SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ)
(ทุกสังกัด)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖
ระหว่างวันที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ถึงวันที่ ๓๑ เดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๖๖
ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นางสาวจิรัฐิติ นามสกุล ช่วยคง .ตำแหน่ง ครู
สถานศึกษา โรงเรียนบ้านสันติสุข สังกัด สำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑
รับเงินเดือนในอันดับ คศ. ๑ อัตราเงินเดือน ๒๔,๐๒๐ บาท
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด
การเรียนรู้จริง)
 ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน
 ห้องเรียนปฐมวัย
 ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
 ห้องเรียนสายวิชาชีพ
 ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย
ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตำแห่งครู(ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซึ่งเป็น
ตำแหน่ง ที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ๒๖ ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จำนวน ๑๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา คณิตศาสตร์ จำนวน ๘ ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ลูกเสือ-เนตรนารี จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาทักษะ การอ่าน/เขียน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชุมนุม - ลดเวลาเพิ่มเวลารู้ จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
ชั่วโมงเพิ่มเติม (แนะแนว) จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
อบรมคุณธรรม จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน.......๑๐......ชั่วโมง/สัปดาห์
การมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะบุคคล IEP จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
การสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
งานส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
PA ๑/ส
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน.........๔๕...ชั่วโมง/สัปดาห์
หัวหน้ากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
หัวหน้ากลุ่มสาระการงานอาชีพ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
หัวหน้างานธุรการ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
หัวหน้างานระบบข้อมูลสารสนเทศ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
หัวหน้างานระบบดูแลช่วยนักเรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
งานจัดระบบบริหารและพัฒนาองค์กร จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
งานส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการบุคลากร และชุมชน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
งานส่งเสริมการใช้สื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษา จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
งานพัสดุ และสินทรัพย์ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการกิจกรรมทักษะทางภาษา จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการกิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนแบบ Active Learning
จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการกิจกรรมผลิตสื่อ นวัตกรรม จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการโครงการส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุด
จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการโครงการส่งเสริมงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน.....๓........ชั่วโมง/สัปดาห์
เร่งแก้ปัญหากลุ่มผู้เรียนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-
19
เสริมสร้างระบบและกลไกในการดูแลควาปลอดภัยนักเรียน ด้วยมาตรฐานความปลอดภัย
กระทรวงศึกษาธิการ (MOE Safety Platform)
ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และ
ปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่ หลากหลายรูปแบบ (Active Learning) มีการวัดและประเมินผล
ในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรียน (Assessment for Learning) ทุกระดับ
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้าน
ว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
งาน (Tasks)
ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง
ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ)
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ของงานตามข้อตกลงที่
คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ
ผู้เรียน(โปรดระบุ)
ตัวชี้วัด (Indicators)
ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่
แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
1. ด้านการจัดการเรียนรู้
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม
ถึงการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร
การออกแบบการจัดการเรียนรู้การ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้การสร้างและ
หรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยี
และแหล่งเรียนรู้การวัดและ
ประเมินผลการจัดการเรียนรู้
การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อ
แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้การ
จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนา
ผู้เรียนและการอบรมและพัฒนา
คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน
1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร
- มีการจัดทำหลักสูตรรายวิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการ
คำนวณ) ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการ
เรียนรู้ และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้
ตามหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา
สมรรถนะและการเรียนรู้ เต็มศักยภาพ
โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับ
บริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และ
ท้องถิ่น
1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้
- จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบ
สืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based
Learning) ร า ยว ิ ช า เท ค โนโลยี
(วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ หน่วย
การเรียนรู้ที่ ๑ การแก้ปัญหาโดยใช้
เหตุผลเชิงตรรกะ ที่มีรูปแบบการ
เรียนรู้ เทคนิค และวิธีการที่เน้นผู้เรียน
เป๋นสำคัญ
1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
ทักษะด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้
แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based
Learning) ร า ยว ิ ช า เท ค โนโลยี
(วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ หน่วยการ
เรียนรู้ที่ ๑ การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล
เชิงตรรกะ ที่ช่วยกระตุ้นความสนใจ
เรียนรู้
1) ผู้เรียนได้รับการจัดการ
เรียนรู้ตามหลักสูตรและมี
ความรู้ตามมาตรฐานและ
ตัวชี้วัด ในรายวิชา
เทคโนโลยี (วิทยาการ
คำนวณ)
2) ผู้เรียนได้รับการพัฒนา
การคิดวิเคราะห์ ตาม
สมรรถนะสำคัญผู้เรียน
แ ล ะ ท ั ก ษ ะ ๔ Cs ใ น
รายวิชาเทคโนโลยี
(วิทยาการคำนวณ)
1) นักเรียนทุกคนมี
ผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อย
ละ ๖๐ ในรายวิ ช า
เทคโนโลยี (วิทยาการ
ค ำ น ว ณ ) เ รื่ อ ง ก า ร
แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ย
สูงขึ้นร้อยละ ๗๐
2) นักเรียนร้อยละ ๗0
มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
สมรรถณะสำคัญผู้เรียน
และทักษะ ๔Cs อยู่ใน
ระดับดีขึ้นไป
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
งาน (Tasks)
ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง
ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ)
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ของงานตามข้อตกลงที่
คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ
ผู้เรียน(โปรดระบุ)
ตัวชี้วัด (Indicators)
ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่
แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ
นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้
- มีการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ
นวัตกรรม เทคโนโลยีและ แหล่งเรียนรู้
สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมี
การปรับประยุกต์ ให้สอดคล้องกับ
ความแตกต่างของผู้เรียน และทาให้
ผู้เรียน มีทักษะการคิดและสามารถ
สร้างนวัตกรรมได้
- จัดทาสื่อที่ส่งเสริมพัฒนานักเรียนโดย
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- พัฒนาห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้
พร้อมบริการ
- นักเรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอก
โรงเรียนได้แก่ สื่อออนไลน์ เวปไซต์
ต่าง ๆ
1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้
- มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย เหมาะสม
และสอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้
ให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่อง
- สร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลเพื่อ
การพัฒนาผู้เรียนตามสภาพจริงและวัด
การคิดวิเคราะห์
1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และ
สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือ
พัฒนาการเรียนรู้
- มีการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์
เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ที่
ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน
- วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- จัดกลุ่มนักเรียน
- วางแผนพัฒนานักเรียนตามศักยภาพ
และความแตกต่างระหว่างบุคคล
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
งาน (Tasks)
ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง
ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ)
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ของงานตามข้อตกลงที่
คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ
ผู้เรียน(โปรดระบุ)
ตัวชี้วัด (Indicators)
ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่
แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ
พัฒนาผู้เรียน
- มีการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ
พัฒนาผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการคิด
ทักษะชีวิต ทักษะการทางาน ทักษะ
การเรียนรู้ และนวัตกรรม ทักษะด้าน
สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
- จัดบรรยากาศห้องเรียนให้ได้
มาตรฐานห้องเรียนคุณภาพ (Onsite)
-จัดกระบวนการเรียนรู้ (Online)
1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดี
ของผู้เรียน
- มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมี
คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยที่ดี
งาม
- จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์
2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน
การจัดการเรียนรู้
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม
ถึงการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของ
ผู้เรียนและรายวิชาการดำเนินการ
ตามระบบ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
การปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ
ของสถานศึกษา และการประสาน
ความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคี
เครือข่าย และหรือสถาน
ประกอบการ
2.1 จัดทาข้อมูลสารสนเทศของ
ผู้เรียนและรายวิชา
- มีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศของ
ผู้เรียนและรายวิชาเทคโนโลยี (วิทย
การคำนวณ) เพื่อใช้ในการส่งเสริม
สนับสนุนการเรียนรู้ และพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน
- จัดทาข้อมูลสารสนเทศและ
เผยแพร่ข้อมูลเพื่อเป็นการให้ข้อมูล
ย้อนกลับแก่ผู้เรียน/ผู้ปกครอง
1.ผลการประเมิน
2.ระบบดูแลฯ
1) นักเรียนได้รับการ
สนับสนุน ช่วยเหลือดูแล
ทั้งด้านวิชาการ การ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน รายวิชาเทคโนโลยี
(วิทยาการคำนวณ)
2) นักเรียนได้รับการแก้ไข
หรือพัฒนาทั้งด้า น
สมรรถนะ และทักษะ ๔
Cs ในรายวิชาเทคโนโลยี
(วิทยาการคำนวณ)
1) นักเรียนทุกคนมี
ผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อย
ละ ๖๐ ในรายวิ ช า
เทคโนโลยี (วิทยาการ
ค ำ น ว ณ ) เ รื่ อ ง ก า ร
แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ย
สูงขึ้นร้อยละ ๗๐
2) นักเรียนร้อยละ ๗0
มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
สมรรถณะสำคัญผู้เรียน
และทักษะ ๔Cs อยู่ใน
ระดับดีขึ้นไป
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
งาน (Tasks)
ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง
ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ)
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ของงานตามข้อตกลงที่
คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ
ผู้เรียน(โปรดระบุ)
ตัวชี้วัด (Indicators)
ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่
แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
2.2 ดำเนินการตามระบบดูแล
ช่วยเหลือผู้เรียน
- มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ
ผู้เรียนรายบุคคล และประสาน
ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
เพื่อพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียน
1.จัดทาช่องทางการเผยแพร่ผลการ
ประเมินผู้เรียนต่อผู้ปกครอง
รายบุคคล เพื่อการางแผนพัฒนา
ผู้เรียนร่วมกัน
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงาน
อื่นๆ ของสถานศึกษา
- ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และ
งานอื่นๆ ของสถานศึกษา เพื่อ
ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา
- ร่วมกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา
- ร่วมกิจกรรมการจัดทาแผนพัฒนา
คุณภาพสถานศึกษา
- ผู้ดูแลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
2.4 ประสานความร่วมมือกับ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือ
สถานประกอบการ
- ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง
ภาคีเครือข่าย และหรือสถาน
ประกอบการ เพื่อร่วมกันพัฒนา
ผู้เรียน
- ร่วมกิจกรรมประชุมผู้ปกครอง 1
ครั้ง/ภาคเรียน
- จัดให้มีช่องทางในการติดต่อสื่อสาร
กับผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
งาน (Tasks)
ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง
ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ)
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ของงานตามข้อตกลงที่
คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ
ผู้เรียน(โปรดระบุ)
ตัวชี้วัด (Indicators)
ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่
แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
3. ด้านการพัฒนาตนเองและ
วิชาชีพ
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม
ถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ
และต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้และการนำ
ความรู้ความสามารถทักษะที่ได้จาก
การพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการ
พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ
และต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้
ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และ
การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ
การศึกษา สมรรถนะวิชาชีพครูและ
ความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการ
สอน
- พัฒนาการใช้เทคโนโลยี
3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้
-เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนทั้ง
ภายในและระหว่างสถานศึกษา
3.3 นำความรู้ ความสามารถ
ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง
และวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้ การพัฒนา คุณภาพ
ผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการ
จัดการเรียนรู้
1) นักเรียนได้รับการ
สนับสนุน ช่วยเหลือดูแล
ทั้งด้านวิชาการ การ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน รายวิชาเทคโนโลยี
(วิทยาการคำนวณ)
2) นักเรียนได้รับการแก้ไข
หรือพัฒนาทั้งด้า น
สมรรถนะ และทักษะ ๔
Cs ในรายวิชาเทคโนโลยี
(วิทยาการคำนวณ)
1) นักเรียนทุกคนมี
ผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อย
ละ ๖๐ ในรายวิ ช า
เทคโนโลยี (วิทยาการ
ค ำ น ว ณ ) เ รื่ อ ง ก า ร
แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ย
สูงขึ้นร้อยละ ๗๐
2) นักเรียนร้อยละ ๗0
มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
สมรรถณะสำคัญผู้เรียน
และทักษะ ๔Cs อยู่ใน
ระดับดีขึ้นไป
หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการ
เรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำ
ข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ที่ส่งผล
โดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของ
รายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้อง
แสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลง
สามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน
(Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา
งานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการ
เรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางาน ตามข้อตกลงเป็น
สำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง
ครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ แก้ไขปัญหา การจัดการเรียนรู้และการ
พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ประเด็น
ท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้)
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การจัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ของ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
(Inquiry-Based Learning) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน และพัฒนาสมรรถนะ ทักษะของผู้เรียนให้สูงขึ้น
1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
จากการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ขั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ พบว่า มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ค่อยดี เพราะนักเรียนมองว่าเป็นเรื่องยาก ไกลตัว ไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้ที่เรียนกับ
ชีวิตประจาวันได้ จึงรู้สึกเบื่อหน่าย ไม่ค่อยสนใจ ไม่อยากเรียน พบว่านักเรียนขาดทักษะ กระบวนการคิด ยังสับสน
ในขั้นตอนการแก้ปัญหา การเขียนรหัสจำลองและผังงานได้ จึงมีการจัดกิจกรรม สื่อการสอน และเสริมสร้างทักษะ
กระบวนการคิดเชิงคำนวณ ในรูปแบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) ในกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา
เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) เพื่อแก้ไขปัญหา และพัฒนากระบวนการคิดเชิงคำนวณที่ตรงตามสมรรถนะ และ
ทักษะที่สำคัญทางวิทยาศาสตร์ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของให้นักเรียนให้สูงขึ้น
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
- การวางแผน (Plan)
1. ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล แนวคิด และทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการ
จัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) ที่ส่งผลต่อการพัฒนาความรู้
ความสามารถ
2. ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning)
วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวน
สอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
4. ปรับปรุง/พัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based
Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
- การปฏิบัติ (Do)
1. นำกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ที่ผ่านการปรับปรุงแล้วไปจัดการเรียนรู้กับ
กลุ่มเป้าหมาย
- การตรวจสอบ (Check)
1. ศึกษาประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based
Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
2. ศึกษาข้อมูลย้อนกลับของผู้เรียน (Feedback) ต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ
สืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
- การปรับปรุงแก้ไข (Act)
1. ปรับปรุงแก้ไขกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based
Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
1.1 รวบรวมข้อมูลตอบกลับจากผู้เรียน (Feedback) ต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ
สืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
เพื่อแยกประเด็นในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้
1.2 นำประเด็นดังกล่าวเข้าสู่วง PLC เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางการพัฒนาตาม
ประเด็น
1.3 ศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแล้วจัดทำเป็นสารสนเทศเพื่อใช้แก้ปัญหาใน
รอบปีถัดไป
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทุกคน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๖๐ โดยมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นร้อยละ ๗๐ หลังจากได้รับการ
จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning)
3.2 เชิงคุณภาพ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทุกคน มีสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และทักษะ ๔Cs
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) โดยมีผลการประเมิน
สมรรถนะ และทักษะทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) อยู่ในเกณฑ์ระดับ
ดี ขึ้นไป ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียนทั้งหมด
ลงชื่อ........................................................................
(นางสาวจิรัฐิติ ช่วยคง)
ตำแหน่ง ครู คศ.๑ โรงเรียนบ้านสันติสุข
ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
................/.............../...................
ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอ
เพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้
.......................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ....................................................................
(นางจิตรลดา สุวรรณทิพย์)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสันติสุข
................/.............../...................
ภาคผนวก ก
หลักฐาน/เอกสาร ข้อตกลงในการพัฒนางาน(PA) ส่วนที่ 1
๑
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อนำไปพัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดทำโครงสร้างรายวิชา รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ให้สอดคล้องกับหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง2560) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านสันติ
สุข
1
ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 1.1 การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร
ตารางการวิเคราะห์หลักสูตร
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
หลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
๒
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้าจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) รายวิชาเทคโนโลยี
(วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะ ที่มีรูปแบบการเรียนรู้ เทคนิค และวิธีการที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 บรรลุตัวชี้วัด  ตามเป้า 
เกินเป้า
 ไม่บรรลุตัวชี้วัด เนื่องจาก
ตัวชี้วัดที่ 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
(Inquiry-Based Learning)
1
ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
๓
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้าจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
(Inquiry-Based Learning) รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ ที่ช่วยกระตุ้นความสนใจการเรียนรู้ แก้ไขความเบื่อหน่าย
ในการเรียน ลดเวลา ลดภาระช่องว่างในการจัดการเรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1
ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
๔
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้าสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและ แหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการ
เรียนรู้ โดยมีการปรับประยุกต์ ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียน มีทักษะการคิดและสามารถ
สร้างนวัตกรรมได้
ข้าพเจ้าประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ที่เป็นประโยชน์และน่าสนใจ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น
Plickers, Wordwall, Youtube, Power Point, Google Form เป็นต้น
ข้าพเจ้าพัฒนาห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้พร้อมบริการ โดยการลงโปรแกรม NetSupportSchool
เพื่อควบคุมการจัดการเรียนรู้ ควบคุมพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์การทำงานของคอมพิวเตอร์นักเรียน
ตัวชี้วัดที่ 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
1
ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
๕
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้าสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม ที่เรียกว่าแผ่นเกมแม่เหล็ก สำหรับการแก้ปัญหา (ใบงานที่
๑) เรื่อง ต่อยอดการแก้ปัญหาด้วยเหตุผลเชิงตรรกะ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถศึกษาปีที่ ๖ เพื่อ
แก้ปัญหาการใช้ใบงานแบบเดิมๆ ทำให้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย ซึ่งกิจกรรมนี้เสริมสร้างทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
ของผู้เรียน ด้านการสื่อสาร ด้านการร่วมมือทำงานเป็นทีม ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการ
แก้ปัญหา อ่าน คิด วิเคราะห์ ฯลฯ และบูรณาการทักษะทางวิทยาศาสตร์ ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่
กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
1
ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
แผ่นเกมแม่เหล็ก สำหรับการแก้ปัญหา (ใบงานที่ ๑)
เรื่อง ต่อยอดการแก้ปัญหาด้วยเหตุผลเชิงตรรกะ
ชิ้นงานกลุ่ม : ที่เกิดจากกระบวนการทำงานเป็นกลุ่มของนักเรียน
มีการปฏิบัติงานร่วมกัน ร่วมคิด ร่วมลงความคิดเห็น ออกแบบ
และตัดสินใจร่วมกัน
๖
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้าการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม สอดคล้องกับมาตรฐานการ
เรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีการพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาจาก
1) แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เรื่อง เหตุผลเชิงตรรกะกับการการแก้ปัญหา
2) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
3) แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง เหตุผลเชิงตรรกะกับการการแก้ปัญหา
และนำผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้มาใช้แก้ไขปัญหาการจัดการเรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้
1
ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
๗
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้าศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
1) เทคนิคการสอนเรื่อง เหตุผลเชิงตรรกะกับการการแก้ปัญหา
2) การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning)
3) ทำวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดเชิงคำนวณ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการ
คำนวณ) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
และนำความรู้ที่ได้มาวางแผนในการแก้ปัญหาการเรียน โดยมีการบันทึกรายละเอียดไว้ในหลังแผนการ
จัดการเรียนรู้
 บรรลุตัวชี้วัด  ตามเป้า  เกินเป้า
ตัวชี้วัดที่ 1.6 ศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้
1
ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
๘
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
 ไม่บรรลุตัวชี้วัด เนื่องจาก
ข้าพเจ้ามีการพัฒนาการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน เช่น มีการจัดบรรยากาศการ
เล่นเกม เปิดคลิปวิดีโอ ให้ผู้เรียนรู้สึกสนุก เร้าใจ และช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนต้องการมีส่วนร่วมกับกิจกรรม ส่งเสริม
ผู้เรียนทุกคนให้มีโอกาสนำเสนอความคิดเห็น สร้างแรงบันดาลใจในการเรียน รวมทั้งใช้สื่อ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยลด
ระยะเวลาในการเรียนรู้ของผู้เรียน และสามารถทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้น ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวน
สอบสวน (Inquiry-Based Learning)
ตัวชี้วัดที่ 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน
1
ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้แบบ Online ผ่าน สื่อ
youtube, Wordwall และ Google form
๙
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้ามีการอบรมบ่มนิสัย ส่งเสริมคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน คือ ให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัยปฏิบัติตาม
ข้อตกลงของห้องเรียนระหว่างทำกิจกรรมการเรียนรู้ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยที่ดีงาม
ตัวชี้วัดที่ 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน
1
ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
อบรมคุณธรรมในทุกวันศุกร์
และวันสำคัญต่างๆ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
MS excel
๑๐
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
1) นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ได้รับการจัดการเรียนรู้หลักสูตรและมีความรู้ตามมาตรฐานและ
ตัวชี้วัด รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) เรื่อง การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ ผ่านกระบวนการจัดการ
เรียนรู้แบบสืบสวนสอบสน (Inquiry-Based Learning)
2) นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ ๖ ได้รับการแก้ปัญหาหรือพัฒนาด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1) นักเรียนทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๖๐ ในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) เรื่อง การ
แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นร้อยละ ๗๐
ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
2) ผู้เรียนร้อยละ ๗๐ มีคะแนนสมรรถนะผู้เรียน และทักษะ ๔Cs อยู่ในระดับดีขึ้นไป
ตารางที่ ๒ สรุปการประเมินสมรรถนะผู้เรียน และทักษะ ๔Cs
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 256๖
ตัวชี้วัด จำนวนผู้เรียน
ทั้งหมด (คน)
จำนวนผู้เรียนที่ผ่าน
เกณฑ์ดี
ขึ้นไป (คน)
ร้อยละของจำนวนผู้เรียนที่ผ่าน
เกณฑ์ดี
ขึ้นไป
แบบประเมิน
คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์
๑๙ ๑๕ 78.95
** สรุปผลการประเมินตัวชี้วัดตามประเด็นท้าทายทั้งสองด้าน
สรุปได้ว่าหลังจากจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยา
คำนวณ) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เรื่อง การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะนั้น นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๖ ได้ผลสัมฤทธิ์เกินกว่าเป้าหมายที่คาดหวังไว้ทั้ง 2 ด้าน ดังตารางข้างต้น
ผลการเรียนรู้ คะแนนเต็ม เกณฑ์ร้อยละ
๖๐
ค่าเฉลี่ย (𝒙) ร้อยละของ
ผลสัมฤทธิ์
แบบทดสอบ 10 ๖ 8.๑๑ ๘๑.๐๕
ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง
ตัวชี้วัด (Indicators) ที่แสดงให้เห็นถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
1
ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
๑๑
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้าจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) โดยใช้ Google
Spreadsheets และโปรแกรม Microsoft Excel ในการจัดเก็บข้อมูล และรายงานผลสะท้อนกลับให้ผู้เรียนทุกสัปดาห์
ที่มีการบันทึกผลการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนทราบว่า ต้องปรับปรุงแก้ไขผลการเรียนในหัวข้อใดบ้าง หรือผู้เรียนคนใดยัง
ไม่ได้ทดสอบ หรือส่งภาระ/ชิ้นที่กำหนด
ด้านที่ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 2.1 จัดทาข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
2
แบบประเมินคุณลักษณะ ๘ ประการ ด้วยโปรแกรม Excel
แบบทดสอบ Online ด้วย Google Form บันทึกคะแนนนักเรียนบน Google spreadsheets
มีการติดต่อสื่อสาร และเผยแพร่ผลการเรียน กับนักเรียนและผู้ปกครอง
ผ่านระบบ Application Line
๑๒
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้าดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน มีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียน เพื่อคัดกรองนักเรียน
วิเคราะห์นักเรียนรายบุคคล จัดทำข้อมูลวิเคราะห์นักเรียนรายบุคคล แบบบันทึกการเยี่ยมบ้านนักเรียน เพื่อนำผลการ
วิเคราะห์มาจัดหาวิธีแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
สร้างเครือข่ายผู้ปกครองในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยสื่อสารผ่านกลุ่มไลน์ มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศ
เกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคล และประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน เผยแพร่ผลงาน
ผู้เรียนต่อผู้ปกครอง เพื่อการวางแผนพัฒนาผู้เรียนร่วมกันโดยการใช้แอพพลิเคชั่น line ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการดูแล
เอาใจใส่ตรงตามความต้องการรายบุคคลและมีความสัมพันธ์อันดีระหว่างครู นักเรียน และผู้ปกครอง
ตัวชี้วัดที่ 2.2 ดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
ด้านที่ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้เรียนรู้
2
ข้าพเจ้าจัดทำช่องทางการเผยแพร่ผลการ
ประเมินผู้เรียนต่อผู้ปกครองรายบุคคล เพื่อ
การวางแผนพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน ผ่านทาง
Application Line
๑๓
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้าปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่นๆ ของสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา โดยปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และร่วมกับคุณครูจัดการเรียนรู้
ให้กับผู้เรียน โดยใช้สื่อ ที่ครูสร้างขึ้น ร่วมกับเทคโนโลยีทางการศึกษา ให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ของผู้เรียน
- ข้าพเจ้าได้ร่วมกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีส่วนร่วมในการออกแบบ และจัดทำหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
- เป็นครูผู้จัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เช่น ระบบ IEP online , ระบบ Set เป็นต้น
ตัวชี้วัดที่ 2.3 การปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา
ด้านที่ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้เรียนรู้
2
๑๔
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้าได้ร่วมจัดกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
■ กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง นักเรียน 1 ครั้ง/ภาคเรียน
■ กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
■ กิจกรรมเครือข่ายผู้ปกครองผ่านไลน์กลุ่ม
■ ร่วมกิจกรรมมัสยิต
■ ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชนสันติสุข
ข้าพเจ้าประสานความร่วมมือกับครูประจำชั้นนักเรียน ในการติดตามนักเรียนที่ยังไม่ส่งภาระงาน โดยแจ้งผ่าน
Line ห้องเรียนเพื่อให้ครูประจำชั้นและผู้ปกครองได้กำกับติดตาม
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ
ด้านที่ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้เรียนรู้
2
๑๕
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้าพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยการอบรมกับหน่วยงานที่จัดการอบรมเกี่ยวกับ
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา การพัฒนาเวบไซต์ แอพพลิเคชั่น ต่างๆ ที่สามารถใช้ในการจัดการเรียนรู้ หรือการ
บริหารจัดการในสถานศึกษาได้ และการอบรมเชิงปฏิบัติการผู้คัดกรองผู้พิการทางการศึกษา
3
ด้านที่ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
ตัวชี้วัดที่ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
๑๖
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้ามีส่วนในการเป็นเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ ผ่านกิจกรรมนิเทศการจัดการเรียนรู้ และนำผลจากการประชุม PLC ไปสร้างเป็น
สื่อ นวัตกรรม เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ตัวชี้วัดที่ 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
3
ด้านที่ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
๑๗
ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู
ข้าพเจ้านำความรู้ ความ สามารถ ทักษะ ที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาทักษะการ
จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) เรื่อง เหตุผลเชิงตรรกะ
กับการการแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อเป็นนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน พร้อมกับนำความรู้เรื่องการคัดกรองนักเรียนพิการเรียนรวม มาใช้ในการคัดกรอกนักเรียน เพื่อมาปรับ
ประยุกต์วิธีการสอน วิธีการวัดประเมินผลให้หลากหลาย เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวชี้วัดที่ 3.3 นาความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้
3
ด้านที่ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
ภาคผนวก ข
หลักฐาน/เอกสาร ข้อตกลงในการพัฒนางาน(PA) ส่วนที่ 2
งานในประเด็นท้าทาย
เช่น
แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
ผลการทดสอบหลังเรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ปี๒๕๖๖
แผนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ปี๒๕๖๖
หลักสูตรสถานศึกษา
ปี๒๕๖๖
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-
นางสาวจิรัฐิติ ปี๒๕๖๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 4
จัดทำโดย นำงสำวจิรัฐิติ ช่วยคง ครูโรงเรียนบ้ำนสันติสุข
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสุรำษฎร์ธำนี เขต 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. เหตุผลเชิงตรรกะช่วยในกำรแก้ปัญหำได้อย่ำงไร
ก. ช่วยเพิ่มเงื่อนไขในกำรแก้ปัญหำ
ข. ช่วยป้องกันปัญหำไม่ให้เกิดขึ้นอีก
ค. ช่วยเพิ่มควำมซับซ้อนในกำรแก้ปัญหำ
ง. ช่วยตรวจสอบควำมสมเหตุสมผลในกำรแก้ปัญหำ
2. ปุ้ม ปู ปลำ เปรี้ยว เป็นพี่น้องกัน เปรี้ยวบอกว่ำเขำมีพี่หนึ่งคน
มีน้องสองคน ปูบอกว่ำเขำมีพี่สำมคน ปลำบอกว่ำ เขำมีน้องหนึ่ง
คน ใครอำยุมำกที่สุด
ก. ปุ้ม
ข. ปู
ค. ปลำ
ง. เปรี้ยว
3. บำส บอล เบล และบีม หลงทำงอยู่ในป่ำ เบลจำได้ว่ำ
ทำงออกต้องผ่ำนแม่น้ำ แต่ไม่ผ่ำนถ้ำและศำลำ บำสจำได้ว่ำมีถ้ำ
อยู่เส้นทำงที่ 1 และ 4 บอลจำได้ว่ำเส้นทำงที่ 2, 3 และ 4 มี
แม่น้ำไหลผ่ำน บีมจำได้ว่ำมีศำลำอยู่เส้นทำงที่ 3 ทำงออกคือ
เส้นทำงใด
ก. เส้นทำงที่ 1
ข. เส้นทำงที่ 2
ค. เส้นทำงที่ 3
ง. เส้นทำงที่ 4
4. แนวคิดในกำรแก้ปัญหำมีควำมสำคัญ ยกเว้นข้อใด
ก. ช่วยให้แก้ปัญหำได้อย่ำงเป็นขั้นตอน
ข. ช่วยสร้ำงเงื่อนไขให้กับปัญหำต่ำง ๆ
ค. ช่วยออกแบบกระบวนกำรแก้ปัญหำได้อย่ำงชัดเจน
ง. ช่วยให้กำรแก้ปัญหำสำมำรถทำได้ง่ำยและมีประสิทธิภำพ
5. ข้อใดบอกขั้นตอนกำรทำพิซซ่ำได้ถูกต้อง
ก. นวดแป้ง > ทำให้แป้งเป็นแผ่น > อบพิซซ่ำ >
ตกแต่งหน้ำพิซซ่ำ
ข. นวดแป้ง >ตกแต่งหน้ำพิซซ่ำ >ทำให้แป้งเป็นแผ่น >
อบพิซซ่ำ
ค. นวดแป้ง > ทำให้แป้งเป็นแผ่น > ตกแต่งหน้ำพิซซ่ำ>
อบพิซซ่ำ
ง. ทำให้แป้งเป็นแผ่น > นวดแป้ง > ตกแต่งหน้ำพิซซ่ำ >
อบพิซซ่ำ
6. หำกนักเรียนได้รับมอบหมำยให้จัดโต๊ะอำหำร โดยต้องวำงจำน
วำงช้อนส้อม ตกแต่งโต๊ะอำหำร และปูผ้ำปูโต๊ะ นักเรียนควรเลือกทำ
สิ่งใดก่อน จึงจะประหยัดเวลำมำกที่สุด
ก. วำงช้อนส้อมเพื่อควำมสะดวกในกำรตักอำหำร
ข. ปูผ้ำคลุมโต๊ะเพื่อคลุมหน้ำโต๊ะป้องกันรอยขีดข่วนต่ำง ๆ
ค. ตกแต่งโต๊ะอำหำร เพื่อสร้ำงบรรยำกำศในกำร
รับประทำนอำหำร
ง. วำงจำนเพื่อเป็นกำรกำหนดตำแหน่งของผู้นั่งรับประทำน
อำหำรให้แน่นอน
7. ข้อใดเป็นกำรทำงำนแบบวนซ้ำที่มีจำนวนครั้งแน่นอน
ก. ปุยรับประทำนยำตำมที่หมอสั่งจนกว่ำจะหำยป่วย
ข. บอลวิ่งออกกำลังกำยรอบสนำมไปเรื่อย ๆ จนกระทั่ง
เหนื่อย
ค. แดนโดนทำโทษให้เก็บขยะในสนำมไปเรื่อย ๆจนครบ100ชิ้น
ง. แบมเก็บเงินวันละ10บำทไปเรื่อยๆจนกว่ำจะพอซื้อหนังสือ
กำร์ตูน
8. ฝนกินขนมจำนวน 3 ชิ้น สำมำรถเขียนกำรทำงำนแบบวนซ้ำ
ที่มีจำนวนครั้งแน่นอนได้อย่ำงไร
ก. เริ่มต้น > กินขนม > หยุดกิน
ข. เริ่มต้น > กินขนม 3 ชิ้น > หยุดกิน
ค. เริ่มต้น > กินขนมชิ้นที่ 1 > กินขนมชิ้นที่ 3 > หยุดกิน
ง. เริ่มต้น > กินขนมชิ้นที่ 1 > กินขนมชิ้นที่ 2 > กินขนม
ชิ้นที่ 3 > หยุดกิน
9. งำนใดเหมำะกับกำรใช้แนวคิดกำรทำงำนแบบเงื่อนไขมำกที่สุด
ก. กำรทำขนมเค้ก
ข. กำรอำบน้ำโดยใช้ขัน
ค. กำรรดน้ำต้นไม้จำนวน 10 ต้น
ง. กำรตรวจสอบคะแนนสะสมในบัตรสมำชิก
10. ปูมีนัดส่งของให้ลูกค้ำเวลำ 15.00 น. หำกปูเดินทำงโดย
รถจักรยำนยนต์จะใช้เวลำ 15 นำที หำกเดินทำงโดยรถยนต์จะใช้
เวลำ 40 นำที ถ้ำขณะนี้เป็นเวลำ 14.30 น. ปูควรเดินทำงด้วย
วิธีใด จึงจะส่งของให้ลูกค้ำทัน
ก. รถยนต์
ข. รถจักรยำนต์ยนต์
ค. ทันทั้ง 2 วิธี
ง. ไม่ทันทั้ง 2 วิธี
แบบทดสอบก่อนเรียน
เฉลย 1. ง 2. ก 3. ข 4. ข 5. ค 6. ข 7. ข 8. ข 9. ง 10. ข
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 5
จัดทำโดย นำงสำวจิรัฐิติ ช่วยคง ครูโรงเรียนบ้ำนสันติสุข
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสุรำษฎร์ธำนี เขต 1
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
เฉลย
1. เหตุผลเชิงตรรกะช่วยในกำรแก้ปัญหำได้ ยกเว้นข้อใด
ก. ช่วยพิจำรณำสำเหตุของปัญหำ
ข. ช่วยเพิ่มเงื่อนไขในกำรแก้ปัญหำ
ค. ช่วยพิจำรณำควำมเป็นไปได้ของกำรแก้ปัญหำ
ง. ช่วยตรวจสอบควำมสมเหตุสมผลในกำรแก้ปัญหำ
2. เมืองพอดีอยู่เหนือเมืองพอใจ เมืองพอใจอยู่ใต้เมือง
พอเพียง เมืองพอเพียงอยู่เหนือเมืองพองำม และเมือง
พอดีอยู่ใต้เมืองพองำม เมืองอะไรอยู่เหนือสุด
ก. เมืองพอดี
ข. เมืองพอใจ
ค. เมืองพอเพียง
ง. เมืองพองำม
3. ปุ้ม ปู ปลำ เปรี้ยว เป็นพี่น้องกัน เปรี้ยวบอกว่ำเขำมีพี่
หนึ่งคน มีน้องสองคน ปูบอกว่ำเขำมีพี่สำมคน ปลำบอก
ว่ำเขำมีน้องหนึ่งคน ใครอำยุมำกที่สุด
ก. ปุ้ม ข. ปู
ค. ปลำ ง. เปรี้ยว
4. แนวคิดในกำรแก้ปัญหำมีควำมสำคัญอย่ำงไร
ก. ช่วยสร้ำงเงื่อนไขให้กับปัญหำต่ำง ๆ
ข. ช่วยกำหนดขอบเขตของวิธีกำรแก้ปัญหำ
ค. ช่วยออกแบบกระบวนกำรแก้ปัญหำให้มีควำม
ซับซ้อน
ง. ช่วยให้กำรแก้ปัญหำสำมำรถทำได้ง่ำยและมี
ประสิทธิภำพ
5. ข้อใดบอกขั้นตอนกำรหุงข้ำวได้ถูกต้อง
ก. ตวงข้ำวสำร > ตวงน้ำให้เหมำะสม > หุงข้ำว
> ล้ำงข้ำวให้สะอำด
ข. ตวงข้ำวสำร>ตวงน้ำให้เหมำะสม>ล้ำงข้ำวสำร
ให้สะอำด > หุงข้ำว
ค. ตวงข้ำวสำร > หุงข้ำว > ตวงน้ำให้เหมำะสม
> ล้ำงข้ำวสำรให้สะอำด
ง. ตวงข้ำวสำร > ล้ำงข้ำวสำรให้สะอำด >
ตวงน้ำให้เหมำะสม > หุงข้ำว
6. หำกนักเรียนได้รับมอบหมำยให้เปลี่ยนผ้ำปูที่นอน กวำดพื้น
ถูพื้น และกวำดหยำกไย่บนเพดำน นักเรียนควรเลือกทำสิ่งใด
ก่อน จึงจะประหยัดเวลำมำกที่สุด
ก. เปลี่ยนผ้ำปูที่นอน เพรำะเป็นที่กักเก็บฝุ่นมำกที่สุด
ข. ถูพื้น เพรำะระหว่ำงรอให้พื้นแห้งจะได้ไปทำควำม
สะอำดบริเวณอื่น
ค. กวำดพื้น เพรำะหำกพื้นสะอำดแล้วจะทำให้กำรทำ
ควำมสะอำดบริเวณอื่น ๆสะดวกมำกขึ้น
ง. กวำดหยำกไย่บนเพดำน เพรำะหยำกไย่จะได้ตกลงมำ
ที่บริเวณที่ต่ำกว่ำ และทำควำมสะอำดตำมลำดับ
7. เจนแจกใบปลิวประชำสัมพันธ์งำนวันลอยกระทงไปเรื่อย ๆ
จนหมด จัดเป็นแนวคิดกำรทำงำนแบบใด
ก. กำรทำงำนแบบลำดับ
ข. กำรทำงำนแบบมีเงื่อนไข
ค. กำรทำงำนแบบวนซ้ำที่มีจำนวนครั้งแน่นอน
ง. กำรทำงำนแบบวนซ้ำที่มีจำนวนครั้งไม่แน่นอน
8. แฟงปลูกต้นไม้จำนวน 3 ต้น สำมำรถเขียนกำรทำงำนแบบ
วนซ้ำที่มีจำนวนครั้งแน่นอนได้อย่ำงไร
ก. เริ่มต้น > ปลูกต้นไม้ > หยุดปลูก
ข. เริ่มต้น > ปลูกต้นไม้ 3 ต้น > หยุดปลูก
ค. เริ่มต้น > ปลูกต้นที่ 1 > ปลูกต้นที่ 3 > หยุดปลูก
ง. เริ่มต้น > ปลูกต้นที่ 1 > ปลูกต้นที่ 2 > ปลูกต้นที่ 3
> หยุดปลูก
9. งำนใดเหมำะกับกำรใช้แนวคิดกำรทำงำนแบบเงื่อนไขมำกที่สุด
ก. กำรแต่งตัวไปโรงเรียน
ข. กำรร้อยลูกปัดเพื่อทำสร้อยคอ
ค. กำรสังเกตไฟจรำจรก่อนข้ำมถนน
ง. กำรแจกนมให้นักเรียนในตอนเช้ำ
10. ครูมำนะกำหนดเงื่อนไขในกำรสอบวิชำภำษำไทย โดยหำก
นักเรียนได้คะแนนต่ำกว่ำ 10 คะแนนถือว่ำสอบตก ถ้ำปลำ
ได้คะแนนสอบ 10 คะแนน และเอ๋ได้คะแนนสอบ 17
คะแนน หมำยควำมว่ำอย่ำงไร
ก. ปลำและเอ๋สอบผ่ำน ข. ปลำและเอ๋สอบตก
ค. ปลำสอบตก เอ๋สอบผ่ำน ง. ปลำสอบผ่ำน เอ๋สอบต
1. ข 2. ค 3. ก 4. ง 5. ง 6. ง 7. ง 8. ข 9. ค 10. ก
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที 1
กอนเรียน
(คะแนนเต็ม ๑๐)
หลังเรียน
(คะแนนเต็ม ๑๐)
๑ เด็กชายกิตติศักดิ์ หมื่นระหมัด 4 7 +3
๒ เด็กชายณัฐชวิน และสงา 5 ๑๐ +๕
๓ เด็กชายภูวเรศ ทองคํา 4 7 +3
๔ เด็กชายรภีพัฒน เมฆโสะ 3 7 +4
๕ เด็กชายสุกฤษฎ สะหะเล็ม 3 7 +๔
๖ เด็กชายอชาวิน วันดี 2 7 +5
๗ เด็กชายอานัต วันรัง 3 8 +5
๘ เด็กหญิงณัฏฐณิชา ขอบเวช 4 9 +5
๙ เด็กหญิงดาวิกา จบสมัย 3 7 +4
๑๐ เด็กหญิงมัสลิน วงษอิสลาม 2 7 +5
๑๑ เด็กหญิงรรินดา การะพิทักษ 4 9 +5
๑๒ เด็กหญิงวณิชยา ซันเล็ม 4 9 +5
๑๓ เด็กหญิงศิยานันท โดยเจริญ 3 9 +6
๑๔ เด็กหญิงหนึ่งธิดา วิเชียรสวาง 3 7 +4
๑๕ เด็กหญิงณัฏฐณิชา ชัยชํานิ 3 ๑๐ +๗
๑๖ เด็กหญิงนาตชา อะดํา 4 9 +5
๑๗ เด็กหญิงลียานา มหันกฤษ 5 ๑๐ +๕
๑๘ เด็กหญิงกวิตา วันดี 4 8 +4
๑๙ เด็กชายนนณพัฒน สมหวัง 2 7 +5
65 154
34.21 81.05
3.42 8.11
รวม
รอยละ
เฉลี่ย
แบบบันทึกผลการทําแบบทดสอบ กอน-หลังเรียน
รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) หนวยการเรียนรูที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖
เลขที
่
ชื่อ - สกุล
ผลคะแนนแบบทดสอบ
คะแนนความกาวหนา
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf

More Related Content

What's hot

แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
คู่อันดับ
คู่อันดับคู่อันดับ
คู่อันดับ
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 

Similar to รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf

รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข krurutsamee
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1Trai Traiphop
 
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข ดอกหญ้า ธรรมดา
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอkrupornpana55
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...Kroo Keng
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...Kroo Keng
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 

Similar to รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf (20)

รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1
 
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
 
Ex
ExEx
Ex
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
Titiya_Act-Power1
Titiya_Act-Power1Titiya_Act-Power1
Titiya_Act-Power1
 

รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf

  • 1.
  • 2. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) (ทุกสังกัด) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ ระหว่างวันที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ถึงวันที่ ๓๑ เดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๖๖ ผู้จัดทำข้อตกลง ชื่อ นางสาวจิรัฐิติ นามสกุล ช่วยคง .ตำแหน่ง ครู สถานศึกษา โรงเรียนบ้านสันติสุข สังกัด สำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑ รับเงินเดือนในอันดับ คศ. ๑ อัตราเงินเดือน ๒๔,๐๒๐ บาท ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด การเรียนรู้จริง)  ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน  ห้องเรียนปฐมวัย  ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ  ห้องเรียนสายวิชาชีพ  ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตำแห่งครู(ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซึ่งเป็น ตำแหน่ง ที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ๒๖ ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จำนวน ๑๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา คณิตศาสตร์ จำนวน ๘ ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ลูกเสือ-เนตรนารี จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนาทักษะ การอ่าน/เขียน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชุมนุม - ลดเวลาเพิ่มเวลารู้ จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ ชั่วโมงเพิ่มเติม (แนะแนว) จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ อบรมคุณธรรม จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน.......๑๐......ชั่วโมง/สัปดาห์ การมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะบุคคล IEP จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ การสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ งานส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ PA ๑/ส
  • 3. 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน.........๔๕...ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวหน้ากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวหน้ากลุ่มสาระการงานอาชีพ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวหน้างานธุรการ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวหน้างานระบบข้อมูลสารสนเทศ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวหน้างานระบบดูแลช่วยนักเรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ งานจัดระบบบริหารและพัฒนาองค์กร จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ งานส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการบุคลากร และชุมชน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ งานส่งเสริมการใช้สื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษา จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ งานพัสดุ และสินทรัพย์ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการกิจกรรมทักษะทางภาษา จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการกิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนแบบ Active Learning จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการกิจกรรมผลิตสื่อ นวัตกรรม จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการโครงการส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุด จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการโครงการส่งเสริมงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน.....๓........ชั่วโมง/สัปดาห์ เร่งแก้ปัญหากลุ่มผู้เรียนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด- 19 เสริมสร้างระบบและกลไกในการดูแลควาปลอดภัยนักเรียน ด้วยมาตรฐานความปลอดภัย กระทรวงศึกษาธิการ (MOE Safety Platform) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และ ปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่ หลากหลายรูปแบบ (Active Learning) มีการวัดและประเมินผล ในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรียน (Assessment for Learning) ทุกระดับ
  • 4. 2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้าน ว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้) ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่ แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม ถึงการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการจัดการเรียนรู้การ จัดกิจกรรมการเรียนรู้การสร้างและ หรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้การวัดและ ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้การ จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียนและการอบรมและพัฒนา คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน 1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร - มีการจัดทำหลักสูตรรายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการ เรียนรู้ และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา สมรรถนะและการเรียนรู้ เต็มศักยภาพ โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และ ท้องถิ่น 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ - จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบ สืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) ร า ยว ิ ช า เท ค โนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ หน่วย การเรียนรู้ที่ ๑ การแก้ปัญหาโดยใช้ เหตุผลเชิงตรรกะ ที่มีรูปแบบการ เรียนรู้ เทคนิค และวิธีการที่เน้นผู้เรียน เป๋นสำคัญ 1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ - จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) ร า ยว ิ ช า เท ค โนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ หน่วยการ เรียนรู้ที่ ๑ การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล เชิงตรรกะ ที่ช่วยกระตุ้นความสนใจ เรียนรู้ 1) ผู้เรียนได้รับการจัดการ เรียนรู้ตามหลักสูตรและมี ความรู้ตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัด ในรายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) 2) ผู้เรียนได้รับการพัฒนา การคิดวิเคราะห์ ตาม สมรรถนะสำคัญผู้เรียน แ ล ะ ท ั ก ษ ะ ๔ Cs ใ น รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1) นักเรียนทุกคนมี ผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อย ละ ๖๐ ในรายวิ ช า เทคโนโลยี (วิทยาการ ค ำ น ว ณ ) เ รื่ อ ง ก า ร แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง ตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ย สูงขึ้นร้อยละ ๗๐ 2) นักเรียนร้อยละ ๗0 มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น สมรรถณะสำคัญผู้เรียน และทักษะ ๔Cs อยู่ใน ระดับดีขึ้นไป
  • 5. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่ แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ - มีการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและ แหล่งเรียนรู้ สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมี การปรับประยุกต์ ให้สอดคล้องกับ ความแตกต่างของผู้เรียน และทาให้ ผู้เรียน มีทักษะการคิดและสามารถ สร้างนวัตกรรมได้ - จัดทาสื่อที่ส่งเสริมพัฒนานักเรียนโดย ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - พัฒนาห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้ พร้อมบริการ - นักเรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอก โรงเรียนได้แก่ สื่อออนไลน์ เวปไซต์ ต่าง ๆ 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ - มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้ ให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง - สร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลเพื่อ การพัฒนาผู้เรียนตามสภาพจริงและวัด การคิดวิเคราะห์ 1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือ พัฒนาการเรียนรู้ - มีการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน - วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล - จัดกลุ่มนักเรียน - วางแผนพัฒนานักเรียนตามศักยภาพ และความแตกต่างระหว่างบุคคล
  • 6. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่ แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ พัฒนาผู้เรียน - มีการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ พัฒนาผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทางาน ทักษะ การเรียนรู้ และนวัตกรรม ทักษะด้าน สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี - จัดบรรยากาศห้องเรียนให้ได้ มาตรฐานห้องเรียนคุณภาพ (Onsite) -จัดกระบวนการเรียนรู้ (Online) 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดี ของผู้เรียน - มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยที่ดี งาม - จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม ถึงการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชาการดำเนินการ ตามระบบ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา และการประสาน ความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคี เครือข่าย และหรือสถาน ประกอบการ 2.1 จัดทาข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชา - มีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชาเทคโนโลยี (วิทย การคำนวณ) เพื่อใช้ในการส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้ และพัฒนา คุณภาพผู้เรียน - จัดทาข้อมูลสารสนเทศและ เผยแพร่ข้อมูลเพื่อเป็นการให้ข้อมูล ย้อนกลับแก่ผู้เรียน/ผู้ปกครอง 1.ผลการประเมิน 2.ระบบดูแลฯ 1) นักเรียนได้รับการ สนับสนุน ช่วยเหลือดูแล ทั้งด้านวิชาการ การ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 2) นักเรียนได้รับการแก้ไข หรือพัฒนาทั้งด้า น สมรรถนะ และทักษะ ๔ Cs ในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1) นักเรียนทุกคนมี ผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อย ละ ๖๐ ในรายวิ ช า เทคโนโลยี (วิทยาการ ค ำ น ว ณ ) เ รื่ อ ง ก า ร แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง ตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ย สูงขึ้นร้อยละ ๗๐ 2) นักเรียนร้อยละ ๗0 มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น สมรรถณะสำคัญผู้เรียน และทักษะ ๔Cs อยู่ใน ระดับดีขึ้นไป
  • 7. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่ แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ) 2.2 ดำเนินการตามระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน - มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ ผู้เรียนรายบุคคล และประสาน ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียน 1.จัดทาช่องทางการเผยแพร่ผลการ ประเมินผู้เรียนต่อผู้ปกครอง รายบุคคล เพื่อการางแผนพัฒนา ผู้เรียนร่วมกัน 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงาน อื่นๆ ของสถานศึกษา - ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และ งานอื่นๆ ของสถานศึกษา เพื่อ ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา - ร่วมกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา - ร่วมกิจกรรมการจัดทาแผนพัฒนา คุณภาพสถานศึกษา - ผู้ดูแลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2.4 ประสานความร่วมมือกับ ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือ สถานประกอบการ - ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถาน ประกอบการ เพื่อร่วมกันพัฒนา ผู้เรียน - ร่วมกิจกรรมประชุมผู้ปกครอง 1 ครั้ง/ภาคเรียน - จัดให้มีช่องทางในการติดต่อสื่อสาร กับผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย
  • 8. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่ แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ) 3. ด้านการพัฒนาตนเองและ วิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม ถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ พัฒนาการจัดการเรียนรู้และการนำ ความรู้ความสามารถทักษะที่ได้จาก การพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการ พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ การศึกษา สมรรถนะวิชาชีพครูและ ความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการ สอน - พัฒนาการใช้เทคโนโลยี 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ -เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนทั้ง ภายในและระหว่างสถานศึกษา 3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ การพัฒนา คุณภาพ ผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้ 1) นักเรียนได้รับการ สนับสนุน ช่วยเหลือดูแล ทั้งด้านวิชาการ การ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 2) นักเรียนได้รับการแก้ไข หรือพัฒนาทั้งด้า น สมรรถนะ และทักษะ ๔ Cs ในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1) นักเรียนทุกคนมี ผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อย ละ ๖๐ ในรายวิ ช า เทคโนโลยี (วิทยาการ ค ำ น ว ณ ) เ รื่ อ ง ก า ร แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง ตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ย สูงขึ้นร้อยละ ๗๐ 2) นักเรียนร้อยละ ๗0 มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น สมรรถณะสำคัญผู้เรียน และทักษะ ๔Cs อยู่ใน ระดับดีขึ้นไป หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการ เรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำ ข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ที่ส่งผล โดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของ รายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้อง แสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลง สามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2 3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา งานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการ เรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางาน ตามข้อตกลงเป็น สำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร
  • 9. ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ แก้ไขปัญหา การจัดการเรียนรู้และการ พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ประเด็น ท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้) ประเด็นท้าทาย เรื่อง การจัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ของ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน และพัฒนาสมรรถนะ ทักษะของผู้เรียนให้สูงขึ้น 1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้ จากการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ขั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ พบว่า มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ค่อยดี เพราะนักเรียนมองว่าเป็นเรื่องยาก ไกลตัว ไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้ที่เรียนกับ ชีวิตประจาวันได้ จึงรู้สึกเบื่อหน่าย ไม่ค่อยสนใจ ไม่อยากเรียน พบว่านักเรียนขาดทักษะ กระบวนการคิด ยังสับสน ในขั้นตอนการแก้ปัญหา การเขียนรหัสจำลองและผังงานได้ จึงมีการจัดกิจกรรม สื่อการสอน และเสริมสร้างทักษะ กระบวนการคิดเชิงคำนวณ ในรูปแบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) ในกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) เพื่อแก้ไขปัญหา และพัฒนากระบวนการคิดเชิงคำนวณที่ตรงตามสมรรถนะ และ ทักษะที่สำคัญทางวิทยาศาสตร์ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของให้นักเรียนให้สูงขึ้น 2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล - การวางแผน (Plan) 1. ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล แนวคิด และทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) ที่ส่งผลต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถ 2. ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวน สอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) 4. ปรับปรุง/พัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) - การปฏิบัติ (Do) 1. นำกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ที่ผ่านการปรับปรุงแล้วไปจัดการเรียนรู้กับ กลุ่มเป้าหมาย - การตรวจสอบ (Check) 1. ศึกษาประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) 2. ศึกษาข้อมูลย้อนกลับของผู้เรียน (Feedback) ต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ สืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
  • 10. - การปรับปรุงแก้ไข (Act) 1. ปรับปรุงแก้ไขกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) 1.1 รวบรวมข้อมูลตอบกลับจากผู้เรียน (Feedback) ต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ สืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) เพื่อแยกประเด็นในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ 1.2 นำประเด็นดังกล่าวเข้าสู่วง PLC เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางการพัฒนาตาม ประเด็น 1.3 ศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแล้วจัดทำเป็นสารสนเทศเพื่อใช้แก้ปัญหาใน รอบปีถัดไป 3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง 3.1 เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทุกคน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๖๐ โดยมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นร้อยละ ๗๐ หลังจากได้รับการ จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) 3.2 เชิงคุณภาพ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทุกคน มีสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และทักษะ ๔Cs กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) โดยมีผลการประเมิน สมรรถนะ และทักษะทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) อยู่ในเกณฑ์ระดับ ดี ขึ้นไป ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียนทั้งหมด ลงชื่อ........................................................................ (นางสาวจิรัฐิติ ช่วยคง) ตำแหน่ง ครู คศ.๑ โรงเรียนบ้านสันติสุข ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ................/.............../................... ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา ( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอ เพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้ ....................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................................... (นางจิตรลดา สุวรรณทิพย์) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสันติสุข ................/.............../...................
  • 12. ๑ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อนำไปพัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดทำโครงสร้างรายวิชา รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ให้สอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง2560) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านสันติ สุข 1 ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 1.1 การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร ตารางการวิเคราะห์หลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี หลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
  • 13. ๒ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้าจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง ตรรกะ ที่มีรูปแบบการเรียนรู้ เทคนิค และวิธีการที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  บรรลุตัวชี้วัด  ตามเป้า  เกินเป้า  ไม่บรรลุตัวชี้วัด เนื่องจาก ตัวชี้วัดที่ 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) 1 ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
  • 14. ๓ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้าจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ ที่ช่วยกระตุ้นความสนใจการเรียนรู้ แก้ไขความเบื่อหน่าย ในการเรียน ลดเวลา ลดภาระช่องว่างในการจัดการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1 ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
  • 15. ๔ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้าสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและ แหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการ เรียนรู้ โดยมีการปรับประยุกต์ ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียน มีทักษะการคิดและสามารถ สร้างนวัตกรรมได้ ข้าพเจ้าประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ที่เป็นประโยชน์และน่าสนใจ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น Plickers, Wordwall, Youtube, Power Point, Google Form เป็นต้น ข้าพเจ้าพัฒนาห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้พร้อมบริการ โดยการลงโปรแกรม NetSupportSchool เพื่อควบคุมการจัดการเรียนรู้ ควบคุมพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์การทำงานของคอมพิวเตอร์นักเรียน ตัวชี้วัดที่ 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ 1 ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
  • 16. ๕ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้าสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม ที่เรียกว่าแผ่นเกมแม่เหล็ก สำหรับการแก้ปัญหา (ใบงานที่ ๑) เรื่อง ต่อยอดการแก้ปัญหาด้วยเหตุผลเชิงตรรกะ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถศึกษาปีที่ ๖ เพื่อ แก้ปัญหาการใช้ใบงานแบบเดิมๆ ทำให้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย ซึ่งกิจกรรมนี้เสริมสร้างทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ของผู้เรียน ด้านการสื่อสาร ด้านการร่วมมือทำงานเป็นทีม ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการ แก้ปัญหา อ่าน คิด วิเคราะห์ ฯลฯ และบูรณาการทักษะทางวิทยาศาสตร์ ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ 1 ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้ แผ่นเกมแม่เหล็ก สำหรับการแก้ปัญหา (ใบงานที่ ๑) เรื่อง ต่อยอดการแก้ปัญหาด้วยเหตุผลเชิงตรรกะ ชิ้นงานกลุ่ม : ที่เกิดจากกระบวนการทำงานเป็นกลุ่มของนักเรียน มีการปฏิบัติงานร่วมกัน ร่วมคิด ร่วมลงความคิดเห็น ออกแบบ และตัดสินใจร่วมกัน
  • 17. ๖ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้าการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม สอดคล้องกับมาตรฐานการ เรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีการพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาจาก 1) แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เรื่อง เหตุผลเชิงตรรกะกับการการแก้ปัญหา 2) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 3) แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง เหตุผลเชิงตรรกะกับการการแก้ปัญหา และนำผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้มาใช้แก้ไขปัญหาการจัดการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1 ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
  • 18. ๗ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้าศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1) เทคนิคการสอนเรื่อง เหตุผลเชิงตรรกะกับการการแก้ปัญหา 2) การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) 3) ทำวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดเชิงคำนวณ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และนำความรู้ที่ได้มาวางแผนในการแก้ปัญหาการเรียน โดยมีการบันทึกรายละเอียดไว้ในหลังแผนการ จัดการเรียนรู้  บรรลุตัวชี้วัด  ตามเป้า  เกินเป้า ตัวชี้วัดที่ 1.6 ศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ 1 ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
  • 19. ๘ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู  ไม่บรรลุตัวชี้วัด เนื่องจาก ข้าพเจ้ามีการพัฒนาการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน เช่น มีการจัดบรรยากาศการ เล่นเกม เปิดคลิปวิดีโอ ให้ผู้เรียนรู้สึกสนุก เร้าใจ และช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนต้องการมีส่วนร่วมกับกิจกรรม ส่งเสริม ผู้เรียนทุกคนให้มีโอกาสนำเสนอความคิดเห็น สร้างแรงบันดาลใจในการเรียน รวมทั้งใช้สื่อ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยลด ระยะเวลาในการเรียนรู้ของผู้เรียน และสามารถทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้น ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวน สอบสวน (Inquiry-Based Learning) ตัวชี้วัดที่ 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน 1 ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้แบบ Online ผ่าน สื่อ youtube, Wordwall และ Google form
  • 20. ๙ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้ามีการอบรมบ่มนิสัย ส่งเสริมคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน คือ ให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัยปฏิบัติตาม ข้อตกลงของห้องเรียนระหว่างทำกิจกรรมการเรียนรู้ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยที่ดีงาม ตัวชี้วัดที่ 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน 1 ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้ อบรมคุณธรรมในทุกวันศุกร์ และวันสำคัญต่างๆ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ MS excel
  • 21. ๑๐ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู 1) นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ได้รับการจัดการเรียนรู้หลักสูตรและมีความรู้ตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัด รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) เรื่อง การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ ผ่านกระบวนการจัดการ เรียนรู้แบบสืบสวนสอบสน (Inquiry-Based Learning) 2) นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ ๖ ได้รับการแก้ปัญหาหรือพัฒนาด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) นักเรียนทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๖๐ ในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) เรื่อง การ แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นร้อยละ ๗๐ ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 2) ผู้เรียนร้อยละ ๗๐ มีคะแนนสมรรถนะผู้เรียน และทักษะ ๔Cs อยู่ในระดับดีขึ้นไป ตารางที่ ๒ สรุปการประเมินสมรรถนะผู้เรียน และทักษะ ๔Cs นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 256๖ ตัวชี้วัด จำนวนผู้เรียน ทั้งหมด (คน) จำนวนผู้เรียนที่ผ่าน เกณฑ์ดี ขึ้นไป (คน) ร้อยละของจำนวนผู้เรียนที่ผ่าน เกณฑ์ดี ขึ้นไป แบบประเมิน คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ๑๙ ๑๕ 78.95 ** สรุปผลการประเมินตัวชี้วัดตามประเด็นท้าทายทั้งสองด้าน สรุปได้ว่าหลังจากจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยา คำนวณ) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เรื่อง การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะนั้น นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๖ ได้ผลสัมฤทธิ์เกินกว่าเป้าหมายที่คาดหวังไว้ทั้ง 2 ด้าน ดังตารางข้างต้น ผลการเรียนรู้ คะแนนเต็ม เกณฑ์ร้อยละ ๖๐ ค่าเฉลี่ย (𝒙) ร้อยละของ ผลสัมฤทธิ์ แบบทดสอบ 10 ๖ 8.๑๑ ๘๑.๐๕ ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ตัวชี้วัด (Indicators) ที่แสดงให้เห็นถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน 1 ด้านที่ ด้านการจัดการเรียนรู้
  • 22. ๑๑ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้าจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) โดยใช้ Google Spreadsheets และโปรแกรม Microsoft Excel ในการจัดเก็บข้อมูล และรายงานผลสะท้อนกลับให้ผู้เรียนทุกสัปดาห์ ที่มีการบันทึกผลการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนทราบว่า ต้องปรับปรุงแก้ไขผลการเรียนในหัวข้อใดบ้าง หรือผู้เรียนคนใดยัง ไม่ได้ทดสอบ หรือส่งภาระ/ชิ้นที่กำหนด ด้านที่ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้เรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 2.1 จัดทาข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา 2 แบบประเมินคุณลักษณะ ๘ ประการ ด้วยโปรแกรม Excel แบบทดสอบ Online ด้วย Google Form บันทึกคะแนนนักเรียนบน Google spreadsheets มีการติดต่อสื่อสาร และเผยแพร่ผลการเรียน กับนักเรียนและผู้ปกครอง ผ่านระบบ Application Line
  • 23. ๑๒ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้าดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน มีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียน เพื่อคัดกรองนักเรียน วิเคราะห์นักเรียนรายบุคคล จัดทำข้อมูลวิเคราะห์นักเรียนรายบุคคล แบบบันทึกการเยี่ยมบ้านนักเรียน เพื่อนำผลการ วิเคราะห์มาจัดหาวิธีแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด สร้างเครือข่ายผู้ปกครองในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยสื่อสารผ่านกลุ่มไลน์ มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศ เกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคล และประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน เผยแพร่ผลงาน ผู้เรียนต่อผู้ปกครอง เพื่อการวางแผนพัฒนาผู้เรียนร่วมกันโดยการใช้แอพพลิเคชั่น line ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการดูแล เอาใจใส่ตรงตามความต้องการรายบุคคลและมีความสัมพันธ์อันดีระหว่างครู นักเรียน และผู้ปกครอง ตัวชี้วัดที่ 2.2 ดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ด้านที่ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้เรียนรู้ 2 ข้าพเจ้าจัดทำช่องทางการเผยแพร่ผลการ ประเมินผู้เรียนต่อผู้ปกครองรายบุคคล เพื่อ การวางแผนพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน ผ่านทาง Application Line
  • 24. ๑๓ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้าปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่นๆ ของสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา โดยปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และร่วมกับคุณครูจัดการเรียนรู้ ให้กับผู้เรียน โดยใช้สื่อ ที่ครูสร้างขึ้น ร่วมกับเทคโนโลยีทางการศึกษา ให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ของผู้เรียน - ข้าพเจ้าได้ร่วมกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีส่วนร่วมในการออกแบบ และจัดทำหลักสูตร สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - เป็นครูผู้จัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เช่น ระบบ IEP online , ระบบ Set เป็นต้น ตัวชี้วัดที่ 2.3 การปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา ด้านที่ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้เรียนรู้ 2
  • 25. ๑๔ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้าได้ร่วมจัดกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ ■ กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง นักเรียน 1 ครั้ง/ภาคเรียน ■ กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน ■ กิจกรรมเครือข่ายผู้ปกครองผ่านไลน์กลุ่ม ■ ร่วมกิจกรรมมัสยิต ■ ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชนสันติสุข ข้าพเจ้าประสานความร่วมมือกับครูประจำชั้นนักเรียน ในการติดตามนักเรียนที่ยังไม่ส่งภาระงาน โดยแจ้งผ่าน Line ห้องเรียนเพื่อให้ครูประจำชั้นและผู้ปกครองได้กำกับติดตาม ตัวชี้วัดที่ 2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ ด้านที่ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้เรียนรู้ 2
  • 26. ๑๕ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้าพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยการอบรมกับหน่วยงานที่จัดการอบรมเกี่ยวกับ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา การพัฒนาเวบไซต์ แอพพลิเคชั่น ต่างๆ ที่สามารถใช้ในการจัดการเรียนรู้ หรือการ บริหารจัดการในสถานศึกษาได้ และการอบรมเชิงปฏิบัติการผู้คัดกรองผู้พิการทางการศึกษา 3 ด้านที่ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ตัวชี้วัดที่ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
  • 27. ๑๖ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้ามีส่วนในการเป็นเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ ผ่านกิจกรรมนิเทศการจัดการเรียนรู้ และนำผลจากการประชุม PLC ไปสร้างเป็น สื่อ นวัตกรรม เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตัวชี้วัดที่ 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ 3 ด้านที่ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
  • 28. ๑๗ ส่วนที่1 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู ข้าพเจ้านำความรู้ ความ สามารถ ทักษะ ที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาทักษะการ จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) เรื่อง เหตุผลเชิงตรรกะ กับการการแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อเป็นนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน พร้อมกับนำความรู้เรื่องการคัดกรองนักเรียนพิการเรียนรวม มาใช้ในการคัดกรอกนักเรียน เพื่อมาปรับ ประยุกต์วิธีการสอน วิธีการวัดประเมินผลให้หลากหลาย เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่างบุคคล ตัวชี้วัดที่ 3.3 นาความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ 3 ด้านที่ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
  • 29. ภาคผนวก ข หลักฐาน/เอกสาร ข้อตกลงในการพัฒนางาน(PA) ส่วนที่ 2 งานในประเด็นท้าทาย เช่น แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ผลการทดสอบหลังเรียน
  • 31. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 4 จัดทำโดย นำงสำวจิรัฐิติ ช่วยคง ครูโรงเรียนบ้ำนสันติสุข สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสุรำษฎร์ธำนี เขต 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. เหตุผลเชิงตรรกะช่วยในกำรแก้ปัญหำได้อย่ำงไร ก. ช่วยเพิ่มเงื่อนไขในกำรแก้ปัญหำ ข. ช่วยป้องกันปัญหำไม่ให้เกิดขึ้นอีก ค. ช่วยเพิ่มควำมซับซ้อนในกำรแก้ปัญหำ ง. ช่วยตรวจสอบควำมสมเหตุสมผลในกำรแก้ปัญหำ 2. ปุ้ม ปู ปลำ เปรี้ยว เป็นพี่น้องกัน เปรี้ยวบอกว่ำเขำมีพี่หนึ่งคน มีน้องสองคน ปูบอกว่ำเขำมีพี่สำมคน ปลำบอกว่ำ เขำมีน้องหนึ่ง คน ใครอำยุมำกที่สุด ก. ปุ้ม ข. ปู ค. ปลำ ง. เปรี้ยว 3. บำส บอล เบล และบีม หลงทำงอยู่ในป่ำ เบลจำได้ว่ำ ทำงออกต้องผ่ำนแม่น้ำ แต่ไม่ผ่ำนถ้ำและศำลำ บำสจำได้ว่ำมีถ้ำ อยู่เส้นทำงที่ 1 และ 4 บอลจำได้ว่ำเส้นทำงที่ 2, 3 และ 4 มี แม่น้ำไหลผ่ำน บีมจำได้ว่ำมีศำลำอยู่เส้นทำงที่ 3 ทำงออกคือ เส้นทำงใด ก. เส้นทำงที่ 1 ข. เส้นทำงที่ 2 ค. เส้นทำงที่ 3 ง. เส้นทำงที่ 4 4. แนวคิดในกำรแก้ปัญหำมีควำมสำคัญ ยกเว้นข้อใด ก. ช่วยให้แก้ปัญหำได้อย่ำงเป็นขั้นตอน ข. ช่วยสร้ำงเงื่อนไขให้กับปัญหำต่ำง ๆ ค. ช่วยออกแบบกระบวนกำรแก้ปัญหำได้อย่ำงชัดเจน ง. ช่วยให้กำรแก้ปัญหำสำมำรถทำได้ง่ำยและมีประสิทธิภำพ 5. ข้อใดบอกขั้นตอนกำรทำพิซซ่ำได้ถูกต้อง ก. นวดแป้ง > ทำให้แป้งเป็นแผ่น > อบพิซซ่ำ > ตกแต่งหน้ำพิซซ่ำ ข. นวดแป้ง >ตกแต่งหน้ำพิซซ่ำ >ทำให้แป้งเป็นแผ่น > อบพิซซ่ำ ค. นวดแป้ง > ทำให้แป้งเป็นแผ่น > ตกแต่งหน้ำพิซซ่ำ> อบพิซซ่ำ ง. ทำให้แป้งเป็นแผ่น > นวดแป้ง > ตกแต่งหน้ำพิซซ่ำ > อบพิซซ่ำ 6. หำกนักเรียนได้รับมอบหมำยให้จัดโต๊ะอำหำร โดยต้องวำงจำน วำงช้อนส้อม ตกแต่งโต๊ะอำหำร และปูผ้ำปูโต๊ะ นักเรียนควรเลือกทำ สิ่งใดก่อน จึงจะประหยัดเวลำมำกที่สุด ก. วำงช้อนส้อมเพื่อควำมสะดวกในกำรตักอำหำร ข. ปูผ้ำคลุมโต๊ะเพื่อคลุมหน้ำโต๊ะป้องกันรอยขีดข่วนต่ำง ๆ ค. ตกแต่งโต๊ะอำหำร เพื่อสร้ำงบรรยำกำศในกำร รับประทำนอำหำร ง. วำงจำนเพื่อเป็นกำรกำหนดตำแหน่งของผู้นั่งรับประทำน อำหำรให้แน่นอน 7. ข้อใดเป็นกำรทำงำนแบบวนซ้ำที่มีจำนวนครั้งแน่นอน ก. ปุยรับประทำนยำตำมที่หมอสั่งจนกว่ำจะหำยป่วย ข. บอลวิ่งออกกำลังกำยรอบสนำมไปเรื่อย ๆ จนกระทั่ง เหนื่อย ค. แดนโดนทำโทษให้เก็บขยะในสนำมไปเรื่อย ๆจนครบ100ชิ้น ง. แบมเก็บเงินวันละ10บำทไปเรื่อยๆจนกว่ำจะพอซื้อหนังสือ กำร์ตูน 8. ฝนกินขนมจำนวน 3 ชิ้น สำมำรถเขียนกำรทำงำนแบบวนซ้ำ ที่มีจำนวนครั้งแน่นอนได้อย่ำงไร ก. เริ่มต้น > กินขนม > หยุดกิน ข. เริ่มต้น > กินขนม 3 ชิ้น > หยุดกิน ค. เริ่มต้น > กินขนมชิ้นที่ 1 > กินขนมชิ้นที่ 3 > หยุดกิน ง. เริ่มต้น > กินขนมชิ้นที่ 1 > กินขนมชิ้นที่ 2 > กินขนม ชิ้นที่ 3 > หยุดกิน 9. งำนใดเหมำะกับกำรใช้แนวคิดกำรทำงำนแบบเงื่อนไขมำกที่สุด ก. กำรทำขนมเค้ก ข. กำรอำบน้ำโดยใช้ขัน ค. กำรรดน้ำต้นไม้จำนวน 10 ต้น ง. กำรตรวจสอบคะแนนสะสมในบัตรสมำชิก 10. ปูมีนัดส่งของให้ลูกค้ำเวลำ 15.00 น. หำกปูเดินทำงโดย รถจักรยำนยนต์จะใช้เวลำ 15 นำที หำกเดินทำงโดยรถยนต์จะใช้ เวลำ 40 นำที ถ้ำขณะนี้เป็นเวลำ 14.30 น. ปูควรเดินทำงด้วย วิธีใด จึงจะส่งของให้ลูกค้ำทัน ก. รถยนต์ ข. รถจักรยำนต์ยนต์ ค. ทันทั้ง 2 วิธี ง. ไม่ทันทั้ง 2 วิธี แบบทดสอบก่อนเรียน เฉลย 1. ง 2. ก 3. ข 4. ข 5. ค 6. ข 7. ข 8. ข 9. ง 10. ข
  • 32. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 5 จัดทำโดย นำงสำวจิรัฐิติ ช่วยคง ครูโรงเรียนบ้ำนสันติสุข สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสุรำษฎร์ธำนี เขต 1 คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว เฉลย 1. เหตุผลเชิงตรรกะช่วยในกำรแก้ปัญหำได้ ยกเว้นข้อใด ก. ช่วยพิจำรณำสำเหตุของปัญหำ ข. ช่วยเพิ่มเงื่อนไขในกำรแก้ปัญหำ ค. ช่วยพิจำรณำควำมเป็นไปได้ของกำรแก้ปัญหำ ง. ช่วยตรวจสอบควำมสมเหตุสมผลในกำรแก้ปัญหำ 2. เมืองพอดีอยู่เหนือเมืองพอใจ เมืองพอใจอยู่ใต้เมือง พอเพียง เมืองพอเพียงอยู่เหนือเมืองพองำม และเมือง พอดีอยู่ใต้เมืองพองำม เมืองอะไรอยู่เหนือสุด ก. เมืองพอดี ข. เมืองพอใจ ค. เมืองพอเพียง ง. เมืองพองำม 3. ปุ้ม ปู ปลำ เปรี้ยว เป็นพี่น้องกัน เปรี้ยวบอกว่ำเขำมีพี่ หนึ่งคน มีน้องสองคน ปูบอกว่ำเขำมีพี่สำมคน ปลำบอก ว่ำเขำมีน้องหนึ่งคน ใครอำยุมำกที่สุด ก. ปุ้ม ข. ปู ค. ปลำ ง. เปรี้ยว 4. แนวคิดในกำรแก้ปัญหำมีควำมสำคัญอย่ำงไร ก. ช่วยสร้ำงเงื่อนไขให้กับปัญหำต่ำง ๆ ข. ช่วยกำหนดขอบเขตของวิธีกำรแก้ปัญหำ ค. ช่วยออกแบบกระบวนกำรแก้ปัญหำให้มีควำม ซับซ้อน ง. ช่วยให้กำรแก้ปัญหำสำมำรถทำได้ง่ำยและมี ประสิทธิภำพ 5. ข้อใดบอกขั้นตอนกำรหุงข้ำวได้ถูกต้อง ก. ตวงข้ำวสำร > ตวงน้ำให้เหมำะสม > หุงข้ำว > ล้ำงข้ำวให้สะอำด ข. ตวงข้ำวสำร>ตวงน้ำให้เหมำะสม>ล้ำงข้ำวสำร ให้สะอำด > หุงข้ำว ค. ตวงข้ำวสำร > หุงข้ำว > ตวงน้ำให้เหมำะสม > ล้ำงข้ำวสำรให้สะอำด ง. ตวงข้ำวสำร > ล้ำงข้ำวสำรให้สะอำด > ตวงน้ำให้เหมำะสม > หุงข้ำว 6. หำกนักเรียนได้รับมอบหมำยให้เปลี่ยนผ้ำปูที่นอน กวำดพื้น ถูพื้น และกวำดหยำกไย่บนเพดำน นักเรียนควรเลือกทำสิ่งใด ก่อน จึงจะประหยัดเวลำมำกที่สุด ก. เปลี่ยนผ้ำปูที่นอน เพรำะเป็นที่กักเก็บฝุ่นมำกที่สุด ข. ถูพื้น เพรำะระหว่ำงรอให้พื้นแห้งจะได้ไปทำควำม สะอำดบริเวณอื่น ค. กวำดพื้น เพรำะหำกพื้นสะอำดแล้วจะทำให้กำรทำ ควำมสะอำดบริเวณอื่น ๆสะดวกมำกขึ้น ง. กวำดหยำกไย่บนเพดำน เพรำะหยำกไย่จะได้ตกลงมำ ที่บริเวณที่ต่ำกว่ำ และทำควำมสะอำดตำมลำดับ 7. เจนแจกใบปลิวประชำสัมพันธ์งำนวันลอยกระทงไปเรื่อย ๆ จนหมด จัดเป็นแนวคิดกำรทำงำนแบบใด ก. กำรทำงำนแบบลำดับ ข. กำรทำงำนแบบมีเงื่อนไข ค. กำรทำงำนแบบวนซ้ำที่มีจำนวนครั้งแน่นอน ง. กำรทำงำนแบบวนซ้ำที่มีจำนวนครั้งไม่แน่นอน 8. แฟงปลูกต้นไม้จำนวน 3 ต้น สำมำรถเขียนกำรทำงำนแบบ วนซ้ำที่มีจำนวนครั้งแน่นอนได้อย่ำงไร ก. เริ่มต้น > ปลูกต้นไม้ > หยุดปลูก ข. เริ่มต้น > ปลูกต้นไม้ 3 ต้น > หยุดปลูก ค. เริ่มต้น > ปลูกต้นที่ 1 > ปลูกต้นที่ 3 > หยุดปลูก ง. เริ่มต้น > ปลูกต้นที่ 1 > ปลูกต้นที่ 2 > ปลูกต้นที่ 3 > หยุดปลูก 9. งำนใดเหมำะกับกำรใช้แนวคิดกำรทำงำนแบบเงื่อนไขมำกที่สุด ก. กำรแต่งตัวไปโรงเรียน ข. กำรร้อยลูกปัดเพื่อทำสร้อยคอ ค. กำรสังเกตไฟจรำจรก่อนข้ำมถนน ง. กำรแจกนมให้นักเรียนในตอนเช้ำ 10. ครูมำนะกำหนดเงื่อนไขในกำรสอบวิชำภำษำไทย โดยหำก นักเรียนได้คะแนนต่ำกว่ำ 10 คะแนนถือว่ำสอบตก ถ้ำปลำ ได้คะแนนสอบ 10 คะแนน และเอ๋ได้คะแนนสอบ 17 คะแนน หมำยควำมว่ำอย่ำงไร ก. ปลำและเอ๋สอบผ่ำน ข. ปลำและเอ๋สอบตก ค. ปลำสอบตก เอ๋สอบผ่ำน ง. ปลำสอบผ่ำน เอ๋สอบต 1. ข 2. ค 3. ก 4. ง 5. ง 6. ง 7. ง 8. ข 9. ค 10. ก แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที 1
  • 33. กอนเรียน (คะแนนเต็ม ๑๐) หลังเรียน (คะแนนเต็ม ๑๐) ๑ เด็กชายกิตติศักดิ์ หมื่นระหมัด 4 7 +3 ๒ เด็กชายณัฐชวิน และสงา 5 ๑๐ +๕ ๓ เด็กชายภูวเรศ ทองคํา 4 7 +3 ๔ เด็กชายรภีพัฒน เมฆโสะ 3 7 +4 ๕ เด็กชายสุกฤษฎ สะหะเล็ม 3 7 +๔ ๖ เด็กชายอชาวิน วันดี 2 7 +5 ๗ เด็กชายอานัต วันรัง 3 8 +5 ๘ เด็กหญิงณัฏฐณิชา ขอบเวช 4 9 +5 ๙ เด็กหญิงดาวิกา จบสมัย 3 7 +4 ๑๐ เด็กหญิงมัสลิน วงษอิสลาม 2 7 +5 ๑๑ เด็กหญิงรรินดา การะพิทักษ 4 9 +5 ๑๒ เด็กหญิงวณิชยา ซันเล็ม 4 9 +5 ๑๓ เด็กหญิงศิยานันท โดยเจริญ 3 9 +6 ๑๔ เด็กหญิงหนึ่งธิดา วิเชียรสวาง 3 7 +4 ๑๕ เด็กหญิงณัฏฐณิชา ชัยชํานิ 3 ๑๐ +๗ ๑๖ เด็กหญิงนาตชา อะดํา 4 9 +5 ๑๗ เด็กหญิงลียานา มหันกฤษ 5 ๑๐ +๕ ๑๘ เด็กหญิงกวิตา วันดี 4 8 +4 ๑๙ เด็กชายนนณพัฒน สมหวัง 2 7 +5 65 154 34.21 81.05 3.42 8.11 รวม รอยละ เฉลี่ย แบบบันทึกผลการทําแบบทดสอบ กอน-หลังเรียน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) หนวยการเรียนรูที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ เลขที ่ ชื่อ - สกุล ผลคะแนนแบบทดสอบ คะแนนความกาวหนา