SlideShare a Scribd company logo
1 of 73
Download to read offline
ตัวชี้วัด
• ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตประจาวัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประถมศึกษาปีที่ ๖
การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
แผนการจัดการเรียนรู้
นางสาวจิรัฐิติ ช่วยคง
พิเศษ 1
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดสาระเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 เพื่อให้สถานศึกษานาไปใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนการ
จัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ตามเป้าหมายของหลักสูตร ตลอดจนให้เกิดผลสาเร็จตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา ดังนั้น
ขั้นตอนการนาหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติจริงในชั้นเรียนของครูผู้สอนจึงจัดเป็นหัวใจสาคัญในการพัฒนาผู้เรียน
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด ได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ขึ้น เพื่อให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนจัดการเรียนรู้
แก่ผู้เรียน โดยจัดทาเป็นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบ
ย้อนกลับ (Backward Design) ตลอดจนเน้นกิจกรรมแบบ Active Learning อันจะช่วยให้ผู้ปกครองและหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถมั่นใจในผลการเรียนรู้และคุณภาพของผู้เรียนที่มีหลักฐาน
ตรวจสอบผลการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
ผู้สอนสามารถนาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ ไปเป็นแนวทางวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบการ
ใช้หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่
ทางบริษัทจัดพิมพ์จาหน่าย โดยการออกแบบการเรียนรู้ (Instructional Design) ได้ดาเนินการตามกระบวนการ
ดังนี้
1 หลักการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยจะกาหนดผลการเรียนรู้ไว้เป็นเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอน
จะต้องศึกษาและวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดทุกข้อว่า ระบุให้ผู้เรียนต้องมีความรู้ความ
เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องอะไร และต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นกับ
ผู้เรียนจะนาไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใดแก่ผู้เรียน
คานา
นาไปสู่
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ผู้เรียนรู้อะไร
ผู้เรียนทำอะไรได้
พิเศษ 2
2 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
เมื่อผู้สอนวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด และได้กาหนดเป้าหมายการจัดการเรียน
การสอนเรียบร้อยแล้ว จึงกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนลงมือ
ปฏิบัติตามขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้จนบรรลุมาตรฐานและตัวชี้วัดทุกข้อ
3 หลักการบูรณาการกระบวนการเรียนรู้สู่ผลการเรียนรู้
เมื่อผู้สอนกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้ และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้แล้ว จึงกาหนด
รูปแบบการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ ที่จะฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัด โดยเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในหน่วยการเรียนรู้นั้น ๆ
เช่น กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเผชิญ
สถานการณ์และการแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย
กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการทางสังคม ฯลฯ กระบวนการเรียนรู้ที่
มอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัตินั้นจะต้องนาไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
ผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
4 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ผู้สอนต้องกาหนดขั้นตอน
และวิธีปฏิบัติให้ชัดเจน โดยเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือฝึกฝนและฝึกปฏิบัติมากที่สุด ตามแนวคิดและวิธีการสาคัญ คือ
1) การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสติปัญญาที่ผู้เรียนทุกคนต้องใช้สมองในการคิดและทาความเข้าใจ
ในสิ่งต่าง ๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุปเป็นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ
สามารถนาเสนอผลงานแสดงองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ได้
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สนองควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล
เน้นพัฒนำกำรทำงสมอง
กระตุ้นกำรคิด
เน้นควำมรู้คู่คุณธรรม
เป้าหมาย
การเรียนรู้
และการพัฒนา
คุณภาพ
ของผู้เรียน
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของผู้เรียน
หลักการจัดการเรียนรู้
พิเศษ 3
2) การสอน เป็นการเลือกวิธีการหรือกิจกรรมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้นั้น ๆ และ
ที่สาคัญ คือ ต้องเป็นวิธีการที่สอดคล้องกับสภาพผู้เรียน ผู้สอนจึงต้องเลือกใช้วิธีการสอน เทคนิคการสอน
และรูปแบบการสอนอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างราบรื่นจนบรรลุ
ตัวชี้วัดทุกข้อ
3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวิธีการและขั้นตอนฝึกปฏิบัติที่ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่าง
เป็นระบบ เช่น รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รูปแบบการสอนโดยใช้การคิดแบบ
โยนิโสมนสิการ รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้
แบบ 4MAT รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค JIGSAW, STAD, TAI, TGT
4) วิธีการสอน ควรเลือกใช้วิธีการสอนที่สอดคล้องกับเนื้อหาของบทเรียน ความถนัด ความสนใจ และสภาพ
ปัญหาของผู้เรียน วิธีสอนที่ดีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ตามระดับผลสัมฤทธิ์ที่สูง เช่น
วิธีการสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย การแสดงบทบาทสมมติ การใช้
กรณีตัวอย่าง การใช้สถานการณ์จาลอง การใช้ศูนย์การเรียน การใช้บทเรียนแบบโปรแกรม
5) เทคนิคการสอน ควรเลือกใช้เทคนิคการสอนที่สอดคล้องกับวิธีการสอน และช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาใน
บทเรียนได้ง่ายขึ้น สามารถกระตุ้นความสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคการเล่านิทาน การเล่นเกม
เทคนิคการใช้คาถาม การใช้ตัวอย่างกระตุ้นความคิด การใช้สื่อการเรียนรู้ที่น่าสนใจ
6) สื่อการเรียนการสอน ควรเลือกใช้สื่อหลากหลายกระตุ้นความสนใจ และทาความกระจ่างให้เนื้อหา
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตัวชี้วัดอย่างราบรื่น
เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ เอกสารประกอบการสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่นสไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD Visualizer
ควรเตรียมสื่อให้ครอบคลุมทั้งสื่อการสอนของครูและสื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
5 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบย้อนกลับตรวจสอบ
เมื่อผู้สอนวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ รวมถึงกาหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว จึงนา
เทคนิควิธีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ไปลงมือจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะนาผู้เรียนไปสู่
การสร้างชิ้นงานหรือภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสาคัญตามธรรมชาติวิชา รวมทั้งคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่เป็นเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามลาดับขั้นตอน
การเรียนรู้ที่กาหนดไว้ ดังนี้
พิเศษ 4
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว จะต้อง
ฝึกฝนกระบวนการคิดทุกขั้นตอน โดยใช้เทคนิคการตั้งคาถามกระตุ้นความคิด และใช้ระดับคาถามให้สัมพันธ์กับ
เนื้อหาการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับความรู้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า และ
การสร้างสรรค์ นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจบทเรียนอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังเป็นการเตรียมความพร้อม
เพื่อสอบ O-NET ซึ่งเป็นการทดสอบระดับชาติที่เน้นกระบวนการคิดระดับการวิเคราะห์ด้วย และในแต่ละ
แผนการจัดการเรียนรู้มีการระบุคาถามเพื่อกระตุ้นความคิดของผู้เรียนไว้ด้วยทุกกิจกรรม ผู้เรียนจะได้ฝึกฝนวิธีการ
ทาข้อสอบ O-NET ควบคู่ไปกับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามผลการเรียนรู้ที่สาคัญ
ทั้งนี้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และ
การประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตาม
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พร้อมทั้งออกแบบเครื่องมือการวัดและ
ประเมินผล ตลอดจนแบบบันทึกผลการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ไว้ครบถ้วน สอดคล้องกับมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
เช่น แบบบันทึกผลด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ตามหลักสูตร ผู้สอนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้ประกอบการจัดทา
รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Reports) จึงมั่นใจอย่างยิ่งว่า การนาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ไป
เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอนจะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นตามมาตรฐานการศึกษา
และการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาทุกประการ
นางสาวจิรัฐิติ ช่วยคง
ผู้จัดทา
จากเป้าหมายและ
หลักฐาน คิดย้อนกลับ
สู่จุดเริ่มต้น
ของกิจกรรมการเรียนรู้
จากกิจกรรมการเรียนรู้
ทีละขั้นบันได
สู่หลักฐานและ
เป้าหมายการเรียนรู้
เป้าหมายการเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้
หลักฐานชิ้นงาน/ภาระงาน
แสดงผลการเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้
4 กิจกรรม คาถามชวนคิด
3 กิจกรรม คาถามชวนคิด
2 กิจกรรม คาถามชวนคิด
1 กิจกรรม คาถามชวนคิด
พิเศษ 5
หน้า
สรุปหลักสูตรฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พิเศษ 1-3
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พิเศษ 4-5
คาอธิบายรายวิชา พิเศษ 6
โครงสร้างรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.6 พิเศษ 7-8
Pedagogy พิเศษ 9-12
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.6 พิเศษ 13-17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เหตุผลเชิงตรรกะกับการแก้ปัญหา 18
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แนวคิดในการแก้ปัญหา 31
สารบัญ
พิเศษ 6
สรุปหลักสูตรฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี*
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้กาหนดสาระการเรียนรู้ออกเป็น
4 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
และสาระที่ 4 เทคโนโลยี มีสาระเพิ่มเติม 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟิสิกส์ และสาระโลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ
องค์ประกอบของหลักสูตรทั้งในด้านของเนื้อหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการ
เรียนรู้นั้น มีความสาคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้นให้มีความ
ต่อเนื่องเชื่อมโยงกันตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้กาหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่ผู้เรียนจาเป็นต้องเรียนเป็นพื้นฐาน
เพื่อให้สามารถนาความรู้นี้ไปใช้ในการดารงชีวิต หรือศึกษาต่อในวิชาชีพที่ต้องใช้วิทยาศาสตร์ได้ โดยจัดเรียงลาดับ
ความยากง่ายของเนื้อหาในแต่ละระดับชั้นให้มีการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่
สาคัญ ทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วย
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและ
ประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้องและ
เชื่อมโยงกันภายในสาระการเรียนรู้เดียวกัน และระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตลอดจนการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากนี้ ยังได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความ
ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ ให้ทัดเทียมกับนานาชาติ ซึ่งสรุปได้
ดังแผนภาพ
*สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย, 2560), หน้า 1-2.
พิเศษ 7
หมายเหตุ : ปีการศึกษา 2563 ชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จะเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”
พิเศษ 8
พิเศษ 4
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี*
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 1. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะการอธิบายและ
ออกแบบิธีการแก้ปัญหาที่พบใน
ชีวิตประจาวัน
 การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ หรือเงื่อนไข
ที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา
 แนวคิดของการทางานแบบวนซ้า และเงื่อนไข
 การพิจารณากระบวนการทางานที่มีการทางานแบบ
วนซ้าหรือเงื่อนไขเป็นวิธีการที่จะช่วยให้การออกแบบ
วิธีการแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
 ตัวอย่างปัญหา เช่น การค้นหาเลขหน้าที่ต้องการให้
เร็วที่สุด การทายเลข 1-1,000,000 โดยตอบให้ถูก
ภายใน 20 คาถาม การคานวณเวลาในการเดินทาง
โดยคานึงถึงระยะทาง เวลาจุดหยุดพัก
2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย
เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตรวจหา
ข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไข
 การออกแบบโปรแกรมสามารถทาได้โดยเขียน
เป็นข้อความหรือผังงาน
 การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปร
การวนซ้า การตรวจสอบเงื่อนไข
 หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง
เมื่อพบจุดที่ทาให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง ให้ทาการแก้ไข
จนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
 การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่น
จะช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดียิ่งขึ้น
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมเกม โปรแกรมหาค่า
ค.ร.น. เกมฝึกพิมพ์
 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, logo
พิเศษ 5
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3. ใช้อินเทอร์เน็ตในกรค้นหาข้อมูลอย่าง
มีประสิทธิภาพ
 การค้นหาอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการค้นหาข้อมูลได้
ตรงตามความต้องการในเวลาที่รวดเร็วจากแหล่งข้อมูลที่
น่าเชื่อถือหลายแหล่ง และข้อมูลที่มีความสอดคล้องกัน
 การใช้เทคนิคการค้นหาขั้นสูง เช่น การใช้ตัวดาเนินการ
การระบุรูปแบบของข้อมูลหรือชนิดของไฟล์
 การจัดลาดับผลลัพธ์จากการค้นหาของโปรแกรมค้นหา
 การเรียบเรียง สรุปสาระสาคัญ (บูรณาการกับวิชา
ภาษาไทย)
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกัน
อย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน
เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้อง
เมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม
 อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรมทาง
อินเทอร์เน็ต แนวทางในการป้องกัน
 วิธีกาหนดรหัสผ่าน
 การกาหนดสิทธิ์การใช้งาน (สิทธิ์ในการเข้าถึง)
 แนวทางการตรวจสอบและป้องกันมัลแวร์
 อันตรายจากการติดตั้งซอฟต์แวร์ที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
พิเศษ 6
คาอธิบายรายวิชา
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 40 ชั่วโมง/ปี
ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้โปรแกรม Scratch ศึกษาการแก้ปัญหาโดย
ใช้เหตุผลเชิงตรรกะ การใช้งานอินเทอร์เน็ต การค้นหาข้อมูลโดยใช้อินเทอร์เน็ต การประเมินความน่าเชื่อถือ ศึกษา
การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและความปลอดภัยในการใช้งานเทคโนโลยี
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ( Problem – based Learning) และวัฏจักรการเรียนรู้แบบ
สืบเสาะหาความรู้ (5Es Intructional Model) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การ
แก้ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและ
เป็นระบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาข้อมูลส่วนตัว และการสื่อสารเบื้องต้นในการแก้ปัญหาที่พบ
ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนาความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และนาเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้น
ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดารงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถ
ในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์
มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ว 4.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4
รวม 4 ตัวชี้วัด
พิเศษ 7
โครงสร้างรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้น ป.6
ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน
การเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มโนทัศน์สาคัญ
เวลา
(ชม.)
1. การแก้ปัญหาโดยใช้
เหตุผลเชิงตรรกะ
ว 4.2 ป.6/1 เหตุผลเชิงตรรกะกับการแก้ปัญหา เป็นการนา
หลักการ กฎเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุก
กรณีมาใช้เพื่อตรวจสอบความสมเหตุสมผลหรือ
พิจารณาความเป็นไปได้ของการมุ่งหาคาตอบ
และแก้ปัญหา
8
2. การออกแบบและ
เขียนโปรแกรม
อย่างง่าย
ว 4.2 ป.6/2 การออกแบบโปรแกรม เป็นการอธิบายการ
ทางานของโปรแกรมอย่างเป็นลาดับขั้นตอน
โดยการออกแบบโปรแกรมสามารถทาได้ทั้งการ
เขียนข้อความ และการเขียนผังงาน หากมี
ข้อผิดพลาดเกิดขึ้นหรือโปรแกรมไม่เป็นไปตาม
ความต้องการ จะต้องตรวจสอบข้อผิดพลาดที่
เกิดขึ้น โดยการตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง
เมื่อพบจุดที่ทาให้โปรแกรมไม่เป็นไปตาม
ต้องการให้แก้ไขข้อผิดพลาดนั้น จนกว่าจะได้
โปรแกรมตามที่ต้องการ
16
3. การใช้งาน
อินเทอร์เน็ต
อย่างมีประสิทธิภาพ
ว 4.2 ป.6/3 อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาด
ใหญ่ที่ครอบคลุมไปทั่วโลก เราสามารถใช้งาน
อินเทอร์เน็ต เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงตามความ
ต้องการภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว และการ
ค้นหาข้อมูลในแต่ละครั้ง โปรแกรมค้นหาจะ
แสดงข้อมูลจากคาค้นหาเป็นจานวนมาก
เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้
อย่างมีประสิทธิภาพและได้ข้อมูลตรงตามความ
ต้องการมากที่สุด ผู้ใช้จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับ
การจัดลาดับผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรมค้นหา
ข้อมูลที่ได้การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
จะต้องมีการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง
8
พิเศษ 8
ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน
การเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มโนทัศน์สาคัญ
เวลา
(ชม.)
4. ความปลอดภัยใน
การใช้งานเทคโนโลยี
สารสนเทศ
ว 4.2 ป.6/4 อันตรายจากการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่
เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ในรูปแบบต่าง ๆ และ
แนวทางในการป้องกันอันตรายจากการใช้งาน
อินเตอร์เน็ต ซึ่งรวมถึงการกาหนดรหัสผ่าน
และการกาหนด สิทธิ์ในการใช้งาน รวมทั้ง
อันตรายจากการติดตั้งซอฟแวร์ และแนวทาง
ในการตรวจสอบและป้องกันมัลแวร์ ซึ่งเป็น
สาเหตุให้เกิดความเสียหายต่อ ข้อมูล
ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์เทคโนโลยีได้ ดังนั้น
การติดตั้งซอฟแวร์จากอินเตอร์เน็ต อาจทา
ให้มัลแวร์ ซึ่งเป็นซอฟแวร์ที่ตั้งใจออกแบบมา
เพื่อทาอันตรายกับคอมพิวเตอร์ ดังนั้น ผู้ใช้งาน
ต้องรู้แนวทางการตรวจสอบและป้องกันมัลแวร์
เพื่อป้องกันการ อันตรายในรูปแบบต่างๆ เช่น
ขโมยข้อมูล, การลบข้อมูล, การทาลายระบบ
เป็นต้น
6
หมายเหตุ : 2 ชั่วโมงที่หายไปให้ใช้สาหรับการสอบกลางภาคหรือการสอบปลายภาค ทั้งนี้ยืดหยุ่นได้ตามดุลยพินิจของครูผู้สอน
พิเศษ 9
Pedagogy
สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.6 ผู้จัดทาได้
ออกแบบการสอน (Instructional Design) ซึ่งเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคการสอนที่เปี่ยมด้วยประสิทธิภาพ
และมีความหลากหลายให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รวมถึง
สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่หลักสูตรกาหนดไว้ โดยครูสามารถนาไปใช้สาหรับจัดการเรียนรู้
ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชานี้ ได้นาวิธีการสอนและรูปแบบการสอนที่หลากหลายมาใช้ในการ
ออกแบบการสอน ดังนี้
เลือกใช้วิธีการสอนโดยเน้นกระบวนการกลุ่ม (Group Process–Based Instruction) เนื่องจากเป็น
กระบวนการในการทางานร่วมกันของบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน และมีการดาเนินงาน
ร่วมกัน โดยผู้นากลุ่มและสมาชิกกลุ่มต่างก็ทาหน้าที่ของตนอย่างเหมาะสม และมีกระบวนการทางานที่ดี เพื่อนากลุ่ม
ไปสู่วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการทางานกลุ่มที่ดี จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดทักษะทางสังคม และขยาย
ขอบเขตของการเรียนรู้ให้กว้างขวางขึ้น
เลือกใช้วิธีการสอนโดยใช้แนวคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) เนื่องจากเป็นกระบวนการ
เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนใช้ทักษะมุ่งเน้นการคิดเชิงตรรกะมากขึ้น ซึ่งผู้เรียนจะสามารถอธิบายการคิดเชิงคานวณอย่างเป็น
ระบบ หรือเป็นการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นลาดับขั้นตอน โดยการเข้าใจปัญหาและวิธีการในการแก้ปัญหาอย่างเป็น
ระบบ เพื่อให้ได้มาซึ่งวิธีการแก้ไขปัญหาที่ทั้งมนุษย์และคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจร่วมกันได้ ซึ่งประกอบด้วยลาดับ
การใช้ทักษะย่อย 4 ทักษะ ดังนี้
1. แนวคิดการแยกย่อย (Decomposition) เป็นการแตกปัญหาใหญ่ให้เป็นปัญหาย่อยที่มีขนาดเล็ก เพื่อให้
สามารถจัดการได้ง่ายขึ้น
2. แนวคิดการจดจารูปแบบ (Pattern Recognition) เป็นการกาหนดแบบแผนปัญหาย่อย ๆ จากปัญหา
ที่มีรูปแบบที่หลากหลาย โดยปัญหาต่าง ๆ มักมีความคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ เพื่อดูความเหมือน
ความแตกต่างของรูปแบบการเปลี่ยนแปลง ทาให้ทราบแนวโน้มเพื่อทานาย ผลลัพธ์ข้างหน้าได้
กระบวนการเรียนรู้
แนวคิดการแยกย่อย แนวคิดการจดจารูปแบบ แนวคิดเชิงนามธรรม
แบบ
แนวคิดการออกแบบขั้นตอน
1 2 3 4
พิเศษ 10
3. แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) เป็นการมุ่งเน้นความสาคัญของปัญหาโดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่
จาเป็น เพื่อให้สามารถเข้าใจถึงแก่นแท้ของปัญหา ทักษะนี้เทียบเท่ากับการคิดสังเคราะห์ จนได้มาซึ่ง
แบบจาลอง เช่น แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ในรูปของสมการหรือสูตร
4. แนวคิดการออกแบบขั้นตอน (Algorithm Design) เป็นการออกแบบขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยการคิด
เชิงอัลกอริทึม โดยนาไปใช้ในการแก้ปัญหาที่มีลักษณะแบบเดียวกันได้ ทาให้ทราบขั้นตอนก่อนหลัง
เลือกใช้วิธีการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) เนื่องจากเป็นกระบวนการที่ผู้สอน
ใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการให้ผู้เรียนสวมบทบาทในสถานการณ์ซึ่งมี
ความใกล้เคียงกับความเป็นจริง และแสดงออกตามความรู้สึกนึกคิดของตน และนาเอาการแสดงออกของผู้แสดง
ทั้งทางด้านความรู้ ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมที่สังเกตพบมาเป็นข้อมูลในการอภิปราย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์
วิธีการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ เป็นวิธีการที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การเอาใจเขามาใส่ใจเรา
เกิดความเข้าใจในความรู้สึกและพฤติกรรมทั้งของตนเองและผู้อื่น หรือเกิดความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับ
บทบาทสมมติที่ตนแสดง ซึ่งการแสดงบทบาทสมมติให้มีประสิทธิภาพประกอบไปด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้
1. การเตรียมการ เป็นการกาหนดวัตถุประสงค์เฉพาะให้ชัดเจน และสร้างสถานการณ์และบทบาทสมมติที่
จะช่วยสนองวัตถุประสงค์นั้น โดยสถานการณ์และบทบาทสมมติที่กาหนดขึ้นควรมีความใกล้เคียงกับความเป็นจริง
2. การเริ่มบทเรียน ผู้สอนสามารถกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนได้หลายวิธี เช่น โยงประสบการณ์ใกล้ตัว
ผู้เรียน หรือประสบการณ์ที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนครั้งก่อน ๆ เข้าสู่เรื่องที่จะศึกษา
3. การเลือกผู้แสดง ควรเลือกผู้แสดงให้เหมาะสมกับบทบาท เพื่อช่วยให้การแสดงเป็นไปอย่างราบรื่นตาม
วัตถุประสงค์ได้อย่างรวดเร็ว หรือเลือกผู้แสดงที่มีลักษณะตรงกันข้ามกับบทบาทที่กาหนดให้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนคนนั้น
ได้รับประสบการณ์ใหม่ ได้ทดลองแสดงพฤติกรรมใหม่ ๆ และเกิดความเข้าใจในความรู้สึกและพฤติกรรมของผู้ที่มี
ลักษณะแตกต่างไปจากตน
4. การเตรียมผู้สังเกตการณ์ ผู้สอนควรเตรียมผู้รับชมและทาความเข้าใจกับผู้ชมว่า การแสดงบทบาทสมมติ
จัดขึ้นมิใช่มุ่งที่ความสนุก แต่มุ่งที่จะให้เกิดการเรียนรู้เป็นสาคัญ
5. การแสดง เมื่อผู้สอนให้เริ่มการแสดงและสังเกตการแสดงอย่างใกล้ชิด ไม่ควรมีการขัดการแสดงกลางคัน
นอกจากกรณีที่มีปัญหาเมื่อการแสดงออกนอกทาง ผู้สอนอาจจาเป็นต้องให้คาแนะนาบ้าง เมื่อการแสดงดาเนินไป
พอสมควรแล้ว ผู้สอนควรตัดบท ยุติการแสดง ไม่ควรให้การแสดงยืดยาว เยิ่นเย้อ จะทาให้ผู้ชมเกิดความเบื่อหน่าย
6. การวิเคราะห์อภิปรายผลการแสดง เป็นขั้นตอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ชัดเจนตามวัตถุประสงค์
โดยให้ผู้เรียนอภิปรายความรู้ประเด็นต่าง ๆ ที่ได้จากการสังเกตการแสดง กรณีที่การอภิปรายเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ ผู้เรียนเสนอแนะแนวคิดและแนวทางอื่น ๆ เพิ่มเติมที่แตกต่างไปจากเดิม
พิเศษ 11
เลือกใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เนื่องจากเป็นรูปแบบการ
สอนแบบที่มุ่งให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้เข้ากับประสบการณ์หรือความเดิมให้เป็นองค์
ความรู้หรือแนวคิดของผู้เรียนเอง ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จึงสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการ
แก้ปัญหาโดยเน้นการปฏิบัติจริง มีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน เสริมสร้างความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการ
ขั้นตอนอย่างเป็นวัฏจักร ซึ่งกระบวนการปฏิบัติมีขั้นตอนดังนี้
1. กระตุ้นความสนใจ ให้ผู้เรียนสนใจใคร่รู้ในเรื่องที่เรียน มีลักษณะเป็นการนาเข้าสู่บทเรียน
2. สารวจและค้นหา เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง ร่วมกันสร้างและพัฒนาความคิดรวบยอด
3. อธิบายความรู้ นาเอาความรู้จากการสารวจและค้นหา ที่พัฒนาเป็นความคิดรวบยอดมาอภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
4. ขยายความเข้าใจ ผู้เรียนได้ขยายความรู้ความเข้าใจในความคิดรวบยอดให้กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น
5. ตรวจสอบผล ผู้เรียนได้ตรวจสอบแนวความคิดที่ได้เรียนรู้มาแล้วว่าถูกต้องและได้รับการยอมรับเพียงใด
เลือกใช้วิธีการสอนโดยเน้นการเรียนรู้แบบใช้เกม (Games) เนื่องจากเป็นกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการ
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการให้ผู้เรียนเล่นเกมตามกติกา และนาเนื้อหาและข้อมูล
ของเกม พฤติกรรมการเล่น วิธีการเล่น และผลการเล่นเกมของผู้เรียนมาใช้ในการอภิปรายเพื่อสรุปการเรียนรู้
การเรียนรู้แบบใช้เกมจะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องต่าง ๆ อย่างสนุกสนานและท้าทายความสามารถ โดย
ผู้เรียนเป็นผู้เล่นเอง ทาให้ได้รับประสบการณ์ตรง เป็นวิธีการที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมสูง และทาให้เกิดการ
เรียนรู้ โดยการเห็นประจักษ์แจ้งด้วยตนเอง ทาให้การเรียนรู้นั้นมีความหมายและอยู่คงทน
เลือกใช้วิธีการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง (Case) เนื่องจากเป็นกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยให้ผู้เรียนศึกษาเรื่องที่สมมติขึ้นจากความเป็นจริงและตอบประเด็น
คาถามเกี่ยวกับเรื่องนั้น แล้วนาคาตอบและเหตุผลที่มาของคาตอบนั้นมาใช้เป็นข้อมูลในการอภิปราย เพื่อให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์
การเรียนรู้แบบใช้กรณีตัวอย่าง จะช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการเผชิญและแก้ปัญหาโดยไม่ต้องรอให้เกิดปัญหา
จริง เป็นวิธีการที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ และเรียนรู้ความคิดของผู้อื่น ทาให้ผู้เรียนมีมุมมองในการใช้ชีวิต
ที่กว้างขึ้น
เลือกใช้วิธีการสอนโดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion) เนื่องจากเป็นกระบวนการ
ที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการจัดผู้เรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ประมาณ
4-8 คน และให้ผู้เรียนในกลุ่มพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น และประสบการณ์ในประเด็นที่กาหนด และ
สรุปผลการอภิปรายออกมาเป็นข้อสรุปของกลุ่ม
การเรียนรู้แบบใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย จะช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างทั่วถึง มีโอกาส
แสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ อันจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในเรื่องที่เรียนกว้างขึ้น
พิเศษ 12
วิธีการสอน (Teaching Method)
ผู้จัดทาเลือกใช้วิธีสอนที่หลากหลาย เช่น การอภิปราย การใช้สถานการณ์จาลอง การใช้เกม เพื่อส่งเสริม
การเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด และยังมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์ต่าง ๆ โดยการคิด
และลงมือปฏิบัติ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้และเกิดทักษะที่คงทน
เทคนิคการสอน (Teaching Technique)
ผู้จัดทาเลือกใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลายและเหมาะสมกับเรื่องที่เรียน เช่น การตั้งคาถาม การยกตัวอย่าง
การใช้สื่อการเรียนรู้ที่น่าสนใจ เพื่อส่งเสริมวิธีการสอนและรูปแบบการสอนให้มีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ให้
มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และสามารถฝึกทักษะการเรียนรู้และทักษะการปฏิบัติเกี่ยวกับงานต่าง ๆ ในศตวรรษที่ 21
*ทิศนา แขมมณี, ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2562).
พิเศษ 13
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.6
เวลา 40 ชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
วิธีสอน/วิธีการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้
ทักษะที่ได้ การประเมิน
เวลา
(ชั่วโมง)
1. การแก้ปัญหาโดยใช้
เหตุผลเชิงตรรกะ
แผนฯที่ 1 เหตุผลเชิงตรรกะ
กับการแก้ปัญหา
1. วิธีการสอนแบบสืบเสาะ
หาความรู้ (5Es Instructional
Model)
2. วิธีการสอนแบบกระบวนการ
กลุ่ม (Group Process)
3. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ
1. ทักษะการสื่อสาร
2. ทักษะการทางานร่วมกัน
3. ทักษะความคิดสร้างสรรค์
4. ทักษะการคิดวิจารณญาณ
1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหา
โดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
2. ตรวจใบงานที่ 1.1.1 เรื่อง ต่อยอด
การแก้ปัญหาด้วยเหตุผลเชิงตรรกะ
3. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะที่ 1 เรื่องจับคู่
ราวงมาตรฐาน
4. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะที่ 2 เชียร์กีฬา
พาเพลิน
5. ประเมินการนาเสนอ เรื่อง การใช้เหตุผล
เชิงตรรกะในชีวิตประจาวัน
4
แผนฯที่ 2 แนวคิด
ในการแก้ปัญหา
1. วิธีการสอนแบบสืบเสาะ
หาความรู้ (5Es Instructional
Model)
2. วิธีการสอนแบบกระบวนการ
กลุ่ม (Group Process)
3. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ
1. ทักษะการสื่อสาร
2. ทักษะการทางานร่วมกัน
3. ทักษะความคิดสร้างสรรค์
4. ทักษะการคิดวิจารณญาณ
1. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะที่ 3 เรื่อง ตามติด
ชีวิตลุงพล
2. ประเมินการนาเสนอ เรื่อง แนวคิด
การทางานแบบต่าง ๆ ที่ใช้อธิบาย
สถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
4
พิเศษ 14
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
วิธีสอน/วิธีการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้
ทักษะที่ได้ การประเมิน
เวลา
(ชั่วโมง)
4. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหา
โดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
5. ประเมินชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด
เรื่อง การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะ
2. การออกแบบและ
เขียนโปรแกรม
อย่างง่าย
แผนฯที่ 1 การออกแบบ
โปรแกรมด้วย
การเขียนข้อความ
1. รูปแบบการสอน
แบบการอภิปราย
2. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ
1. ทักษะการสื่อสาร
2. ทักษะการทางานร่วมกัน
3. ทักษะความคิดสร้างสรรค์
4. ทักษะการคิดวิจารณญาณ
1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การออกแบบและ
เขียนโปรแกรมอย่างง่าย
2. ตรวจแบบฝึกและกิจกรรมฝึกทักษะ
3. ประเมินการนาเสนอ
2
แผนฯที่ 2 การออกแบบ
โปรแกรมด้วย
การเขียนผังงาน
1. รูปแบบการสอน
แบบการอภิปราย
2. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ
1. ทักษะการสื่อสาร
2. ทักษะการทางานร่วมกัน
3. ทักษะความคิดสร้างสรรค์
4. ทักษะการคิดวิจารณญาณ
1. ตรวจแบบฝึกหัดและกิจกรรมฝึกทักษะ
2. ประเมินการนาเสนอ
2
แผนฯที่ 3 การเขียนโปรแกรม
ด้วยภาษา Scratch
1. รูปแบบการสอน
แบบการอภิปราย
2. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ
1. ทักษะการสื่อสาร
2. ทักษะการทางานร่วมกัน
3. ทักษะความคิดสร้างสรรค์
4. ทักษะการคิดวิจารณญาณ
1. ตรวจแบบฝึกหัดและกิจกรรมฝึกทักษะ
2. ประเมินการนาเสนอ
8
แผนฯที่ 4 การตรวจหา
ข้อผิดพลาด
ของโปรแกรม
1. รูปแบบการสอน
แบบการอภิปราย
2. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ
1. ทักษะการสื่อสาร
2. ทักษะการทางานร่วมกัน
3. ทักษะความคิดสร้างสรรค์
4. ทักษะการคิดวิจารณญาณ
1. ตรวจแบบฝึกหัดและกิจกรรมฝึกทักษะ
2. ประเมินการนาเสนอ
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
4
พิเศษ 15
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
วิธีสอน/วิธีการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้
ทักษะที่ได้ การประเมิน
เวลา
(ชั่วโมง)
4. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การออกแบบและ
เขียนโปรแกรมอย่างง่าย
5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง
การออกแบบและเขียนโปรแกรม
อย่างง่าย
3. การใช้งานอินเทอร์เน็ต
อย่างมีประสิทธิภาพ
แผนฯที่ 1 การค้นหาข้อมูล
โดยใช้อินเทอร์เน็ต
1. วิธีการสอนแบบสืบเสาะหา
ความรู้ (5Es Instructional
Modal)
2. เทคนิคการสอนโดยใช้เกม
3. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ
4. เทคนิคการสอนโดยใช้กรณี
ตัวอย่าง (Case)
1. ทักษะการสื่อสาร
2. ทักษะการทางานร่วมกัน
3. ทักษะการคิดวิจารณญาณ
1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การใช้งาน
อินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะ Com Sci
ที่บันทึกลงในสมุด
3. ประเมินการทางานกลุ่ม
4. ประเมินการตอบคาถามท้ายการเล่นเกม
ถามปุ๊ปตอบปั๊ป
3
แผนฯที่ 2 การจัดลาดับผลลัพธ์
การค้นหา
1. วิธีการสอนแบบสืบเสาะหา
ความรู้ (5Es Instructional
Modal)
2. เทคนิคการสอนโดยใช้เกม
3. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ
4. เทคนิคการสอนแบบบทบาท
สมมติ
1. ทักษะการสื่อสาร
2. ทักษะการทางานร่วมกัน
3. ทักษะการคิดวิจารณญาณ
1. การนาเสนอข่าวในใบงานที่ 3.2.1
เรื่อง นักข่าวตัวน้อย
2. ตรวจใบงานที่ 3.2.1 เรื่อง นักข่าว
ตัวน้อย
3. สังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม
รายบุคคล
2
พิเศษ 16
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
วิธีสอน/วิธีการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้
ทักษะที่ได้ การประเมิน
เวลา
(ชั่วโมง)
แผนฯที่ 3 การประเมิน
ความน่าเชื่อถือ
1. วิธีการสอนแบบกระบวนการ
กลุ่ม (Group Process)
2. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ
3. เทคนิคการสอนโดยใช้กรณี
ตัวอย่าง (Case)
4. เทคนิคการสอนแบบบทบาท
สมมติ
1. ทักษะการสื่อสาร
2. ทักษะการทางานร่วมกัน
3. ทักษะการคิดวิจารณญาณ
1. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะที่ 1
เรื่อง จริงหรือไม่
2. ประเมินการนาเสนอใบงานที่ 1
เรื่อง เชื่อถือได้หรือไม่
3. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะที่ 2
เรื่อง เช็คก่อนแชร์
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
4. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การใช้งาน
อินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิทธิภาพ
5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เรื่อง การใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างมี
ประสิทธิภาพ
3
4. ความปลอดภัย
ในการใช้งานเทคโนโลยี
สารสนเทศ
แผนฯที่ 1 การใช้งานเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1. วิธีการสอนโดยใช้บทบาท
สมมติ (Role Playing)
2. เทคนิคการอภิปรายกลุ่มย่อย
(Small Group Discussion)
3. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ
1. ทักษะการสื่อสาร
2. ทักษะการทางานร่วมกัน
3. ทักษะการคิดวิจารณญาณ
1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความปลอดภัย
ในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ประเมินการนาเสนอ การวิเคราะห์
แบบสอบถามเรื่องอันตรายจาก
การใช้งานอินเทอร์เน็ตและแนวทาง
ป้องกัน
3. ตรวจใบงานที่ 4.1.1 เรื่อง การกาหนด
รหัสผ่านและการกาหนดสิทธิ์เข้าใช้งาน
4. ตรวจงานในอีเมล
4
พิเศษ 17
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
วิธีสอน/วิธีการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้
ทักษะที่ได้ การประเมิน
เวลา
(ชั่วโมง)
5. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะที่ 1
เรื่อง เหตุเกิด ณ ห้องคอมพิวเตอร์
แผนฯที่ 2 การติดตั้งซอฟต์แวร์
จากอินเทอร์เน็ต
1. วิธีการสอนโดยใช้เกม
2. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ
1. ทักษะการสื่อสาร
2. ทักษะการทางานร่วมกัน
3. ทักษะการคิดวิจารณญาณ
1. ตรวจผังความคิด เรื่อง อันตรายจาก
การติดตั้งซอฟต์แวร์
2. ตรวจใบงานที่ 4.2.1 เรื่อง ตรวจสอบ
มัลแวร์
3. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะ แบบฝึกหัด
หน่วยเรียนรู้ที่ 4 เรื่องแนวทางการ
ตรวจสอบและป้องกันมัลแวร์
4. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความปลอดภัย
ในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง
ความปลอดภัยในการใช้งานเทคโนโลยี
สารสนเทศ
2
หมายเหตุ : 2 ชั่วโมงที่หายไปให้ใช้สาหรับการสอบกลางภาคหรือการสอบปลายภาค ทั้งนี้ยืดหยุ่นได้ตามดุลยพินิจของครูผู้สอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 1
จัดทำโดย นำงสำวจิรัฐิติ ช่วยคง ครูโรงเรียนบ้ำนสันติสุข
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสุรำษฎร์ธำนี เขต 1
การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
เวลา 8 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ว 4.2 เข้ำใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในกำรแก้ปัญหำที่พบในชีวิตจริงอย่ำงเป็นขั้นตอนและเป็น
ระบบ ใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรในกำรเรียนรู้ กำรทำงำนและกำรแก้ปัญหำได้
อย่ำงมีประสิทธิภำพ รู้เท่ำทัน และมีจริยธรรม
ว 4.2 ป.6/1 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในกำรอธิบำยและออกแบบวิธีกำรแก้ปัญหำที่พบใน
ชีวิตประจำวัน
2. สาระการเรียนรู้
2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) กำรแก้ปัญหำอย่ำงเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
2) กำรใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นกำรนำกฎเกณฑ์ หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมำใช้พิจำรณำใน
กำรแก้ปัญหำ
3) แนวคิดของกำรทำงำนแบบวนซ้ำ และเงื่อนไข
4) กำรพิจำรณำกระบวนกำรทำงำนที่มีกำรทำงำนแบบวนซ้ำและเงื่อนไขเป็นวิธีกำรที่จะช่วยให้
กำรออกแบบวิธีกำรแก้ปัญหำเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ
5) ตัวอย่ำงปัญหำ เช่น กำรค้นหำเลขหน้ำที่ต้องกำรให้เร็วที่สุด กำรทำยเลข 1-1,000,000 โดย
ตอบ ให้ถูกภำยใน 20 คำถำม กำรคำนวณเวลำในกำรเดินทำง โดยคำนึงถึงระยะทำง เวลำจุดหยุด
พัก
2.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
(พิจำรณำตำมหลักสูตรสถำนศึกษำ)
3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
เหตุผลเชิงตรรกะกับกำรแก้ปัญหำ เป็นกำรนำหลักกำร กฎเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุก
กรณีมำใช้เพื่อตรวจสอบควำมสมเหตุสมผลหรือพิจำรณำควำมเป็นไปได้ของกำรมุ่งหำคำตอบและแก้ปัญหำ
แนวคิดในกำรแก้ปัญหำ คือแนวคิดที่ใช้ในกำรพิจำรณำกระบวนกำรทำงำนหรือกำรแก้ปัญหำ
ต่ำง ๆ อย่ำงเป็นขั้นตอน ช่วยให้กำรทำงำนและกำรแก้ปัญหำสำมำรถทำได้ง่ำยและมีประสิทธิภำพ โดย
แนวคิดในกำรแก้ปัญหำมี 3 รูปแบบคือ แนวคิดกำรทำงำนแบบลำดับ แนวคิดกำรทำงำนแบบวนซ้ำ และ
แนวคิดกำรทำงำนแบบมีเงื่อนไข
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 2
จัดทำโดย นำงสำวจิรัฐิติ ช่วยคง ครูโรงเรียนบ้ำนสันติสุข
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสุรำษฎร์ธำนี เขต 1
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร
2. ควำมสำมำรถในกำรคิด
3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ
4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในกำรทำงำน
5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ชิ้นงำน/ภำระงำน (รวบยอด) เรื่อง กำรแก้ปัญหำโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
6. การวัดและการประเมินผล
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
6.1 กำรประเมินก่อนเรียน
- แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง กำรแก้ปัญหำโดยใช้
เหตุผลเชิงตรรกะ
- ตรวจแบบทดสอบ
ก่อนเรียน
- แบบทดสอบ
ก่อนเรียน
ประเมินตำมสภำพจริง
6.2 กำรประเมินระหว่ำงกำรจัด
กิจกรรม
1) กำรแก้ปัญหำใน
ชีวิตประจำวันโดยใช้
เหตุผลเชิงตรรกะ
- ตรวจใบงำนที่ 1.1.1
เรื่อง ต่อยอดกำร
แก้ปัญหำด้วยเหตุผล
เชิงตรรกะ
- ตรวจกิจกรรมฝึก
ทักษะที่ 1 เรื่องจับคู่
รำวงมำตรฐำน
- ตรวจกิจกรรมฝึก
ทักษะที่ 2 เชียร์กีฬำ
พำเพลิน
- ประเมินกำรนำเสนอ
เรื่อง กำรใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะในชีวิตประจำวัน
- แบบประเมินกำรทำ
ใบงำนที่1.1.1 เรื่อง
ต่อยอดกำรแก้ปัญหำ
ด้วยเหตุผลเชิงตรรกะ
- กิจกรรมฝึกทักษะที่
1 เรื่อง จับคู่รำวง
มำตรฐำน
- กิจกรรมฝึกทักษะที่ 2
เชียร์กีฬำ พำเพลิน
- แบบประเมินกำร
นำเสนอ เรื่อง กำรใช้
เหตุผลเชิงตรรกะใน
ชีวิตประจำวัน
ร้อยละ 60 ผ่ำนเกณฑ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 3
จัดทำโดย นำงสำวจิรัฐิติ ช่วยคง ครูโรงเรียนบ้ำนสันติสุข
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสุรำษฎร์ธำนี เขต 1
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
2) กระบวนกำรทำงำนหรือ
กำรแก้ปัญหำ โดยใช้
แนวคิดแบบต่ำง ๆ
- ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะ
ที่ 3 เรื่อง ตำมติดชีวิตลุง
พล
- ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะ
ที่ 3 เรื่อง ตำมติดชีวิต
ลุงพล
- ประเมินกำรนำเสนอ
เรื่อง แนวคิดกำร
ทำงำนแบบต่ำง ๆ ที่
ใช้อธิบำยสถำนกำรณ์
ในชีวิตประจำวัน
- แบบประเมินกำรทำ
กิจกรรมฝึกทักษะที่
3 เรื่อง ตำมติดชีวิต
ลุงพล
- แบบประเมินกำร
นำเสนอ เรื่อง
แนวคิดกำรทำงำน
แบบต่ำง ๆ ที่ใช้
อธิบำยสถำนกำรณ์
ในชีวิตประจำวัน
ระดับคุณภำพ 2
ผ่ำนเกณฑ์
3) คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- สังเกตควำมมีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในกำรทำงำน
- แบบประเมิน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
ระดับคุณภำพ 2
ผ่ำนเกณฑ์
6.3 กำรประเมินหลังเรียน
1) แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง กำรแก้ปัญหำโดยใช้
เหตุผลเชิงตรรกะ
- ตรวจแบบทดสอบ
หลังเรียน
- แบบทดสอบ
หลังเรียน
ร้อยละ 60 ผ่ำนเกณฑ์
2) กำรประเมินชิ้นงำน/
ภำระงำน (รวบยอด)
เรื่อง กำรแก้ปัญหำโดยใช้
เหตุผลเชิงตรรกะ
- ตรวจชิ้นงำน/
ภำระงำน (รวบยอด)
- แบบประเมินชิ้นงำน/
ภำระงำน (รวบยอด)
- ระดับคุณภำพ 2
ผ่ำนเกณฑ์
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf

More Related Content

What's hot

ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)Doungchan Miki
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 

What's hot (20)

ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 

Similar to แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5พิพัฒน์ ตะภา
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3Bell Bella
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9benty2443
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9nattawad147
 

Similar to แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf (20)

01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
Add m2-2-link
Add m2-2-linkAdd m2-2-link
Add m2-2-link
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอนบทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 

More from JiruttiPommeChuaikho

วิจัยในชั้นเรียนpdf
วิจัยในชั้นเรียนpdfวิจัยในชั้นเรียนpdf
วิจัยในชั้นเรียนpdfJiruttiPommeChuaikho
 
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdfรายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdfหลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-นางสาวจิรัฐิติ 2566.pdf
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-นางสาวจิรัฐิติ 2566.pdfแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-นางสาวจิรัฐิติ 2566.pdf
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-นางสาวจิรัฐิติ 2566.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdfJiruttiPommeChuaikho
 

More from JiruttiPommeChuaikho (6)

วิจัยในชั้นเรียนpdf
วิจัยในชั้นเรียนpdfวิจัยในชั้นเรียนpdf
วิจัยในชั้นเรียนpdf
 
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdfรายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
 
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdfหลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
 
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-นางสาวจิรัฐิติ 2566.pdf
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-นางสาวจิรัฐิติ 2566.pdfแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-นางสาวจิรัฐิติ 2566.pdf
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-นางสาวจิรัฐิติ 2566.pdf
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
 

แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf

  • 1. ตัวชี้วัด • ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตประจาวัน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประถมศึกษาปีที่ ๖ การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ แผนการจัดการเรียนรู้ นางสาวจิรัฐิติ ช่วยคง
  • 2. พิเศษ 1 ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดสาระเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้สถานศึกษานาไปใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนการ จัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตามเป้าหมายของหลักสูตร ตลอดจนให้เกิดผลสาเร็จตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา ดังนั้น ขั้นตอนการนาหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติจริงในชั้นเรียนของครูผู้สอนจึงจัดเป็นหัวใจสาคัญในการพัฒนาผู้เรียน บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด ได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ขึ้น เพื่อให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนจัดการเรียนรู้ แก่ผู้เรียน โดยจัดทาเป็นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบ ย้อนกลับ (Backward Design) ตลอดจนเน้นกิจกรรมแบบ Active Learning อันจะช่วยให้ผู้ปกครองและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถมั่นใจในผลการเรียนรู้และคุณภาพของผู้เรียนที่มีหลักฐาน ตรวจสอบผลการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ผู้สอนสามารถนาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ ไปเป็นแนวทางวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบการ ใช้หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ ทางบริษัทจัดพิมพ์จาหน่าย โดยการออกแบบการเรียนรู้ (Instructional Design) ได้ดาเนินการตามกระบวนการ ดังนี้ 1 หลักการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยจะกาหนดผลการเรียนรู้ไว้เป็นเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอน จะต้องศึกษาและวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดทุกข้อว่า ระบุให้ผู้เรียนต้องมีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องอะไร และต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นกับ ผู้เรียนจะนาไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใดแก่ผู้เรียน คานา นาไปสู่ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้
  • 3. พิเศษ 2 2 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เมื่อผู้สอนวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด และได้กาหนดเป้าหมายการจัดการเรียน การสอนเรียบร้อยแล้ว จึงกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนลงมือ ปฏิบัติตามขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้จนบรรลุมาตรฐานและตัวชี้วัดทุกข้อ 3 หลักการบูรณาการกระบวนการเรียนรู้สู่ผลการเรียนรู้ เมื่อผู้สอนกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้ และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้แล้ว จึงกาหนด รูปแบบการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ ที่จะฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด โดยเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในหน่วยการเรียนรู้นั้น ๆ เช่น กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเผชิญ สถานการณ์และการแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการทางสังคม ฯลฯ กระบวนการเรียนรู้ที่ มอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัตินั้นจะต้องนาไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 4 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ผู้สอนต้องกาหนดขั้นตอน และวิธีปฏิบัติให้ชัดเจน โดยเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือฝึกฝนและฝึกปฏิบัติมากที่สุด ตามแนวคิดและวิธีการสาคัญ คือ 1) การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสติปัญญาที่ผู้เรียนทุกคนต้องใช้สมองในการคิดและทาความเข้าใจ ในสิ่งต่าง ๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุปเป็นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ สามารถนาเสนอผลงานแสดงองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ได้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สนองควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล เน้นพัฒนำกำรทำงสมอง กระตุ้นกำรคิด เน้นควำมรู้คู่คุณธรรม เป้าหมาย การเรียนรู้ และการพัฒนา คุณภาพ ของผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน หลักการจัดการเรียนรู้
  • 4. พิเศษ 3 2) การสอน เป็นการเลือกวิธีการหรือกิจกรรมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้นั้น ๆ และ ที่สาคัญ คือ ต้องเป็นวิธีการที่สอดคล้องกับสภาพผู้เรียน ผู้สอนจึงต้องเลือกใช้วิธีการสอน เทคนิคการสอน และรูปแบบการสอนอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างราบรื่นจนบรรลุ ตัวชี้วัดทุกข้อ 3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวิธีการและขั้นตอนฝึกปฏิบัติที่ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่าง เป็นระบบ เช่น รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รูปแบบการสอนโดยใช้การคิดแบบ โยนิโสมนสิการ รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้ แบบ 4MAT รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค JIGSAW, STAD, TAI, TGT 4) วิธีการสอน ควรเลือกใช้วิธีการสอนที่สอดคล้องกับเนื้อหาของบทเรียน ความถนัด ความสนใจ และสภาพ ปัญหาของผู้เรียน วิธีสอนที่ดีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ตามระดับผลสัมฤทธิ์ที่สูง เช่น วิธีการสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย การแสดงบทบาทสมมติ การใช้ กรณีตัวอย่าง การใช้สถานการณ์จาลอง การใช้ศูนย์การเรียน การใช้บทเรียนแบบโปรแกรม 5) เทคนิคการสอน ควรเลือกใช้เทคนิคการสอนที่สอดคล้องกับวิธีการสอน และช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาใน บทเรียนได้ง่ายขึ้น สามารถกระตุ้นความสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคการเล่านิทาน การเล่นเกม เทคนิคการใช้คาถาม การใช้ตัวอย่างกระตุ้นความคิด การใช้สื่อการเรียนรู้ที่น่าสนใจ 6) สื่อการเรียนการสอน ควรเลือกใช้สื่อหลากหลายกระตุ้นความสนใจ และทาความกระจ่างให้เนื้อหา สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตัวชี้วัดอย่างราบรื่น เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ เอกสารประกอบการสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่นสไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD Visualizer ควรเตรียมสื่อให้ครอบคลุมทั้งสื่อการสอนของครูและสื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน 5 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบย้อนกลับตรวจสอบ เมื่อผู้สอนวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ รวมถึงกาหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว จึงนา เทคนิควิธีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ไปลงมือจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะนาผู้เรียนไปสู่ การสร้างชิ้นงานหรือภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสาคัญตามธรรมชาติวิชา รวมทั้งคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่เป็นเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามลาดับขั้นตอน การเรียนรู้ที่กาหนดไว้ ดังนี้
  • 5. พิเศษ 4 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว จะต้อง ฝึกฝนกระบวนการคิดทุกขั้นตอน โดยใช้เทคนิคการตั้งคาถามกระตุ้นความคิด และใช้ระดับคาถามให้สัมพันธ์กับ เนื้อหาการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับความรู้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า และ การสร้างสรรค์ นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจบทเรียนอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังเป็นการเตรียมความพร้อม เพื่อสอบ O-NET ซึ่งเป็นการทดสอบระดับชาติที่เน้นกระบวนการคิดระดับการวิเคราะห์ด้วย และในแต่ละ แผนการจัดการเรียนรู้มีการระบุคาถามเพื่อกระตุ้นความคิดของผู้เรียนไว้ด้วยทุกกิจกรรม ผู้เรียนจะได้ฝึกฝนวิธีการ ทาข้อสอบ O-NET ควบคู่ไปกับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามผลการเรียนรู้ที่สาคัญ ทั้งนี้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และ การประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตาม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พร้อมทั้งออกแบบเครื่องมือการวัดและ ประเมินผล ตลอดจนแบบบันทึกผลการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ไว้ครบถ้วน สอดคล้องกับมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน เช่น แบบบันทึกผลด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตามหลักสูตร ผู้สอนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้ประกอบการจัดทา รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Reports) จึงมั่นใจอย่างยิ่งว่า การนาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ไป เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอนจะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นตามมาตรฐานการศึกษา และการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาทุกประการ นางสาวจิรัฐิติ ช่วยคง ผู้จัดทา จากเป้าหมายและ หลักฐาน คิดย้อนกลับ สู่จุดเริ่มต้น ของกิจกรรมการเรียนรู้ จากกิจกรรมการเรียนรู้ ทีละขั้นบันได สู่หลักฐานและ เป้าหมายการเรียนรู้ เป้าหมายการเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้ หลักฐานชิ้นงาน/ภาระงาน แสดงผลการเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้ 4 กิจกรรม คาถามชวนคิด 3 กิจกรรม คาถามชวนคิด 2 กิจกรรม คาถามชวนคิด 1 กิจกรรม คาถามชวนคิด
  • 6. พิเศษ 5 หน้า สรุปหลักสูตรฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พิเศษ 1-3 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พิเศษ 4-5 คาอธิบายรายวิชา พิเศษ 6 โครงสร้างรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.6 พิเศษ 7-8 Pedagogy พิเศษ 9-12 โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.6 พิเศษ 13-17 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เหตุผลเชิงตรรกะกับการแก้ปัญหา 18 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แนวคิดในการแก้ปัญหา 31 สารบัญ
  • 7. พิเศษ 6 สรุปหลักสูตรฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี* ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้กาหนดสาระการเรียนรู้ออกเป็น 4 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระที่ 4 เทคโนโลยี มีสาระเพิ่มเติม 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟิสิกส์ และสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ องค์ประกอบของหลักสูตรทั้งในด้านของเนื้อหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้นั้น มีความสาคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้นให้มีความ ต่อเนื่องเชื่อมโยงกันตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้กาหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่ผู้เรียนจาเป็นต้องเรียนเป็นพื้นฐาน เพื่อให้สามารถนาความรู้นี้ไปใช้ในการดารงชีวิต หรือศึกษาต่อในวิชาชีพที่ต้องใช้วิทยาศาสตร์ได้ โดยจัดเรียงลาดับ ความยากง่ายของเนื้อหาในแต่ละระดับชั้นให้มีการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่ สาคัญ ทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วย กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและ ประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้องและ เชื่อมโยงกันภายในสาระการเรียนรู้เดียวกัน และระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดจนการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากนี้ ยังได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความ ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ ให้ทัดเทียมกับนานาชาติ ซึ่งสรุปได้ ดังแผนภาพ *สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย, 2560), หน้า 1-2.
  • 8. พิเศษ 7 หมายเหตุ : ปีการศึกษา 2563 ชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จะเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”
  • 10. พิเศษ 4 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี* สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.6 1. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะการอธิบายและ ออกแบบิธีการแก้ปัญหาที่พบใน ชีวิตประจาวัน  การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ  การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ หรือเงื่อนไข ที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา  แนวคิดของการทางานแบบวนซ้า และเงื่อนไข  การพิจารณากระบวนการทางานที่มีการทางานแบบ วนซ้าหรือเงื่อนไขเป็นวิธีการที่จะช่วยให้การออกแบบ วิธีการแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ  ตัวอย่างปัญหา เช่น การค้นหาเลขหน้าที่ต้องการให้ เร็วที่สุด การทายเลข 1-1,000,000 โดยตอบให้ถูก ภายใน 20 คาถาม การคานวณเวลาในการเดินทาง โดยคานึงถึงระยะทาง เวลาจุดหยุดพัก 2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตรวจหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไข  การออกแบบโปรแกรมสามารถทาได้โดยเขียน เป็นข้อความหรือผังงาน  การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปร การวนซ้า การตรวจสอบเงื่อนไข  หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง เมื่อพบจุดที่ทาให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง ให้ทาการแก้ไข จนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง  การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่น จะช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดียิ่งขึ้น  ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมเกม โปรแกรมหาค่า ค.ร.น. เกมฝึกพิมพ์  ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, logo
  • 11. พิเศษ 5 ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3. ใช้อินเทอร์เน็ตในกรค้นหาข้อมูลอย่าง มีประสิทธิภาพ  การค้นหาอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการค้นหาข้อมูลได้ ตรงตามความต้องการในเวลาที่รวดเร็วจากแหล่งข้อมูลที่ น่าเชื่อถือหลายแหล่ง และข้อมูลที่มีความสอดคล้องกัน  การใช้เทคนิคการค้นหาขั้นสูง เช่น การใช้ตัวดาเนินการ การระบุรูปแบบของข้อมูลหรือชนิดของไฟล์  การจัดลาดับผลลัพธ์จากการค้นหาของโปรแกรมค้นหา  การเรียบเรียง สรุปสาระสาคัญ (บูรณาการกับวิชา ภาษาไทย) 4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกัน อย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้อง เมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม  อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรมทาง อินเทอร์เน็ต แนวทางในการป้องกัน  วิธีกาหนดรหัสผ่าน  การกาหนดสิทธิ์การใช้งาน (สิทธิ์ในการเข้าถึง)  แนวทางการตรวจสอบและป้องกันมัลแวร์  อันตรายจากการติดตั้งซอฟต์แวร์ที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
  • 12. พิเศษ 6 คาอธิบายรายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 40 ชั่วโมง/ปี ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้โปรแกรม Scratch ศึกษาการแก้ปัญหาโดย ใช้เหตุผลเชิงตรรกะ การใช้งานอินเทอร์เน็ต การค้นหาข้อมูลโดยใช้อินเทอร์เน็ต การประเมินความน่าเชื่อถือ ศึกษา การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและความปลอดภัยในการใช้งานเทคโนโลยี โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ( Problem – based Learning) และวัฏจักรการเรียนรู้แบบ สืบเสาะหาความรู้ (5Es Intructional Model) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การ แก้ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาข้อมูลส่วนตัว และการสื่อสารเบื้องต้นในการแก้ปัญหาที่พบ ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนาความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และนาเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้น ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดารงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถ ในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ว 4.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 รวม 4 ตัวชี้วัด
  • 13. พิเศษ 7 โครงสร้างรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้น ป.6 ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด มโนทัศน์สาคัญ เวลา (ชม.) 1. การแก้ปัญหาโดยใช้ เหตุผลเชิงตรรกะ ว 4.2 ป.6/1 เหตุผลเชิงตรรกะกับการแก้ปัญหา เป็นการนา หลักการ กฎเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุก กรณีมาใช้เพื่อตรวจสอบความสมเหตุสมผลหรือ พิจารณาความเป็นไปได้ของการมุ่งหาคาตอบ และแก้ปัญหา 8 2. การออกแบบและ เขียนโปรแกรม อย่างง่าย ว 4.2 ป.6/2 การออกแบบโปรแกรม เป็นการอธิบายการ ทางานของโปรแกรมอย่างเป็นลาดับขั้นตอน โดยการออกแบบโปรแกรมสามารถทาได้ทั้งการ เขียนข้อความ และการเขียนผังงาน หากมี ข้อผิดพลาดเกิดขึ้นหรือโปรแกรมไม่เป็นไปตาม ความต้องการ จะต้องตรวจสอบข้อผิดพลาดที่ เกิดขึ้น โดยการตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง เมื่อพบจุดที่ทาให้โปรแกรมไม่เป็นไปตาม ต้องการให้แก้ไขข้อผิดพลาดนั้น จนกว่าจะได้ โปรแกรมตามที่ต้องการ 16 3. การใช้งาน อินเทอร์เน็ต อย่างมีประสิทธิภาพ ว 4.2 ป.6/3 อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาด ใหญ่ที่ครอบคลุมไปทั่วโลก เราสามารถใช้งาน อินเทอร์เน็ต เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงตามความ ต้องการภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว และการ ค้นหาข้อมูลในแต่ละครั้ง โปรแกรมค้นหาจะ แสดงข้อมูลจากคาค้นหาเป็นจานวนมาก เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ อย่างมีประสิทธิภาพและได้ข้อมูลตรงตามความ ต้องการมากที่สุด ผู้ใช้จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับ การจัดลาดับผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรมค้นหา ข้อมูลที่ได้การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ จะต้องมีการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง 8
  • 14. พิเศษ 8 ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด มโนทัศน์สาคัญ เวลา (ชม.) 4. ความปลอดภัยใน การใช้งานเทคโนโลยี สารสนเทศ ว 4.2 ป.6/4 อันตรายจากการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่ เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ในรูปแบบต่าง ๆ และ แนวทางในการป้องกันอันตรายจากการใช้งาน อินเตอร์เน็ต ซึ่งรวมถึงการกาหนดรหัสผ่าน และการกาหนด สิทธิ์ในการใช้งาน รวมทั้ง อันตรายจากการติดตั้งซอฟแวร์ และแนวทาง ในการตรวจสอบและป้องกันมัลแวร์ ซึ่งเป็น สาเหตุให้เกิดความเสียหายต่อ ข้อมูล ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์เทคโนโลยีได้ ดังนั้น การติดตั้งซอฟแวร์จากอินเตอร์เน็ต อาจทา ให้มัลแวร์ ซึ่งเป็นซอฟแวร์ที่ตั้งใจออกแบบมา เพื่อทาอันตรายกับคอมพิวเตอร์ ดังนั้น ผู้ใช้งาน ต้องรู้แนวทางการตรวจสอบและป้องกันมัลแวร์ เพื่อป้องกันการ อันตรายในรูปแบบต่างๆ เช่น ขโมยข้อมูล, การลบข้อมูล, การทาลายระบบ เป็นต้น 6 หมายเหตุ : 2 ชั่วโมงที่หายไปให้ใช้สาหรับการสอบกลางภาคหรือการสอบปลายภาค ทั้งนี้ยืดหยุ่นได้ตามดุลยพินิจของครูผู้สอน
  • 15. พิเศษ 9 Pedagogy สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.6 ผู้จัดทาได้ ออกแบบการสอน (Instructional Design) ซึ่งเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคการสอนที่เปี่ยมด้วยประสิทธิภาพ และมีความหลากหลายให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รวมถึง สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่หลักสูตรกาหนดไว้ โดยครูสามารถนาไปใช้สาหรับจัดการเรียนรู้ ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชานี้ ได้นาวิธีการสอนและรูปแบบการสอนที่หลากหลายมาใช้ในการ ออกแบบการสอน ดังนี้ เลือกใช้วิธีการสอนโดยเน้นกระบวนการกลุ่ม (Group Process–Based Instruction) เนื่องจากเป็น กระบวนการในการทางานร่วมกันของบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน และมีการดาเนินงาน ร่วมกัน โดยผู้นากลุ่มและสมาชิกกลุ่มต่างก็ทาหน้าที่ของตนอย่างเหมาะสม และมีกระบวนการทางานที่ดี เพื่อนากลุ่ม ไปสู่วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการทางานกลุ่มที่ดี จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดทักษะทางสังคม และขยาย ขอบเขตของการเรียนรู้ให้กว้างขวางขึ้น เลือกใช้วิธีการสอนโดยใช้แนวคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) เนื่องจากเป็นกระบวนการ เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนใช้ทักษะมุ่งเน้นการคิดเชิงตรรกะมากขึ้น ซึ่งผู้เรียนจะสามารถอธิบายการคิดเชิงคานวณอย่างเป็น ระบบ หรือเป็นการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นลาดับขั้นตอน โดยการเข้าใจปัญหาและวิธีการในการแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบ เพื่อให้ได้มาซึ่งวิธีการแก้ไขปัญหาที่ทั้งมนุษย์และคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจร่วมกันได้ ซึ่งประกอบด้วยลาดับ การใช้ทักษะย่อย 4 ทักษะ ดังนี้ 1. แนวคิดการแยกย่อย (Decomposition) เป็นการแตกปัญหาใหญ่ให้เป็นปัญหาย่อยที่มีขนาดเล็ก เพื่อให้ สามารถจัดการได้ง่ายขึ้น 2. แนวคิดการจดจารูปแบบ (Pattern Recognition) เป็นการกาหนดแบบแผนปัญหาย่อย ๆ จากปัญหา ที่มีรูปแบบที่หลากหลาย โดยปัญหาต่าง ๆ มักมีความคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ เพื่อดูความเหมือน ความแตกต่างของรูปแบบการเปลี่ยนแปลง ทาให้ทราบแนวโน้มเพื่อทานาย ผลลัพธ์ข้างหน้าได้ กระบวนการเรียนรู้ แนวคิดการแยกย่อย แนวคิดการจดจารูปแบบ แนวคิดเชิงนามธรรม แบบ แนวคิดการออกแบบขั้นตอน 1 2 3 4
  • 16. พิเศษ 10 3. แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) เป็นการมุ่งเน้นความสาคัญของปัญหาโดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่ จาเป็น เพื่อให้สามารถเข้าใจถึงแก่นแท้ของปัญหา ทักษะนี้เทียบเท่ากับการคิดสังเคราะห์ จนได้มาซึ่ง แบบจาลอง เช่น แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ในรูปของสมการหรือสูตร 4. แนวคิดการออกแบบขั้นตอน (Algorithm Design) เป็นการออกแบบขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยการคิด เชิงอัลกอริทึม โดยนาไปใช้ในการแก้ปัญหาที่มีลักษณะแบบเดียวกันได้ ทาให้ทราบขั้นตอนก่อนหลัง เลือกใช้วิธีการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) เนื่องจากเป็นกระบวนการที่ผู้สอน ใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการให้ผู้เรียนสวมบทบาทในสถานการณ์ซึ่งมี ความใกล้เคียงกับความเป็นจริง และแสดงออกตามความรู้สึกนึกคิดของตน และนาเอาการแสดงออกของผู้แสดง ทั้งทางด้านความรู้ ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมที่สังเกตพบมาเป็นข้อมูลในการอภิปราย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ วิธีการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ เป็นวิธีการที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การเอาใจเขามาใส่ใจเรา เกิดความเข้าใจในความรู้สึกและพฤติกรรมทั้งของตนเองและผู้อื่น หรือเกิดความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับ บทบาทสมมติที่ตนแสดง ซึ่งการแสดงบทบาทสมมติให้มีประสิทธิภาพประกอบไปด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การเตรียมการ เป็นการกาหนดวัตถุประสงค์เฉพาะให้ชัดเจน และสร้างสถานการณ์และบทบาทสมมติที่ จะช่วยสนองวัตถุประสงค์นั้น โดยสถานการณ์และบทบาทสมมติที่กาหนดขึ้นควรมีความใกล้เคียงกับความเป็นจริง 2. การเริ่มบทเรียน ผู้สอนสามารถกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนได้หลายวิธี เช่น โยงประสบการณ์ใกล้ตัว ผู้เรียน หรือประสบการณ์ที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนครั้งก่อน ๆ เข้าสู่เรื่องที่จะศึกษา 3. การเลือกผู้แสดง ควรเลือกผู้แสดงให้เหมาะสมกับบทบาท เพื่อช่วยให้การแสดงเป็นไปอย่างราบรื่นตาม วัตถุประสงค์ได้อย่างรวดเร็ว หรือเลือกผู้แสดงที่มีลักษณะตรงกันข้ามกับบทบาทที่กาหนดให้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนคนนั้น ได้รับประสบการณ์ใหม่ ได้ทดลองแสดงพฤติกรรมใหม่ ๆ และเกิดความเข้าใจในความรู้สึกและพฤติกรรมของผู้ที่มี ลักษณะแตกต่างไปจากตน 4. การเตรียมผู้สังเกตการณ์ ผู้สอนควรเตรียมผู้รับชมและทาความเข้าใจกับผู้ชมว่า การแสดงบทบาทสมมติ จัดขึ้นมิใช่มุ่งที่ความสนุก แต่มุ่งที่จะให้เกิดการเรียนรู้เป็นสาคัญ 5. การแสดง เมื่อผู้สอนให้เริ่มการแสดงและสังเกตการแสดงอย่างใกล้ชิด ไม่ควรมีการขัดการแสดงกลางคัน นอกจากกรณีที่มีปัญหาเมื่อการแสดงออกนอกทาง ผู้สอนอาจจาเป็นต้องให้คาแนะนาบ้าง เมื่อการแสดงดาเนินไป พอสมควรแล้ว ผู้สอนควรตัดบท ยุติการแสดง ไม่ควรให้การแสดงยืดยาว เยิ่นเย้อ จะทาให้ผู้ชมเกิดความเบื่อหน่าย 6. การวิเคราะห์อภิปรายผลการแสดง เป็นขั้นตอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ชัดเจนตามวัตถุประสงค์ โดยให้ผู้เรียนอภิปรายความรู้ประเด็นต่าง ๆ ที่ได้จากการสังเกตการแสดง กรณีที่การอภิปรายเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ผู้เรียนเสนอแนะแนวคิดและแนวทางอื่น ๆ เพิ่มเติมที่แตกต่างไปจากเดิม
  • 17. พิเศษ 11 เลือกใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เนื่องจากเป็นรูปแบบการ สอนแบบที่มุ่งให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้เข้ากับประสบการณ์หรือความเดิมให้เป็นองค์ ความรู้หรือแนวคิดของผู้เรียนเอง ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จึงสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการ แก้ปัญหาโดยเน้นการปฏิบัติจริง มีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน เสริมสร้างความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการ ขั้นตอนอย่างเป็นวัฏจักร ซึ่งกระบวนการปฏิบัติมีขั้นตอนดังนี้ 1. กระตุ้นความสนใจ ให้ผู้เรียนสนใจใคร่รู้ในเรื่องที่เรียน มีลักษณะเป็นการนาเข้าสู่บทเรียน 2. สารวจและค้นหา เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง ร่วมกันสร้างและพัฒนาความคิดรวบยอด 3. อธิบายความรู้ นาเอาความรู้จากการสารวจและค้นหา ที่พัฒนาเป็นความคิดรวบยอดมาอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน 4. ขยายความเข้าใจ ผู้เรียนได้ขยายความรู้ความเข้าใจในความคิดรวบยอดให้กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น 5. ตรวจสอบผล ผู้เรียนได้ตรวจสอบแนวความคิดที่ได้เรียนรู้มาแล้วว่าถูกต้องและได้รับการยอมรับเพียงใด เลือกใช้วิธีการสอนโดยเน้นการเรียนรู้แบบใช้เกม (Games) เนื่องจากเป็นกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการให้ผู้เรียนเล่นเกมตามกติกา และนาเนื้อหาและข้อมูล ของเกม พฤติกรรมการเล่น วิธีการเล่น และผลการเล่นเกมของผู้เรียนมาใช้ในการอภิปรายเพื่อสรุปการเรียนรู้ การเรียนรู้แบบใช้เกมจะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องต่าง ๆ อย่างสนุกสนานและท้าทายความสามารถ โดย ผู้เรียนเป็นผู้เล่นเอง ทาให้ได้รับประสบการณ์ตรง เป็นวิธีการที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมสูง และทาให้เกิดการ เรียนรู้ โดยการเห็นประจักษ์แจ้งด้วยตนเอง ทาให้การเรียนรู้นั้นมีความหมายและอยู่คงทน เลือกใช้วิธีการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง (Case) เนื่องจากเป็นกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยให้ผู้เรียนศึกษาเรื่องที่สมมติขึ้นจากความเป็นจริงและตอบประเด็น คาถามเกี่ยวกับเรื่องนั้น แล้วนาคาตอบและเหตุผลที่มาของคาตอบนั้นมาใช้เป็นข้อมูลในการอภิปราย เพื่อให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ การเรียนรู้แบบใช้กรณีตัวอย่าง จะช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการเผชิญและแก้ปัญหาโดยไม่ต้องรอให้เกิดปัญหา จริง เป็นวิธีการที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ และเรียนรู้ความคิดของผู้อื่น ทาให้ผู้เรียนมีมุมมองในการใช้ชีวิต ที่กว้างขึ้น เลือกใช้วิธีการสอนโดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion) เนื่องจากเป็นกระบวนการ ที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการจัดผู้เรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ประมาณ 4-8 คน และให้ผู้เรียนในกลุ่มพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น และประสบการณ์ในประเด็นที่กาหนด และ สรุปผลการอภิปรายออกมาเป็นข้อสรุปของกลุ่ม การเรียนรู้แบบใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย จะช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างทั่วถึง มีโอกาส แสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ อันจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในเรื่องที่เรียนกว้างขึ้น
  • 18. พิเศษ 12 วิธีการสอน (Teaching Method) ผู้จัดทาเลือกใช้วิธีสอนที่หลากหลาย เช่น การอภิปราย การใช้สถานการณ์จาลอง การใช้เกม เพื่อส่งเสริม การเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด และยังมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์ต่าง ๆ โดยการคิด และลงมือปฏิบัติ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้และเกิดทักษะที่คงทน เทคนิคการสอน (Teaching Technique) ผู้จัดทาเลือกใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลายและเหมาะสมกับเรื่องที่เรียน เช่น การตั้งคาถาม การยกตัวอย่าง การใช้สื่อการเรียนรู้ที่น่าสนใจ เพื่อส่งเสริมวิธีการสอนและรูปแบบการสอนให้มีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ให้ มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถฝึกทักษะการเรียนรู้และทักษะการปฏิบัติเกี่ยวกับงานต่าง ๆ ในศตวรรษที่ 21 *ทิศนา แขมมณี, ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562).
  • 19. พิเศษ 13 โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.6 เวลา 40 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน/วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง) 1. การแก้ปัญหาโดยใช้ เหตุผลเชิงตรรกะ แผนฯที่ 1 เหตุผลเชิงตรรกะ กับการแก้ปัญหา 1. วิธีการสอนแบบสืบเสาะ หาความรู้ (5Es Instructional Model) 2. วิธีการสอนแบบกระบวนการ กลุ่ม (Group Process) 3. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ 1. ทักษะการสื่อสาร 2. ทักษะการทางานร่วมกัน 3. ทักษะความคิดสร้างสรรค์ 4. ทักษะการคิดวิจารณญาณ 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหา โดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 2. ตรวจใบงานที่ 1.1.1 เรื่อง ต่อยอด การแก้ปัญหาด้วยเหตุผลเชิงตรรกะ 3. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะที่ 1 เรื่องจับคู่ ราวงมาตรฐาน 4. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะที่ 2 เชียร์กีฬา พาเพลิน 5. ประเมินการนาเสนอ เรื่อง การใช้เหตุผล เชิงตรรกะในชีวิตประจาวัน 4 แผนฯที่ 2 แนวคิด ในการแก้ปัญหา 1. วิธีการสอนแบบสืบเสาะ หาความรู้ (5Es Instructional Model) 2. วิธีการสอนแบบกระบวนการ กลุ่ม (Group Process) 3. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ 1. ทักษะการสื่อสาร 2. ทักษะการทางานร่วมกัน 3. ทักษะความคิดสร้างสรรค์ 4. ทักษะการคิดวิจารณญาณ 1. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะที่ 3 เรื่อง ตามติด ชีวิตลุงพล 2. ประเมินการนาเสนอ เรื่อง แนวคิด การทางานแบบต่าง ๆ ที่ใช้อธิบาย สถานการณ์ในชีวิตประจาวัน 3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4
  • 20. พิเศษ 14 หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน/วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง) 4. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหา โดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 5. ประเมินชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด เรื่อง การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง ตรรกะ 2. การออกแบบและ เขียนโปรแกรม อย่างง่าย แผนฯที่ 1 การออกแบบ โปรแกรมด้วย การเขียนข้อความ 1. รูปแบบการสอน แบบการอภิปราย 2. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ 1. ทักษะการสื่อสาร 2. ทักษะการทางานร่วมกัน 3. ทักษะความคิดสร้างสรรค์ 4. ทักษะการคิดวิจารณญาณ 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การออกแบบและ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย 2. ตรวจแบบฝึกและกิจกรรมฝึกทักษะ 3. ประเมินการนาเสนอ 2 แผนฯที่ 2 การออกแบบ โปรแกรมด้วย การเขียนผังงาน 1. รูปแบบการสอน แบบการอภิปราย 2. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ 1. ทักษะการสื่อสาร 2. ทักษะการทางานร่วมกัน 3. ทักษะความคิดสร้างสรรค์ 4. ทักษะการคิดวิจารณญาณ 1. ตรวจแบบฝึกหัดและกิจกรรมฝึกทักษะ 2. ประเมินการนาเสนอ 2 แผนฯที่ 3 การเขียนโปรแกรม ด้วยภาษา Scratch 1. รูปแบบการสอน แบบการอภิปราย 2. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ 1. ทักษะการสื่อสาร 2. ทักษะการทางานร่วมกัน 3. ทักษะความคิดสร้างสรรค์ 4. ทักษะการคิดวิจารณญาณ 1. ตรวจแบบฝึกหัดและกิจกรรมฝึกทักษะ 2. ประเมินการนาเสนอ 8 แผนฯที่ 4 การตรวจหา ข้อผิดพลาด ของโปรแกรม 1. รูปแบบการสอน แบบการอภิปราย 2. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ 1. ทักษะการสื่อสาร 2. ทักษะการทางานร่วมกัน 3. ทักษะความคิดสร้างสรรค์ 4. ทักษะการคิดวิจารณญาณ 1. ตรวจแบบฝึกหัดและกิจกรรมฝึกทักษะ 2. ประเมินการนาเสนอ 3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4
  • 21. พิเศษ 15 หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน/วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง) 4. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การออกแบบและ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย 5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง การออกแบบและเขียนโปรแกรม อย่างง่าย 3. การใช้งานอินเทอร์เน็ต อย่างมีประสิทธิภาพ แผนฯที่ 1 การค้นหาข้อมูล โดยใช้อินเทอร์เน็ต 1. วิธีการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ (5Es Instructional Modal) 2. เทคนิคการสอนโดยใช้เกม 3. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ 4. เทคนิคการสอนโดยใช้กรณี ตัวอย่าง (Case) 1. ทักษะการสื่อสาร 2. ทักษะการทางานร่วมกัน 3. ทักษะการคิดวิจารณญาณ 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การใช้งาน อินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะ Com Sci ที่บันทึกลงในสมุด 3. ประเมินการทางานกลุ่ม 4. ประเมินการตอบคาถามท้ายการเล่นเกม ถามปุ๊ปตอบปั๊ป 3 แผนฯที่ 2 การจัดลาดับผลลัพธ์ การค้นหา 1. วิธีการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ (5Es Instructional Modal) 2. เทคนิคการสอนโดยใช้เกม 3. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ 4. เทคนิคการสอนแบบบทบาท สมมติ 1. ทักษะการสื่อสาร 2. ทักษะการทางานร่วมกัน 3. ทักษะการคิดวิจารณญาณ 1. การนาเสนอข่าวในใบงานที่ 3.2.1 เรื่อง นักข่าวตัวน้อย 2. ตรวจใบงานที่ 3.2.1 เรื่อง นักข่าว ตัวน้อย 3. สังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม รายบุคคล 2
  • 22. พิเศษ 16 หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน/วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง) แผนฯที่ 3 การประเมิน ความน่าเชื่อถือ 1. วิธีการสอนแบบกระบวนการ กลุ่ม (Group Process) 2. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ 3. เทคนิคการสอนโดยใช้กรณี ตัวอย่าง (Case) 4. เทคนิคการสอนแบบบทบาท สมมติ 1. ทักษะการสื่อสาร 2. ทักษะการทางานร่วมกัน 3. ทักษะการคิดวิจารณญาณ 1. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะที่ 1 เรื่อง จริงหรือไม่ 2. ประเมินการนาเสนอใบงานที่ 1 เรื่อง เชื่อถือได้หรือไม่ 3. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะที่ 2 เรื่อง เช็คก่อนแชร์ 3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การใช้งาน อินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิทธิภาพ 5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง การใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างมี ประสิทธิภาพ 3 4. ความปลอดภัย ในการใช้งานเทคโนโลยี สารสนเทศ แผนฯที่ 1 การใช้งานเทคโนโลยี สารสนเทศ 1. วิธีการสอนโดยใช้บทบาท สมมติ (Role Playing) 2. เทคนิคการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion) 3. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ 1. ทักษะการสื่อสาร 2. ทักษะการทางานร่วมกัน 3. ทักษะการคิดวิจารณญาณ 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความปลอดภัย ในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ประเมินการนาเสนอ การวิเคราะห์ แบบสอบถามเรื่องอันตรายจาก การใช้งานอินเทอร์เน็ตและแนวทาง ป้องกัน 3. ตรวจใบงานที่ 4.1.1 เรื่อง การกาหนด รหัสผ่านและการกาหนดสิทธิ์เข้าใช้งาน 4. ตรวจงานในอีเมล 4
  • 23. พิเศษ 17 หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน/วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง) 5. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะที่ 1 เรื่อง เหตุเกิด ณ ห้องคอมพิวเตอร์ แผนฯที่ 2 การติดตั้งซอฟต์แวร์ จากอินเทอร์เน็ต 1. วิธีการสอนโดยใช้เกม 2. เทคนิคตามแนวคิดเชิงคานวณ 1. ทักษะการสื่อสาร 2. ทักษะการทางานร่วมกัน 3. ทักษะการคิดวิจารณญาณ 1. ตรวจผังความคิด เรื่อง อันตรายจาก การติดตั้งซอฟต์แวร์ 2. ตรวจใบงานที่ 4.2.1 เรื่อง ตรวจสอบ มัลแวร์ 3. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะ แบบฝึกหัด หน่วยเรียนรู้ที่ 4 เรื่องแนวทางการ ตรวจสอบและป้องกันมัลแวร์ 4. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความปลอดภัย ในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้งานเทคโนโลยี สารสนเทศ 2 หมายเหตุ : 2 ชั่วโมงที่หายไปให้ใช้สาหรับการสอบกลางภาคหรือการสอบปลายภาค ทั้งนี้ยืดหยุ่นได้ตามดุลยพินิจของครูผู้สอน
  • 24. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 1 จัดทำโดย นำงสำวจิรัฐิติ ช่วยคง ครูโรงเรียนบ้ำนสันติสุข สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสุรำษฎร์ธำนี เขต 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ เวลา 8 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ว 4.2 เข้ำใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในกำรแก้ปัญหำที่พบในชีวิตจริงอย่ำงเป็นขั้นตอนและเป็น ระบบ ใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรในกำรเรียนรู้ กำรทำงำนและกำรแก้ปัญหำได้ อย่ำงมีประสิทธิภำพ รู้เท่ำทัน และมีจริยธรรม ว 4.2 ป.6/1 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในกำรอธิบำยและออกแบบวิธีกำรแก้ปัญหำที่พบใน ชีวิตประจำวัน 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) กำรแก้ปัญหำอย่ำงเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ 2) กำรใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นกำรนำกฎเกณฑ์ หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมำใช้พิจำรณำใน กำรแก้ปัญหำ 3) แนวคิดของกำรทำงำนแบบวนซ้ำ และเงื่อนไข 4) กำรพิจำรณำกระบวนกำรทำงำนที่มีกำรทำงำนแบบวนซ้ำและเงื่อนไขเป็นวิธีกำรที่จะช่วยให้ กำรออกแบบวิธีกำรแก้ปัญหำเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ 5) ตัวอย่ำงปัญหำ เช่น กำรค้นหำเลขหน้ำที่ต้องกำรให้เร็วที่สุด กำรทำยเลข 1-1,000,000 โดย ตอบ ให้ถูกภำยใน 20 คำถำม กำรคำนวณเวลำในกำรเดินทำง โดยคำนึงถึงระยะทำง เวลำจุดหยุด พัก 2.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (พิจำรณำตำมหลักสูตรสถำนศึกษำ) 3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เหตุผลเชิงตรรกะกับกำรแก้ปัญหำ เป็นกำรนำหลักกำร กฎเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุก กรณีมำใช้เพื่อตรวจสอบควำมสมเหตุสมผลหรือพิจำรณำควำมเป็นไปได้ของกำรมุ่งหำคำตอบและแก้ปัญหำ แนวคิดในกำรแก้ปัญหำ คือแนวคิดที่ใช้ในกำรพิจำรณำกระบวนกำรทำงำนหรือกำรแก้ปัญหำ ต่ำง ๆ อย่ำงเป็นขั้นตอน ช่วยให้กำรทำงำนและกำรแก้ปัญหำสำมำรถทำได้ง่ำยและมีประสิทธิภำพ โดย แนวคิดในกำรแก้ปัญหำมี 3 รูปแบบคือ แนวคิดกำรทำงำนแบบลำดับ แนวคิดกำรทำงำนแบบวนซ้ำ และ แนวคิดกำรทำงำนแบบมีเงื่อนไข หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
  • 25. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 2 จัดทำโดย นำงสำวจิรัฐิติ ช่วยคง ครูโรงเรียนบ้ำนสันติสุข สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสุรำษฎร์ธำนี เขต 1 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร 2. ควำมสำมำรถในกำรคิด 3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ 4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในกำรทำงำน 5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ชิ้นงำน/ภำระงำน (รวบยอด) เรื่อง กำรแก้ปัญหำโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 6. การวัดและการประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 6.1 กำรประเมินก่อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง กำรแก้ปัญหำโดยใช้ เหตุผลเชิงตรรกะ - ตรวจแบบทดสอบ ก่อนเรียน - แบบทดสอบ ก่อนเรียน ประเมินตำมสภำพจริง 6.2 กำรประเมินระหว่ำงกำรจัด กิจกรรม 1) กำรแก้ปัญหำใน ชีวิตประจำวันโดยใช้ เหตุผลเชิงตรรกะ - ตรวจใบงำนที่ 1.1.1 เรื่อง ต่อยอดกำร แก้ปัญหำด้วยเหตุผล เชิงตรรกะ - ตรวจกิจกรรมฝึก ทักษะที่ 1 เรื่องจับคู่ รำวงมำตรฐำน - ตรวจกิจกรรมฝึก ทักษะที่ 2 เชียร์กีฬำ พำเพลิน - ประเมินกำรนำเสนอ เรื่อง กำรใช้เหตุผลเชิง ตรรกะในชีวิตประจำวัน - แบบประเมินกำรทำ ใบงำนที่1.1.1 เรื่อง ต่อยอดกำรแก้ปัญหำ ด้วยเหตุผลเชิงตรรกะ - กิจกรรมฝึกทักษะที่ 1 เรื่อง จับคู่รำวง มำตรฐำน - กิจกรรมฝึกทักษะที่ 2 เชียร์กีฬำ พำเพลิน - แบบประเมินกำร นำเสนอ เรื่อง กำรใช้ เหตุผลเชิงตรรกะใน ชีวิตประจำวัน ร้อยละ 60 ผ่ำนเกณฑ์
  • 26. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 3 จัดทำโดย นำงสำวจิรัฐิติ ช่วยคง ครูโรงเรียนบ้ำนสันติสุข สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสุรำษฎร์ธำนี เขต 1 รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 2) กระบวนกำรทำงำนหรือ กำรแก้ปัญหำ โดยใช้ แนวคิดแบบต่ำง ๆ - ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะ ที่ 3 เรื่อง ตำมติดชีวิตลุง พล - ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะ ที่ 3 เรื่อง ตำมติดชีวิต ลุงพล - ประเมินกำรนำเสนอ เรื่อง แนวคิดกำร ทำงำนแบบต่ำง ๆ ที่ ใช้อธิบำยสถำนกำรณ์ ในชีวิตประจำวัน - แบบประเมินกำรทำ กิจกรรมฝึกทักษะที่ 3 เรื่อง ตำมติดชีวิต ลุงพล - แบบประเมินกำร นำเสนอ เรื่อง แนวคิดกำรทำงำน แบบต่ำง ๆ ที่ใช้ อธิบำยสถำนกำรณ์ ในชีวิตประจำวัน ระดับคุณภำพ 2 ผ่ำนเกณฑ์ 3) คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ - สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในกำรทำงำน - แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ระดับคุณภำพ 2 ผ่ำนเกณฑ์ 6.3 กำรประเมินหลังเรียน 1) แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง กำรแก้ปัญหำโดยใช้ เหตุผลเชิงตรรกะ - ตรวจแบบทดสอบ หลังเรียน - แบบทดสอบ หลังเรียน ร้อยละ 60 ผ่ำนเกณฑ์ 2) กำรประเมินชิ้นงำน/ ภำระงำน (รวบยอด) เรื่อง กำรแก้ปัญหำโดยใช้ เหตุผลเชิงตรรกะ - ตรวจชิ้นงำน/ ภำระงำน (รวบยอด) - แบบประเมินชิ้นงำน/ ภำระงำน (รวบยอด) - ระดับคุณภำพ 2 ผ่ำนเกณฑ์