SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน แมวบาบัด ( cat therapy )
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นายธันวาครินทร์ วงศ์พิพันธ์ เลขที่ 36 ชั้น ม. 6 ห้อง 11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นายธันวาครินทร์ วงศ์พิพันธ์ เลขที่ 36
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
แมวบาบัด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
cat therapy
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายธันวาครินทร์ วงศ์พิพันธ์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากผู้คนในยุคปัจจุบันมีความเครียดจนทาให้เกิดภาวะเสี่ยงของโรคซึมเศร้า เราจึงเร็งเห็นว่าเราควร
แก้ปัญหาในจุดนี้ แมวบาบัด เป็นวิธีการคลายเครียดโดยการใช้สัตว์เลี้ยง โดยการเล่นกับมัน สังเกตพฤติ
กกรมของมัน แมวมีความน่ารักและขี้อ้อนเป็นพิเศษ แมวบาบัดเป็นวิธีแก้ปัญหาความเครียดได้ดีกว่าการ
ใช้ยาหรือการกิน การเสพติดสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่ดีเพื่อคลายเครียด หลายคนใช้ความรุ่นแรงในการคลายเครียด
ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ไม่ดีนัก เราเลยหาวิธีแก้ด้วยการนาสัตว์เลี้ยงมาเป็นเพื่อนรักของคน หลายคนก็มี
ความชอบต่างกัน หนึ่งในนั้นคือการใช้แมวบาบัด มันจะช่วยคลายเครียดให้ผู้ที่มีอาการซึมเศร้า หรือขาด
เพื่อนได้ดีมากเลยทีเดียว คุณอาจจะนั่งดูมันหรือหาของเล่นมาเล่นกับมัน จะเห็นได้ว่าแมวมีความน่ารักที่
อาจทาให้คุณยิ้มหรือหัวเราะได้ตลอดเลยทีเดียว นอกจากนี้ยังสามารถกาจัดหนูหรือ แมลงสาบในบ้าน
ของคุณได้อีกด้วย
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับแมวบาบัด
2. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับแมวบาบัด
3. เพื่อสามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง
4. เพื่อสามารถนาข้อมูลไปวิจัยต่อได้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้สัตว์บาบัดและการรักษาโรคให้เกิดประโยชน์สูงสุด
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
แนวคิดของการบาบัดด้วยสัตว์
สัตว์สามารถช่วยในเรื่อง การรับรู้สัมผัส เสริมสร้างสมาธิ เพิ่มความไว้วางใจผู้อื่น ให้สัมผัสที่อบอุ่น
ปลอดภัย และเป็นมิตร เพิ่มแรงจูงใจในการทากิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังช่วยให้เด็ก
เรียนรู้ในเรื่องสัมพันธภาพ และการตอบสนองทางอารมณ์ได้ดีขึ้นด้วย
สัตว์ที่นามาใช้ในการบาบัดส่วนใหญ่มักเป็นสัตว์เลี้ยง ซึ่งมนุษย์คุ้นเคยเป็นอย่างดี เช่น สุนัข แมว
กระต่าย นก ปลา เป็นต้น หรือเป็นสัตว์ใหญ่ที่เป็นมิตรกับมนุษย์เสมอในความรู้สึก เช่น โลมา ม้า ช้าง
เป็นต้น
สัตว์ที่นามาใช้ในการบาบัดมักเป็นสัตว์เลี้ยงตัวเล็กๆ มากกว่า เนื่องจากสามารถอุ้มได้ง่าย และเหมาะสม
กับบ้านพักอาศัยที่มีพื้นที่ไม่มากนัก แต่สุนัขตัวใหญ่ๆ ก็เหมาะสมสาหรับผู้ที่นั่งอยู่บนรถเข็นเช่นกัน และ
สัตว์บางชนิดก็จาเป็นต้องใช้ในการบาบัดนอกสถานที่พักอาศัย เช่น โลมาบาบัด อาชาบาบัด เป็นต้น
เพื่อที่จะสร้างความผูกพันกับสัตว์ได้ เราจาเป็นที่จะต้องก้าวออกจากโลกของตัวเอง และพยายามที่จะ
สื่อสารกับผู้อื่น ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญในการบาบัดรักษา ในขณะที่สัตว์เองก็มีความสามารถในการกระตุ้นให้
เกิดสิ่งเหล่านี้ง่ายขึ้น อย่างน้อยที่สุดก็เป็นช่วงเวลาสั้นๆ ช่วงหนึ่งที่ทาให้เราสนใจสิ่งอื่นนอกจากตัวเราเอง
จึงเป็นส่วนผสมที่ลงตัวยิ่งในการบาบัดด้วยสัตว์
ประโยชน์ของการบาบัดด้วยสัตว์
สัตว์แต่ละชนิดมีคุณสมบัติและเงื่อนไขที่แตกต่างกันในการนามาบาบัดรักษาผู้ป่วย ซึ่งจะต้องพิจารณา
ตามสภาพปัญหา และความเหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละคน
พบว่าสามารถนาสัตว์มาใช้ประโยชน์ในการบาบัดรักษาทางการแพทย์ได้หลากหลาย ดังนี้
สัตว์สามารถนาผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์กลับมาสู่ปัจจุบันขณะได้เป็นอย่างดี เนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มักหลง
พะวงและระแวงเป็นส่วนใหญ่ ลูกสุนัขที่ได้รับการฝึกมาเป็นอย่างดี สามารถช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยอัลไซเม
อร์หลุดออกมาจากภาวะเหล่านั้น
4
สัตว์เลี้ยงสามารถช่วยกระตุ้นการสื่อสารพูดคุยได้เป็นอย่างดี เป็นเพื่อนคุย สาหรับผู้ที่มีความบกพร่องใน
การสื่อสาร หรือเพิ่งเริ่มหัดพูดใหม่อีกครั้งหลังจากเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
เด็กสมาธิสั้นสามารถจดจ่ออยู่กับสัตว์เลี้ยงได้นานขึ้น ซึ่งช่วยให้เรียนรู้สภาวะที่มีสมาธิดี
ผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านอารมณ์และจิตใจ ก็สามารถนาสัตว์เลี้ยงมาช่วยเสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตร
และเสริมสร้างความผูกพันที่ดีได้ ช่วยให้ลดมุมมองในเชิงลบหรือเลวร้ายที่มีต่อโลกหรือคนรอบข้าง
ผู้ป่วยซึมเศร้า สามารถอาการดีขึ้นได้ด้วยสัตว์เลี้ยงเช่นกัน เนื่องจากช่วยลดความซ้าซากจาเจใน
ชีวิตประจาวัน และเพิ่มความสนใจ ใส่ใจ ในโลกนอกตัวที่กว้างขึ้น
สัตว์เลี้ยงช่วยเสริมสร้างปฎิสัมพันธ์ทางสังคมได้เป็นอย่างดี กระตุ้นให้ออกมาจากห้อง และมีปฎิสัมพันธ์
ทางสังคมกับสัตว์และผู้อื่นมากขึ้น
สัตว์เลี้ยงสามารถให้สัมผัสที่อบอุ่นได้เป็นอย่างดี จากการลูบ กอด ซึ่งเป็นเสมือนสัมผัสแห่งรักมาทดแทน
สิ่งที่ขาดหายไป
สัตว์เลี้ยงเป็นเสมือนจุดเริ่มต้นของความหวังอีกครั้ง จากการได้เรียกหาแล้วได้รับการสนองตอบ จากการ
รอคอยเวลาแล้วได้กลับมาพบกันอีกครั้ง เป็นการสร้างความหวังที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไป
การนาสัตว์มาใช้ร่วมในการบาบัดเด็กพิเศษ หรือเด็กที่เจ็บป่วยเรื้อรัง อย่างน้อยที่สุดก็ช่วยให้ชีวิตดูง่าย
ขึ้น และมีสีสัน ความสนุกสนานมากขึ้น และเพิ่มประสิทธิภาพการบาบัดรักษาในแนวทางหลักได้ดียิ่งขึ้น
โดยสรุปแล้วการบาบัดด้วยสัตว์มีประโยชน์มากมาย ถ้าสามารถเลือกนามาใช้ได้เหมาะสม อย่างน้อย 3
ประการ คือ
1) ผลทางด้านจิตวิทยา คือ ช่วยให้เกิดความผ่อนคลาย สร้างเสริมแรงจูงใจ
2) ผลทางด้านชีววิทยา คือ การเพิ่มสัญญาณชีพ
3) ผลทางด้านสังคม คือ กระตุ้นให้เกิดการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและผู้ดูแล
ข้อพึงระวังที่สาคัญที่มองข้ามไม่ได้ คือ ความกลัวและอาการภูมิแพ้จากขนสัตว์ ซึ่งต้องสอบถามประวัติ
เหล่านี้ก่อนว่ามีหรือไม่ ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการบาบัดก็เป็นสิ่งที่ควรนามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจ
ด้วยเช่นกัน เนื่องจากการบาบัดด้วยสัตว์หลายชนิดมีค่าใช้จ่ายสูงมาก
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
5
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
6
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยGuy Prp
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรมThanakorn Intrarat
 
สมุนไพรลดความดันโลหิต
สมุนไพรลดความดันโลหิตสมุนไพรลดความดันโลหิต
สมุนไพรลดความดันโลหิตWarangkana Riyai
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Krittapornn Chanasaen
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียนJa Palm
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนJa Palm
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกselenagomezz
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)2_PiR
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 projectLove Naka
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17ssusera79710
 

What's hot (20)

Hyper36
Hyper36Hyper36
Hyper36
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทย
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
มม
มมมม
มม
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
สมุนไพรลดความดันโลหิต
สมุนไพรลดความดันโลหิตสมุนไพรลดความดันโลหิต
สมุนไพรลดความดันโลหิต
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
Chel
ChelChel
Chel
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
Work
WorkWork
Work
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 project
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 

Similar to 2560 project

ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์Nattaphong Kaewtathip
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2793233922
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
โครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัข
โครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัขโครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัข
โครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัขApinya2701
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์omaha123
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานjutamart muemsittiprae
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project Guy Prp
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานKittinan42
 
มะนาวต่างนุษย์
มะนาวต่างนุษย์มะนาวต่างนุษย์
มะนาวต่างนุษย์Kurt Correst
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมายeyecosmomo
 

Similar to 2560 project (20)

ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Phosis
PhosisPhosis
Phosis
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัข
โครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัขโครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัข
โครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัข
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
 
2560 project -
2560 project -2560 project -
2560 project -
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
มะนาวต่างนุษย์
มะนาวต่างนุษย์มะนาวต่างนุษย์
มะนาวต่างนุษย์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2560 project 34
2560 project 342560 project 34
2560 project 34
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน แมวบาบัด ( cat therapy ) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นายธันวาครินทร์ วงศ์พิพันธ์ เลขที่ 36 ชั้น ม. 6 ห้อง 11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นายธันวาครินทร์ วงศ์พิพันธ์ เลขที่ 36 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) แมวบาบัด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) cat therapy ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายธันวาครินทร์ วงศ์พิพันธ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากผู้คนในยุคปัจจุบันมีความเครียดจนทาให้เกิดภาวะเสี่ยงของโรคซึมเศร้า เราจึงเร็งเห็นว่าเราควร แก้ปัญหาในจุดนี้ แมวบาบัด เป็นวิธีการคลายเครียดโดยการใช้สัตว์เลี้ยง โดยการเล่นกับมัน สังเกตพฤติ กกรมของมัน แมวมีความน่ารักและขี้อ้อนเป็นพิเศษ แมวบาบัดเป็นวิธีแก้ปัญหาความเครียดได้ดีกว่าการ ใช้ยาหรือการกิน การเสพติดสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่ดีเพื่อคลายเครียด หลายคนใช้ความรุ่นแรงในการคลายเครียด ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ไม่ดีนัก เราเลยหาวิธีแก้ด้วยการนาสัตว์เลี้ยงมาเป็นเพื่อนรักของคน หลายคนก็มี ความชอบต่างกัน หนึ่งในนั้นคือการใช้แมวบาบัด มันจะช่วยคลายเครียดให้ผู้ที่มีอาการซึมเศร้า หรือขาด เพื่อนได้ดีมากเลยทีเดียว คุณอาจจะนั่งดูมันหรือหาของเล่นมาเล่นกับมัน จะเห็นได้ว่าแมวมีความน่ารักที่ อาจทาให้คุณยิ้มหรือหัวเราะได้ตลอดเลยทีเดียว นอกจากนี้ยังสามารถกาจัดหนูหรือ แมลงสาบในบ้าน ของคุณได้อีกด้วย
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับแมวบาบัด 2. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับแมวบาบัด 3. เพื่อสามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง 4. เพื่อสามารถนาข้อมูลไปวิจัยต่อได้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้สัตว์บาบัดและการรักษาโรคให้เกิดประโยชน์สูงสุด หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) แนวคิดของการบาบัดด้วยสัตว์ สัตว์สามารถช่วยในเรื่อง การรับรู้สัมผัส เสริมสร้างสมาธิ เพิ่มความไว้วางใจผู้อื่น ให้สัมผัสที่อบอุ่น ปลอดภัย และเป็นมิตร เพิ่มแรงจูงใจในการทากิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังช่วยให้เด็ก เรียนรู้ในเรื่องสัมพันธภาพ และการตอบสนองทางอารมณ์ได้ดีขึ้นด้วย สัตว์ที่นามาใช้ในการบาบัดส่วนใหญ่มักเป็นสัตว์เลี้ยง ซึ่งมนุษย์คุ้นเคยเป็นอย่างดี เช่น สุนัข แมว กระต่าย นก ปลา เป็นต้น หรือเป็นสัตว์ใหญ่ที่เป็นมิตรกับมนุษย์เสมอในความรู้สึก เช่น โลมา ม้า ช้าง เป็นต้น สัตว์ที่นามาใช้ในการบาบัดมักเป็นสัตว์เลี้ยงตัวเล็กๆ มากกว่า เนื่องจากสามารถอุ้มได้ง่าย และเหมาะสม กับบ้านพักอาศัยที่มีพื้นที่ไม่มากนัก แต่สุนัขตัวใหญ่ๆ ก็เหมาะสมสาหรับผู้ที่นั่งอยู่บนรถเข็นเช่นกัน และ สัตว์บางชนิดก็จาเป็นต้องใช้ในการบาบัดนอกสถานที่พักอาศัย เช่น โลมาบาบัด อาชาบาบัด เป็นต้น เพื่อที่จะสร้างความผูกพันกับสัตว์ได้ เราจาเป็นที่จะต้องก้าวออกจากโลกของตัวเอง และพยายามที่จะ สื่อสารกับผู้อื่น ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญในการบาบัดรักษา ในขณะที่สัตว์เองก็มีความสามารถในการกระตุ้นให้ เกิดสิ่งเหล่านี้ง่ายขึ้น อย่างน้อยที่สุดก็เป็นช่วงเวลาสั้นๆ ช่วงหนึ่งที่ทาให้เราสนใจสิ่งอื่นนอกจากตัวเราเอง จึงเป็นส่วนผสมที่ลงตัวยิ่งในการบาบัดด้วยสัตว์ ประโยชน์ของการบาบัดด้วยสัตว์ สัตว์แต่ละชนิดมีคุณสมบัติและเงื่อนไขที่แตกต่างกันในการนามาบาบัดรักษาผู้ป่วย ซึ่งจะต้องพิจารณา ตามสภาพปัญหา และความเหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละคน พบว่าสามารถนาสัตว์มาใช้ประโยชน์ในการบาบัดรักษาทางการแพทย์ได้หลากหลาย ดังนี้ สัตว์สามารถนาผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์กลับมาสู่ปัจจุบันขณะได้เป็นอย่างดี เนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มักหลง พะวงและระแวงเป็นส่วนใหญ่ ลูกสุนัขที่ได้รับการฝึกมาเป็นอย่างดี สามารถช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยอัลไซเม อร์หลุดออกมาจากภาวะเหล่านั้น
  • 4. 4 สัตว์เลี้ยงสามารถช่วยกระตุ้นการสื่อสารพูดคุยได้เป็นอย่างดี เป็นเพื่อนคุย สาหรับผู้ที่มีความบกพร่องใน การสื่อสาร หรือเพิ่งเริ่มหัดพูดใหม่อีกครั้งหลังจากเป็นโรคหลอดเลือดสมอง เด็กสมาธิสั้นสามารถจดจ่ออยู่กับสัตว์เลี้ยงได้นานขึ้น ซึ่งช่วยให้เรียนรู้สภาวะที่มีสมาธิดี ผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านอารมณ์และจิตใจ ก็สามารถนาสัตว์เลี้ยงมาช่วยเสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตร และเสริมสร้างความผูกพันที่ดีได้ ช่วยให้ลดมุมมองในเชิงลบหรือเลวร้ายที่มีต่อโลกหรือคนรอบข้าง ผู้ป่วยซึมเศร้า สามารถอาการดีขึ้นได้ด้วยสัตว์เลี้ยงเช่นกัน เนื่องจากช่วยลดความซ้าซากจาเจใน ชีวิตประจาวัน และเพิ่มความสนใจ ใส่ใจ ในโลกนอกตัวที่กว้างขึ้น สัตว์เลี้ยงช่วยเสริมสร้างปฎิสัมพันธ์ทางสังคมได้เป็นอย่างดี กระตุ้นให้ออกมาจากห้อง และมีปฎิสัมพันธ์ ทางสังคมกับสัตว์และผู้อื่นมากขึ้น สัตว์เลี้ยงสามารถให้สัมผัสที่อบอุ่นได้เป็นอย่างดี จากการลูบ กอด ซึ่งเป็นเสมือนสัมผัสแห่งรักมาทดแทน สิ่งที่ขาดหายไป สัตว์เลี้ยงเป็นเสมือนจุดเริ่มต้นของความหวังอีกครั้ง จากการได้เรียกหาแล้วได้รับการสนองตอบ จากการ รอคอยเวลาแล้วได้กลับมาพบกันอีกครั้ง เป็นการสร้างความหวังที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไป การนาสัตว์มาใช้ร่วมในการบาบัดเด็กพิเศษ หรือเด็กที่เจ็บป่วยเรื้อรัง อย่างน้อยที่สุดก็ช่วยให้ชีวิตดูง่าย ขึ้น และมีสีสัน ความสนุกสนานมากขึ้น และเพิ่มประสิทธิภาพการบาบัดรักษาในแนวทางหลักได้ดียิ่งขึ้น โดยสรุปแล้วการบาบัดด้วยสัตว์มีประโยชน์มากมาย ถ้าสามารถเลือกนามาใช้ได้เหมาะสม อย่างน้อย 3 ประการ คือ 1) ผลทางด้านจิตวิทยา คือ ช่วยให้เกิดความผ่อนคลาย สร้างเสริมแรงจูงใจ 2) ผลทางด้านชีววิทยา คือ การเพิ่มสัญญาณชีพ 3) ผลทางด้านสังคม คือ กระตุ้นให้เกิดการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและผู้ดูแล ข้อพึงระวังที่สาคัญที่มองข้ามไม่ได้ คือ ความกลัวและอาการภูมิแพ้จากขนสัตว์ ซึ่งต้องสอบถามประวัติ เหล่านี้ก่อนว่ามีหรือไม่ ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการบาบัดก็เป็นสิ่งที่ควรนามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจ ด้วยเช่นกัน เนื่องจากการบาบัดด้วยสัตว์หลายชนิดมีค่าใช้จ่ายสูงมาก วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 5. 5 งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 6. 6 _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________