SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ)
(ทุกสังกัด)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖
ระหว่างวันที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ถึงวันที่ ๓๑ เดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๖๖
ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นางสาวจิรัฐิติ นามสกุล ช่วยคง .ตำแหน่ง ครู
สถานศึกษา โรงเรียนบ้านสันติสุข สังกัด สำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑
รับเงินเดือนในอันดับ คศ. ๑ อัตราเงินเดือน ๒๔,๐๒๐ บาท
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด
การเรียนรู้จริง)
 ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน
 ห้องเรียนปฐมวัย
 ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
 ห้องเรียนสายวิชาชีพ
 ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย
ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตำแห่งครู(ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซึ่งเป็น
ตำแหน่ง ที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ๒๖ ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จำนวน ๑๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา คณิตศาสตร์ จำนวน ๘ ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ลูกเสือ-เนตรนารี จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาทักษะ การอ่าน/เขียน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชุมนุม - ลดเวลาเพิ่มเวลารู้ จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
ชั่วโมงเพิ่มเติม (แนะแนว) จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
อบรมคุณธรรม จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน.......๑๐......ชั่วโมง/สัปดาห์
การมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะบุคคล IEP จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
การสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
งานส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
PA ๑/ส
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน.........๔๕...ชั่วโมง/สัปดาห์
หัวหน้ากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
หัวหน้ากลุ่มสาระการงานอาชีพ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
หัวหน้างานธุรการ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
หัวหน้างานระบบข้อมูลสารสนเทศ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
หัวหน้างานระบบดูแลช่วยนักเรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
งานจัดระบบบริหารและพัฒนาองค์กร จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
งานส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการบุคลากร และชุมชน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
งานส่งเสริมการใช้สื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษา จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
งานพัสดุ และสินทรัพย์ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการกิจกรรมทักษะทางภาษา จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการกิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนแบบ Active Learning
จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการกิจกรรมผลิตสื่อ นวัตกรรม จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการโครงการส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุด
จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการโครงการส่งเสริมงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะกรรมการโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน.....๓........ชั่วโมง/สัปดาห์
เร่งแก้ปัญหากลุ่มผู้เรียนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-
19
เสริมสร้างระบบและกลไกในการดูแลควาปลอดภัยนักเรียน ด้วยมาตรฐานความปลอดภัย
กระทรวงศึกษาธิการ (MOE Safety Platform)
ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และ
ปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่ หลากหลายรูปแบบ (Active Learning) มีการวัดและประเมินผล
ในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรียน (Assessment for Learning) ทุกระดับ
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้าน
ว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
งาน (Tasks)
ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง
ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ)
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ของงานตามข้อตกลงที่
คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ
ผู้เรียน(โปรดระบุ)
ตัวชี้วัด (Indicators)
ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่
แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
1. ด้านการจัดการเรียนรู้
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม
ถึงการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร
การออกแบบการจัดการเรียนรู้การ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้การสร้างและ
หรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยี
และแหล่งเรียนรู้การวัดและ
ประเมินผลการจัดการเรียนรู้
การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อ
แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้การ
จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนา
ผู้เรียนและการอบรมและพัฒนา
คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน
1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร
- มีการจัดทำหลักสูตรรายวิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการ
คำนวณ) ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการ
เรียนรู้ และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้
ตามหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา
สมรรถนะและการเรียนรู้ เต็มศักยภาพ
โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับ
บริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และ
ท้องถิ่น
1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้
- จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบ
สืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based
Learning) ร า ยว ิ ช า เท ค โนโลยี
(วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ หน่วย
การเรียนรู้ที่ ๑ การแก้ปัญหาโดยใช้
เหตุผลเชิงตรรกะ ที่มีรูปแบบการ
เรียนรู้ เทคนิค และวิธีการที่เน้นผู้เรียน
เป๋นสำคัญ
1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
ทักษะด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้
แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based
Learning) ร า ยว ิ ช า เท ค โนโลยี
(วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ หน่วยการ
เรียนรู้ที่ ๑ การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล
เชิงตรรกะ ที่ช่วยกระตุ้นความสนใจ
เรียนรู้
1) ผู้เรียนได้รับการจัดการ
เรียนรู้ตามหลักสูตรและมี
ความรู้ตามมาตรฐานและ
ตัวชี้วัด ในรายวิชา
เทคโนโลยี (วิทยาการ
คำนวณ)
2) ผู้เรียนได้รับการพัฒนา
การคิดวิเคราะห์ ตาม
สมรรถนะสำคัญผู้เรียน
แ ล ะ ท ั ก ษ ะ ๔ Cs ใ น
รายวิชาเทคโนโลยี
(วิทยาการคำนวณ)
1) นักเรียนทุกคนมี
ผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อย
ละ ๖๐ ในรายวิ ช า
เทคโนโลยี (วิทยาการ
ค ำ น ว ณ ) เ รื่ อ ง ก า ร
แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ย
สูงขึ้นร้อยละ ๗๐
2) นักเรียนร้อยละ ๗0
มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
สมรรถณะสำคัญผู้เรียน
และทักษะ ๔Cs อยู่ใน
ระดับดีขึ้นไป
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
งาน (Tasks)
ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง
ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ)
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ของงานตามข้อตกลงที่
คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ
ผู้เรียน(โปรดระบุ)
ตัวชี้วัด (Indicators)
ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่
แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ
นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้
- มีการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ
นวัตกรรม เทคโนโลยีและ แหล่งเรียนรู้
สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมี
การปรับประยุกต์ ให้สอดคล้องกับ
ความแตกต่างของผู้เรียน และทาให้
ผู้เรียน มีทักษะการคิดและสามารถ
สร้างนวัตกรรมได้
- จัดทาสื่อที่ส่งเสริมพัฒนานักเรียนโดย
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- พัฒนาห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้
พร้อมบริการ
- นักเรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอก
โรงเรียนได้แก่ สื่อออนไลน์ เวปไซต์
ต่าง ๆ
1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้
- มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย เหมาะสม
และสอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้
ให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่อง
- สร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลเพื่อ
การพัฒนาผู้เรียนตามสภาพจริงและวัด
การคิดวิเคราะห์
1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และ
สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือ
พัฒนาการเรียนรู้
- มีการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์
เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ที่
ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน
- วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- จัดกลุ่มนักเรียน
- วางแผนพัฒนานักเรียนตามศักยภาพ
และความแตกต่างระหว่างบุคคล
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
งาน (Tasks)
ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง
ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ)
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ของงานตามข้อตกลงที่
คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ
ผู้เรียน(โปรดระบุ)
ตัวชี้วัด (Indicators)
ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่
แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ
พัฒนาผู้เรียน
- มีการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ
พัฒนาผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการคิด
ทักษะชีวิต ทักษะการทางาน ทักษะ
การเรียนรู้ และนวัตกรรม ทักษะด้าน
สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
- จัดบรรยากาศห้องเรียนให้ได้
มาตรฐานห้องเรียนคุณภาพ (Onsite)
-จัดกระบวนการเรียนรู้ (Online)
1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดี
ของผู้เรียน
- มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมี
คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยที่ดี
งาม
- จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์
2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน
การจัดการเรียนรู้
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม
ถึงการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของ
ผู้เรียนและรายวิชาการดำเนินการ
ตามระบบ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
การปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ
ของสถานศึกษา และการประสาน
ความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคี
เครือข่าย และหรือสถาน
ประกอบการ
2.1 จัดทาข้อมูลสารสนเทศของ
ผู้เรียนและรายวิชา
- มีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศของ
ผู้เรียนและรายวิชาเทคโนโลยี (วิทย
การคำนวณ) เพื่อใช้ในการส่งเสริม
สนับสนุนการเรียนรู้ และพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน
- จัดทาข้อมูลสารสนเทศและ
เผยแพร่ข้อมูลเพื่อเป็นการให้ข้อมูล
ย้อนกลับแก่ผู้เรียน/ผู้ปกครอง
1.ผลการประเมิน
2.ระบบดูแลฯ
1) นักเรียนได้รับการ
สนับสนุน ช่วยเหลือดูแล
ทั้งด้านวิชาการ การ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน รายวิชาเทคโนโลยี
(วิทยาการคำนวณ)
2) นักเรียนได้รับการแก้ไข
หรือพัฒนาทั้งด้า น
สมรรถนะ และทักษะ ๔
Cs ในรายวิชาเทคโนโลยี
(วิทยาการคำนวณ)
1) นักเรียนทุกคนมี
ผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อย
ละ ๖๐ ในรายวิ ช า
เทคโนโลยี (วิทยาการ
ค ำ น ว ณ ) เ รื่ อ ง ก า ร
แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ย
สูงขึ้นร้อยละ ๗๐
2) นักเรียนร้อยละ ๗0
มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
สมรรถณะสำคัญผู้เรียน
และทักษะ ๔Cs อยู่ใน
ระดับดีขึ้นไป
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
งาน (Tasks)
ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง
ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ)
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ของงานตามข้อตกลงที่
คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ
ผู้เรียน(โปรดระบุ)
ตัวชี้วัด (Indicators)
ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่
แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
2.2 ดำเนินการตามระบบดูแล
ช่วยเหลือผู้เรียน
- มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ
ผู้เรียนรายบุคคล และประสาน
ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
เพื่อพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียน
1.จัดทาช่องทางการเผยแพร่ผลการ
ประเมินผู้เรียนต่อผู้ปกครอง
รายบุคคล เพื่อการางแผนพัฒนา
ผู้เรียนร่วมกัน
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงาน
อื่นๆ ของสถานศึกษา
- ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และ
งานอื่นๆ ของสถานศึกษา เพื่อ
ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา
- ร่วมกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา
- ร่วมกิจกรรมการจัดทาแผนพัฒนา
คุณภาพสถานศึกษา
- ผู้ดูแลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
2.4 ประสานความร่วมมือกับ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือ
สถานประกอบการ
- ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง
ภาคีเครือข่าย และหรือสถาน
ประกอบการ เพื่อร่วมกันพัฒนา
ผู้เรียน
- ร่วมกิจกรรมประชุมผู้ปกครอง 1
ครั้ง/ภาคเรียน
- จัดให้มีช่องทางในการติดต่อสื่อสาร
กับผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
งาน (Tasks)
ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง
ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ)
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ของงานตามข้อตกลงที่
คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ
ผู้เรียน(โปรดระบุ)
ตัวชี้วัด (Indicators)
ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่
แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
3. ด้านการพัฒนาตนเองและ
วิชาชีพ
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม
ถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ
และต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้และการนำ
ความรู้ความสามารถทักษะที่ได้จาก
การพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการ
พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ
และต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้
ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และ
การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ
การศึกษา สมรรถนะวิชาชีพครูและ
ความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการ
สอน
- พัฒนาการใช้เทคโนโลยี
3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้
-เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนทั้ง
ภายในและระหว่างสถานศึกษา
3.3 นำความรู้ ความสามารถ
ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง
และวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้ การพัฒนา คุณภาพ
ผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการ
จัดการเรียนรู้
1) นักเรียนได้รับการ
สนับสนุน ช่วยเหลือดูแล
ทั้งด้านวิชาการ การ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน รายวิชาเทคโนโลยี
(วิทยาการคำนวณ)
2) นักเรียนได้รับการแก้ไข
หรือพัฒนาทั้งด้า น
สมรรถนะ และทักษะ ๔
Cs ในรายวิชาเทคโนโลยี
(วิทยาการคำนวณ)
1) นักเรียนทุกคนมี
ผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อย
ละ ๖๐ ในรายวิ ช า
เทคโนโลยี (วิทยาการ
ค ำ น ว ณ ) เ รื่ อ ง ก า ร
แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ย
สูงขึ้นร้อยละ ๗๐
2) นักเรียนร้อยละ ๗0
มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
สมรรถณะสำคัญผู้เรียน
และทักษะ ๔Cs อยู่ใน
ระดับดีขึ้นไป
หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการ
เรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำ
ข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ที่ส่งผล
โดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของ
รายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้อง
แสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลง
สามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน
(Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา
งานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการ
เรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางาน ตามข้อตกลงเป็น
สำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง
ครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ แก้ไขปัญหา การจัดการเรียนรู้และการ
พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ประเด็น
ท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้)
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การจัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ของ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
(Inquiry-Based Learning) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน และพัฒนาสมรรถนะ ทักษะของผู้เรียนให้สูงขึ้น
1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
จากการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ขั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ พบว่า มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ค่อยดี เพราะนักเรียนมองว่าเป็นเรื่องยาก ไกลตัว ไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้ที่เรียนกับ
ชีวิตประจาวันได้ จึงรู้สึกเบื่อหน่าย ไม่ค่อยสนใจ ไม่อยากเรียน พบว่านักเรียนขาดทักษะ กระบวนการคิด ยังสับสน
ในขั้นตอนการแก้ปัญหา การเขียนรหัสจำลองและผังงานได้ จึงมีการจัดกิจกรรม สื่อการสอน และเสริมสร้างทักษะ
กระบวนการคิดเชิงคำนวณ ในรูปแบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) ในกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา
เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) เพื่อแก้ไขปัญหา และพัฒนากระบวนการคิดเชิงคำนวณที่ตรงตามสมรรถนะ และ
ทักษะที่สำคัญทางวิทยาศาสตร์ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของให้นักเรียนให้สูงขึ้น
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
- การวางแผน (Plan)
1. ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล แนวคิด และทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการ
จัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) ที่ส่งผลต่อการพัฒนาความรู้
ความสามารถ
2. ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning)
วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวน
สอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
4. ปรับปรุง/พัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based
Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
- การปฏิบัติ (Do)
1. นำกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ที่ผ่านการปรับปรุงแล้วไปจัดการเรียนรู้กับ
กลุ่มเป้าหมาย
- การตรวจสอบ (Check)
1. ศึกษาประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based
Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
2. ศึกษาข้อมูลย้อนกลับของผู้เรียน (Feedback) ต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ
สืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
- การปรับปรุงแก้ไข (Act)
1. ปรับปรุงแก้ไขกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based
Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
1.1 รวบรวมข้อมูลตอบกลับจากผู้เรียน (Feedback) ต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ
สืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
เพื่อแยกประเด็นในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้
1.2 นำประเด็นดังกล่าวเข้าสู่วง PLC เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางการพัฒนาตาม
ประเด็น
1.3 ศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแล้วจัดทำเป็นสารสนเทศเพื่อใช้แก้ปัญหาใน
รอบปีถัดไป
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทุกคน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๖๐ โดยมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นร้อยละ ๗๐ หลังจากได้รับการ
จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning)
3.2 เชิงคุณภาพ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทุกคน มีสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และทักษะ ๔Cs
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) โดยมีผลการประเมิน
สมรรถนะ และทักษะทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) อยู่ในเกณฑ์ระดับ
ดี ขึ้นไป ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียนทั้งหมด
ลงชื่อ........................................................................
(นางสาวจิรัฐิติ ช่วยคง)
ตำแหน่ง ครู คศ.๑ โรงเรียนบ้านสันติสุข
ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
................/.............../...................
ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอ
เพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้
.......................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ....................................................................
(นางจิตรลดา สุวรรณทิพย์)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสันติสุข
................/.............../...................

More Related Content

Similar to แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-นางสาวจิรัฐิติ 2566.pdf

การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
Kroo Keng
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
khuwawa
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
นภสร ยั่งยืน
 
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
Kroo Keng
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Jutamart Bungthong
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดี
Aon Narinchoti
 

Similar to แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-นางสาวจิรัฐิติ 2566.pdf (20)

การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
Titiya_Act-Power1
Titiya_Act-Power1Titiya_Act-Power1
Titiya_Act-Power1
 
การใช้สื่อการเรียนรู้2003
การใช้สื่อการเรียนรู้2003การใช้สื่อการเรียนรู้2003
การใช้สื่อการเรียนรู้2003
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Titiya-Act-Power1
Titiya-Act-Power1Titiya-Act-Power1
Titiya-Act-Power1
 
แนวทางปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย
แนวทางปฏิรูปด้านการศึกษาของไทยแนวทางปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย
แนวทางปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดี
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 

More from JiruttiPommeChuaikho (6)

วิจัยในชั้นเรียนpdf
วิจัยในชั้นเรียนpdfวิจัยในชั้นเรียนpdf
วิจัยในชั้นเรียนpdf
 
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdfรายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
 
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdfหลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
 

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-นางสาวจิรัฐิติ 2566.pdf

  • 1.
  • 2. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) (ทุกสังกัด) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ ระหว่างวันที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ถึงวันที่ ๓๑ เดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๖๖ ผู้จัดทำข้อตกลง ชื่อ นางสาวจิรัฐิติ นามสกุล ช่วยคง .ตำแหน่ง ครู สถานศึกษา โรงเรียนบ้านสันติสุข สังกัด สำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑ รับเงินเดือนในอันดับ คศ. ๑ อัตราเงินเดือน ๒๔,๐๒๐ บาท ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด การเรียนรู้จริง)  ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน  ห้องเรียนปฐมวัย  ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ  ห้องเรียนสายวิชาชีพ  ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตำแห่งครู(ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซึ่งเป็น ตำแหน่ง ที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ๒๖ ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จำนวน ๑๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา คณิตศาสตร์ จำนวน ๘ ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ลูกเสือ-เนตรนารี จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนาทักษะ การอ่าน/เขียน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชุมนุม - ลดเวลาเพิ่มเวลารู้ จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ ชั่วโมงเพิ่มเติม (แนะแนว) จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ อบรมคุณธรรม จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน.......๑๐......ชั่วโมง/สัปดาห์ การมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะบุคคล IEP จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ การสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ งานส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ PA ๑/ส
  • 3. 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน.........๔๕...ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวหน้ากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวหน้ากลุ่มสาระการงานอาชีพ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวหน้างานธุรการ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวหน้างานระบบข้อมูลสารสนเทศ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวหน้างานระบบดูแลช่วยนักเรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ งานจัดระบบบริหารและพัฒนาองค์กร จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ งานส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการบุคลากร และชุมชน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ งานส่งเสริมการใช้สื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษา จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ งานพัสดุ และสินทรัพย์ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการกิจกรรมทักษะทางภาษา จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการกิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนแบบ Active Learning จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการกิจกรรมผลิตสื่อ นวัตกรรม จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการโครงการส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุด จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการโครงการส่งเสริมงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ คณะกรรมการโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน.....๓........ชั่วโมง/สัปดาห์ เร่งแก้ปัญหากลุ่มผู้เรียนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด- 19 เสริมสร้างระบบและกลไกในการดูแลควาปลอดภัยนักเรียน ด้วยมาตรฐานความปลอดภัย กระทรวงศึกษาธิการ (MOE Safety Platform) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และ ปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่ หลากหลายรูปแบบ (Active Learning) มีการวัดและประเมินผล ในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรียน (Assessment for Learning) ทุกระดับ
  • 4. 2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้าน ว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้) ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่ แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม ถึงการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการจัดการเรียนรู้การ จัดกิจกรรมการเรียนรู้การสร้างและ หรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้การวัดและ ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้การ จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียนและการอบรมและพัฒนา คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน 1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร - มีการจัดทำหลักสูตรรายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการ เรียนรู้ และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา สมรรถนะและการเรียนรู้ เต็มศักยภาพ โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และ ท้องถิ่น 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ - จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบ สืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) ร า ยว ิ ช า เท ค โนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ หน่วย การเรียนรู้ที่ ๑ การแก้ปัญหาโดยใช้ เหตุผลเชิงตรรกะ ที่มีรูปแบบการ เรียนรู้ เทคนิค และวิธีการที่เน้นผู้เรียน เป๋นสำคัญ 1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ - จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) ร า ยว ิ ช า เท ค โนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ หน่วยการ เรียนรู้ที่ ๑ การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล เชิงตรรกะ ที่ช่วยกระตุ้นความสนใจ เรียนรู้ 1) ผู้เรียนได้รับการจัดการ เรียนรู้ตามหลักสูตรและมี ความรู้ตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัด ในรายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) 2) ผู้เรียนได้รับการพัฒนา การคิดวิเคราะห์ ตาม สมรรถนะสำคัญผู้เรียน แ ล ะ ท ั ก ษ ะ ๔ Cs ใ น รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1) นักเรียนทุกคนมี ผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อย ละ ๖๐ ในรายวิ ช า เทคโนโลยี (วิทยาการ ค ำ น ว ณ ) เ รื่ อ ง ก า ร แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง ตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ย สูงขึ้นร้อยละ ๗๐ 2) นักเรียนร้อยละ ๗0 มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น สมรรถณะสำคัญผู้เรียน และทักษะ ๔Cs อยู่ใน ระดับดีขึ้นไป
  • 5. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่ แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ - มีการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและ แหล่งเรียนรู้ สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมี การปรับประยุกต์ ให้สอดคล้องกับ ความแตกต่างของผู้เรียน และทาให้ ผู้เรียน มีทักษะการคิดและสามารถ สร้างนวัตกรรมได้ - จัดทาสื่อที่ส่งเสริมพัฒนานักเรียนโดย ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - พัฒนาห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้ พร้อมบริการ - นักเรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอก โรงเรียนได้แก่ สื่อออนไลน์ เวปไซต์ ต่าง ๆ 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ - มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้ ให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง - สร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลเพื่อ การพัฒนาผู้เรียนตามสภาพจริงและวัด การคิดวิเคราะห์ 1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือ พัฒนาการเรียนรู้ - มีการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน - วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล - จัดกลุ่มนักเรียน - วางแผนพัฒนานักเรียนตามศักยภาพ และความแตกต่างระหว่างบุคคล
  • 6. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่ แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ พัฒนาผู้เรียน - มีการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ พัฒนาผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทางาน ทักษะ การเรียนรู้ และนวัตกรรม ทักษะด้าน สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี - จัดบรรยากาศห้องเรียนให้ได้ มาตรฐานห้องเรียนคุณภาพ (Onsite) -จัดกระบวนการเรียนรู้ (Online) 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดี ของผู้เรียน - มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยที่ดี งาม - จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม ถึงการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชาการดำเนินการ ตามระบบ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา และการประสาน ความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคี เครือข่าย และหรือสถาน ประกอบการ 2.1 จัดทาข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชา - มีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชาเทคโนโลยี (วิทย การคำนวณ) เพื่อใช้ในการส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้ และพัฒนา คุณภาพผู้เรียน - จัดทาข้อมูลสารสนเทศและ เผยแพร่ข้อมูลเพื่อเป็นการให้ข้อมูล ย้อนกลับแก่ผู้เรียน/ผู้ปกครอง 1.ผลการประเมิน 2.ระบบดูแลฯ 1) นักเรียนได้รับการ สนับสนุน ช่วยเหลือดูแล ทั้งด้านวิชาการ การ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 2) นักเรียนได้รับการแก้ไข หรือพัฒนาทั้งด้า น สมรรถนะ และทักษะ ๔ Cs ในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1) นักเรียนทุกคนมี ผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อย ละ ๖๐ ในรายวิ ช า เทคโนโลยี (วิทยาการ ค ำ น ว ณ ) เ รื่ อ ง ก า ร แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง ตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ย สูงขึ้นร้อยละ ๗๐ 2) นักเรียนร้อยละ ๗0 มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น สมรรถณะสำคัญผู้เรียน และทักษะ ๔Cs อยู่ใน ระดับดีขึ้นไป
  • 7. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่ แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ) 2.2 ดำเนินการตามระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน - มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ ผู้เรียนรายบุคคล และประสาน ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียน 1.จัดทาช่องทางการเผยแพร่ผลการ ประเมินผู้เรียนต่อผู้ปกครอง รายบุคคล เพื่อการางแผนพัฒนา ผู้เรียนร่วมกัน 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงาน อื่นๆ ของสถานศึกษา - ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และ งานอื่นๆ ของสถานศึกษา เพื่อ ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา - ร่วมกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา - ร่วมกิจกรรมการจัดทาแผนพัฒนา คุณภาพสถานศึกษา - ผู้ดูแลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2.4 ประสานความร่วมมือกับ ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือ สถานประกอบการ - ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถาน ประกอบการ เพื่อร่วมกันพัฒนา ผู้เรียน - ร่วมกิจกรรมประชุมผู้ปกครอง 1 ครั้ง/ภาคเรียน - จัดให้มีช่องทางในการติดต่อสื่อสาร กับผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย
  • 8. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่ แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนามาก ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ) 3. ด้านการพัฒนาตนเองและ วิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม ถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ พัฒนาการจัดการเรียนรู้และการนำ ความรู้ความสามารถทักษะที่ได้จาก การพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการ พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ การศึกษา สมรรถนะวิชาชีพครูและ ความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการ สอน - พัฒนาการใช้เทคโนโลยี 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ -เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนทั้ง ภายในและระหว่างสถานศึกษา 3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ การพัฒนา คุณภาพ ผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้ 1) นักเรียนได้รับการ สนับสนุน ช่วยเหลือดูแล ทั้งด้านวิชาการ การ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 2) นักเรียนได้รับการแก้ไข หรือพัฒนาทั้งด้า น สมรรถนะ และทักษะ ๔ Cs ในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1) นักเรียนทุกคนมี ผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อย ละ ๖๐ ในรายวิ ช า เทคโนโลยี (วิทยาการ ค ำ น ว ณ ) เ รื่ อ ง ก า ร แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิง ตรรกะ โดยมีค่าเฉลี่ย สูงขึ้นร้อยละ ๗๐ 2) นักเรียนร้อยละ ๗0 มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น สมรรถณะสำคัญผู้เรียน และทักษะ ๔Cs อยู่ใน ระดับดีขึ้นไป หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการ เรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำ ข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ที่ส่งผล โดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของ รายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้อง แสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลง สามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2 3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา งานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการ เรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางาน ตามข้อตกลงเป็น สำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร
  • 9. ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ แก้ไขปัญหา การจัดการเรียนรู้และการ พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ประเด็น ท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้) ประเด็นท้าทาย เรื่อง การจัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ของ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน และพัฒนาสมรรถนะ ทักษะของผู้เรียนให้สูงขึ้น 1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้ จากการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ขั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ พบว่า มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ค่อยดี เพราะนักเรียนมองว่าเป็นเรื่องยาก ไกลตัว ไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้ที่เรียนกับ ชีวิตประจาวันได้ จึงรู้สึกเบื่อหน่าย ไม่ค่อยสนใจ ไม่อยากเรียน พบว่านักเรียนขาดทักษะ กระบวนการคิด ยังสับสน ในขั้นตอนการแก้ปัญหา การเขียนรหัสจำลองและผังงานได้ จึงมีการจัดกิจกรรม สื่อการสอน และเสริมสร้างทักษะ กระบวนการคิดเชิงคำนวณ ในรูปแบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) ในกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) เพื่อแก้ไขปัญหา และพัฒนากระบวนการคิดเชิงคำนวณที่ตรงตามสมรรถนะ และ ทักษะที่สำคัญทางวิทยาศาสตร์ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของให้นักเรียนให้สูงขึ้น 2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล - การวางแผน (Plan) 1. ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล แนวคิด และทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) ที่ส่งผลต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถ 2. ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวน สอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) 4. ปรับปรุง/พัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) - การปฏิบัติ (Do) 1. นำกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ที่ผ่านการปรับปรุงแล้วไปจัดการเรียนรู้กับ กลุ่มเป้าหมาย - การตรวจสอบ (Check) 1. ศึกษาประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) 2. ศึกษาข้อมูลย้อนกลับของผู้เรียน (Feedback) ต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ สืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ)
  • 10. - การปรับปรุงแก้ไข (Act) 1. ปรับปรุงแก้ไขกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) 1.1 รวบรวมข้อมูลตอบกลับจากผู้เรียน (Feedback) ต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ สืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) เพื่อแยกประเด็นในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ 1.2 นำประเด็นดังกล่าวเข้าสู่วง PLC เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางการพัฒนาตาม ประเด็น 1.3 ศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแล้วจัดทำเป็นสารสนเทศเพื่อใช้แก้ปัญหาใน รอบปีถัดไป 3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง 3.1 เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทุกคน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๖๐ โดยมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นร้อยละ ๗๐ หลังจากได้รับการ จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) 3.2 เชิงคุณภาพ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทุกคน มีสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และทักษะ ๔Cs กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry-Based Learning) โดยมีผลการประเมิน สมรรถนะ และทักษะทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาคำนวณ) อยู่ในเกณฑ์ระดับ ดี ขึ้นไป ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียนทั้งหมด ลงชื่อ........................................................................ (นางสาวจิรัฐิติ ช่วยคง) ตำแหน่ง ครู คศ.๑ โรงเรียนบ้านสันติสุข ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ................/.............../................... ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา ( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอ เพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้ ....................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................................... (นางจิตรลดา สุวรรณทิพย์) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสันติสุข ................/.............../...................