมิภาค
√ สนับสนุนองค์ความรู้ด้านวิชาการ
√ ดาเนินการด้านปฏิบัติการวิเคราะห์ ให้ได้มาตรฐาน ความแม่นยา
และถูกต้องเป็นที่ยอมรับ
√ ประเมินและสรุปผลก่อนนาเสนอผ่านสื่อหรือประชาสัมพันธ์
เผยแพร่ข้อมูล
√ ร่วมปรึกษาวางแผนการดาเนินงาน
√ ส่งเสริมกิจกรรมอื่นๆทางด้านวิชาการ ได้แก่ คู่มือการสุ่มตัวอย่าง
อาหารและการจัดส่งตัวอย่าง เพื่อการวิเคราะห์
การเผยแพร่ข้อมูล แจ้งเตือนผู้บริโภค
• สื่อมวลชนทั่วไป
• นิตยสารฉลาดซื้อ
• รายการโทรทัศน์
• รายการวิทยุ
• เวที กิจกรรมเสวนา
• Website : www.consumerthai.org
• Website: ww.tumdee.org/food
ฉลาดซื้อ
มูลนิธิเพื่อ
ผู้บริโภค
เครือข่ายผู้
บริโภค 8 แห่ง คู่มือการสุ่ม
ตัวอย่าง
คู่มือการสุ่ม
ตัวอย่าง
เว็บไซด์
ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์
มหาวิทยาลัยมหิดล
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สถาบันโภชนาการ
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศูนย์วิทยาศาสตร์
การแพทย์
อุบลราชธานี
ประเมินผล
วิเคราะห์
คู่มือการจัด
ส่งตัวอย่าง
ตัวอย่างอาหาร
ผู้บริโภค
ตลาด, ร้านค้า
ซุปเปอร์
มาร์เกต
ผลกระทบด้านอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น
1. ความตื่นตัวของผู้ประกอบการที่มีต่ออาหารที่ตกมาตรฐานภายหลัง
จากผลการทดสอบตัวอย่างอาหารถูกเผยแพร่
2. ความสนใจของผู้บริโภคในการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารปลอดภัย
และสิทธิการคุ้มครองผู้บริโภค
3. การได้รับความร่วมมือในการทางานเฝ้าระวังความปลอดภัยด้าน
อาหารจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
4. พลังขับเคลื่อนภาคประชาชน นโยบายอาหารปลอดภัย
สิ่งที่จะดาเนินการในอนาคต
1. สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายผู้บริโภคให้เกิดเครือข่ายพิทักษ์สิทธิ
ผู้บริโภคในระดับจังหวัดทั้ง 8 จังหวัด ทาหน้าที่รับเรื่องร้องเรียน
แก้ไขปัญหา รณรงค์ให้ความรู้ พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อนาไปสู่
การแก้ไขปัญหาสาธารณะ รวมทั้งการทางานเชิงรุกในการเฝ้าระวัง
ความไม่ปลอดภัยทางอาหาร
2. สร้างและขยายความร่วมมือกับภาคีต่าง ๆ ทั้งภาครัฐที่มีหน้าที่กากับ
ดูแลด้านอาหารปลอดภัย(อย. สสจ.) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถาบันวิชาการ สื่อมวลชน องค์กรผู้บริโภค ภาคประชาสังคม และ
ภาคเอกชน เพื่อร่วมดาเนินงานและขับเคลื่อนความมั่นคงและความ
ปลอดภัยทางอาหาร
สิ่งที่จะดาเนินการในอนาคต (ต่อ)
3. ผลักดัน นโยบาย มาตรการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความปลอดภัยด้านอาหาร
เช่น ฉลากภาษาไทยที่อ่านและเข้าใจง่าย การระบุวัตถุเจือปน การ
รณรงค์ส่งเสริมการผลิตและการบริโภคอาหารทางเลือก
4. ขยายการดาเนินงานและการสื่อสารกับผู้บริโภคในพื้นที่ให้มีความ
ครอบคลุมมากขึ้น
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ

More Related Content

Viewers also liked

ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหารพิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหารแผนงาน นสธ.
 
การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010
การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010
การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010แผนงาน นสธ.
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้านวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้าแผนงาน นสธ.
 
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แผนงาน นสธ.
 
โครงการชิวีตคนไทย Presentation
โครงการชิวีตคนไทย Presentationโครงการชิวีตคนไทย Presentation
โครงการชิวีตคนไทย Presentationแผนงาน นสธ.
 

Viewers also liked (8)

ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหารพิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
 
การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010
การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010
การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 
Co2 tax 25jan11
Co2 tax 25jan11Co2 tax 25jan11
Co2 tax 25jan11
 
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้านวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
 
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
 
โครงการชิวีตคนไทย Presentation
โครงการชิวีตคนไทย Presentationโครงการชิวีตคนไทย Presentation
โครงการชิวีตคนไทย Presentation
 

Similar to พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ

หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559Utai Sukviwatsirikul
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Utai Sukviwatsirikul
 
วิจัยปลาดุกรมควัน
วิจัยปลาดุกรมควันวิจัยปลาดุกรมควัน
วิจัยปลาดุกรมควันMett Raluekchat
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3Utai Sukviwatsirikul
 
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...Vitsanu Nittayathammakul
 
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014Chuchai Sornchumni
 
Presentation Consumersouth
Presentation ConsumersouthPresentation Consumersouth
Presentation Consumersouthguest78694ed
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)Roppon Picha
 
บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒
บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒
บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒กิตติพงษ์ กุมภาพงษ์
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2iooido
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1iooido
 
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ กิตติพงษ์ กุมภาพงษ์
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยSomporn Isvilanonda
 
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfมาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfPaanSuthahathai
 

Similar to พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ (20)

หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
 
Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016
 
วิจัยปลาดุกรมควัน
วิจัยปลาดุกรมควันวิจัยปลาดุกรมควัน
วิจัยปลาดุกรมควัน
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
บทความพะเยาวิจัยครั้งที่ ๒
บทความพะเยาวิจัยครั้งที่ ๒บทความพะเยาวิจัยครั้งที่ ๒
บทความพะเยาวิจัยครั้งที่ ๒
 
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
 
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
 
2101643.ppt
2101643.ppt2101643.ppt
2101643.ppt
 
Presentation Consumersouth
Presentation ConsumersouthPresentation Consumersouth
Presentation Consumersouth
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
 
บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒
บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒
บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
 
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfมาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
 

พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ