SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
ชื่อรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศชื่อรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารและการสื่อสาร
ชั้น มชั้น ม.6 (.6 (งง33101)33101)
มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
สืบค้นข้อมูลการเรียนรู้ การสื่อสาร
การแก้ปัญหา การทำางานและอาชีพอย่างมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม
ตัวชี้วัดตัวชี้วัด
1. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
2. ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่าน
อินเทอร์เน็ต
3. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำาเสนองานใน
รูปแบบที่เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์
4. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานหรือ
โครงงานอย่างมีจิตสำานึกและความรับผิดชอบ
5. บอกข้อควรปฏิบัติสำาหรับผู้ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 1
สาระการสาระการ
เรียนรู้เรียนรู้1. ความหมายของอินเทอร์เน็ต
2. ประวัติความเป็นมาของระบบอินเทอร์เน็ต
3. พื้นฐานการทำางานของระบบอินเทอร์เน็ต
4. ระบบชื่อโดเมนเนม (Domain Name
System)
5. บริการต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
6. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
7. การใช้บริการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตด้วย
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail)
8. การใช้บริการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตแบบเครือ
ข่ายสังคม (Social Network)
9. ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตในการค้นคว้า
ความหมายของอินเทอร์เน็ตความหมายของอินเทอร์เน็ต
(Internet)(Internet)
Inter Connection Network เป็นระบบเครือ
ข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ที่มี
ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีการเชื่อมโยงเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เหมือนใยแมงมุม
ใช้มาตรฐานเดียวกันในการรับส่งข้อมูล เรียก
ว่า โปรโตคอล (Protocol) มีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี
(Transmission Control Protocol/Internet
Protocol; TCP/IP)
ประวัติความเป็นมาของระบบประวัติความเป็นมาของระบบ
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
ค.ศ.1969 พยายามเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ในกิจการทหารของ Defense
Advanced Research Project Agency
(DARPA)
 มีชื่อว่า ARPANETARPANET (Advanced Research
Projects Agency Network)
ค.ศ.1975 การพัฒนา ARPANET ในเชิงวิจัยทาง
ทหารจบสิ้นลง แต่ยังดำาเนินการในการพัฒนาระบบ
การใช้งานเครือข่ายต่อโดย Defense
Information System Agency (DISA)
ค.ศ.1983 ARPANET แยกออกเป็นสองส่วน
คือ ARPANET และ MILNET (Military
Network)
ผู้ใช้เริ่มเรียกทั้งสองเครือข่ายนี้ว่า “Internet”
ค.ศ.1990 ARPANET ปิดตัวลง ยังคงเหลือ
MILNET ซึ่งรวมกับระบบเครือข่าย NSFNET
(Nation Science Foundation Network)
และถูกเรียกในสหรัฐอเมริกาว่า “Internet”
Client Client
Client
Client
Server
Client
Client
Server
Internet
Intranet
Intranet
Intranet
Intranet
Client
Client
ความแตกต่างระหว่างความแตกต่างระหว่าง Internet ,Internet ,
Intranet , ExtranetIntranet , Extranet
Internet เปิดโอกาสให้ใครๆ ก็ได้เข้า
มาใช้งาน
Intranet เปิดโอกาสให้เฉพาะคนกลุ่ม
หนึ่งเท่านั้น เช่น เฉพาะพนักงานใน
บริษัท
Extranet เปิดโอกาสให้พนักงานและ
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับองค์กรนั้นใช้งานได้
พื้นฐานการทำางานของระบบพื้นฐานการทำางานของระบบ
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
การสื่อสารทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้น
เป็นการรับ-ส่งข้อมูลหรือเรียกว่าการสื่อสาร
ข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน
คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมีฮาร์ดแวร์ที่แตกต่าง
กัน เพื่อให้ติดต่อกันได้ จึงต้องมีระเบียบวิธี
การติดต่อให้ตรงกัน ซึ่งเรียกว่า โพรโทคอล
โพรโทคอล ที่นิยมในการสื่อสารทาง
อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน
เป็นโพรโทคอล ทีซีพีไอพี (TCP/IP) จุด
เด่น คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง หรืออุปกรณ์ ติด
การนำาตัวอักษรมาใช้แทนไอพี แอดเดรส ที่
เป็นตัวเลขเพื่อสะดวกในการจดจำา
DNS (Domain Name Server)
www.sru.ac.th รูปแบบการทำางานก็จะเป็น
www.sru.ac.th ----> DNS ---->
202.29.14.1
ระบบชื่อโดเมนเนม (Domain Name)
ประเภทของประเภทของ Domain NameDomain Name
ชื่อโดเมนนี้ ได้มีการจัดระบบเพื่อกำาหนด
ระดับชั้นความสำาคัญ โดยแบ่งเป็น 3 ระดับ
แต่ละระดับเรียกว่า sub domain
หน่วยงาน กลุ่มองค์กร ชื่อประเทศ
SRU.AC.TH
โดเมนสองระดับ ประกอบด้วยชื่อโดเมน
เครื่องหมายจุด และลักษณะขององค์กรหรือ
หน่วยงานที่เป็นชื่อย่อเช่น
.com สำาหรับธุรกิจ
.edu สำาหรับการศึกษา
.int สำาหรับองค์กรนานาชาติ
.org สำาหรับหน่วยงานที่ไม่แสวงหาผล
กำาไร
.net สำาหรับหน่วยงานที่มีเครือข่ายของ
ตนเองและทำาธุรกิจ
ด้านเครือข่าย
ตัวอย่าง
Facebook.com
Facebook คือ ชื่อโดเมนที่สื่อความหมายของ
หน่วยงาน
โดเมนสามระดับ ชื่อโดเมน ตัวย่อที่อยู่ด้านหลัง
เครื่องหมายจุด ใช้ระบุประเภทขององค์กรและตัวย่อที่ระบุ
ประเทศที่ก่อตั้งขององค์กรนั้นๆ เช่น
.ac.th สำาหรับสถานศึกษาในประเทศไทย
.co.th สำาหรับบริษัทที่ทำาธุรกิจในประเทศไทย
.go.th สำาหรับหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล
.in.th สำาหรับของบุคคลทั่วๆไป
.or.th สำาหรับหน่วยงานที่ไม่แสวงหาผลกำาไร
ตัวอย่าง
sjt.ac.th
sjt คือ ชื่อโดเมนชั้นที่สาม เป็นคำาย่อภาษา
อังกฤษ โรงเรียนเซนต์โยเซฟทิพวัล
.ac คือ ชื่อโดเมนที่ระบุว่าเป็นสถานศึกษา
.th คือ ชื่อโดเมนที่ระบุว่าเป็นประเทศไทย
หลักการตั้งชื่อโดเมนเนมหลักการตั้งชื่อโดเมนเนม
สามารถใช้ตัวอักษรภาษาไทย ภาษา
อังกฤษ ตัวเลข และ
–เครื่องหมาย (ยัติภังค์)ได้
โดยปกติจะขึ้นต้นด้วยตัวอักษร และลงท้าย
ด้วยตัวอักษรหรือ
ตัวเลข
มีความยาวตั้งแต่ 1-63 ตัวอักษร
ตัวอักษรตัวใหญ่ A-Z หรือตัวอักษรตัว
เล็ก ถือว่าเหมือนกัน
ต้องไม่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยเครื่องหมาย
ลักษณะระดับโดเมนเนมลักษณะระดับโดเมนเนม
com edu gov
intel
uk th jp
co ac go
sru tu
abc bcd cde
ระบบการตั้งชื่อประจำาเครื่องระบบการตั้งชื่อประจำาเครื่อง
รหัสประจำาเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่
เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยมีลักษณะเป็นกลุ่ม
ของตัวเลขฐานสิบจำานวน 4 กลุ่ม ที่ถูกแบ่งหรือ
คั่นด้วยเครื่องหมายจุดส่วนเลขภายในแต่ละกลุ่ม
จะมีตั้งแต่ 0-255 เช่น 172.16.1.1
ไอพี แอดเดรส (IP Address :
Internet Protocol Address)
คำาที่เกี่ยวข้องในการใช้อินเทอร์เน็ตคำาที่เกี่ยวข้องในการใช้อินเทอร์เน็ต
 เว็บบราวเซอร์เว็บบราวเซอร์ (Web Browser)(Web Browser) หมายถึง
โปรแกรมเรียกดูเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต เช่น
Internet Explorer
 โฮมเพจโฮมเพจ ((Home Page)Home Page) คือ เอกสารหน้าแรกของ
เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นด้วยภาษาHTML
 เว็บเพจเว็บเพจ (Web Page)(Web Page) คือ ไฟล์ หรือข้อมูลที่ทำาให้
สามารถอ่านหรือเห็นได้ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือ
World Wide Web
เว็บไซด์เว็บไซด์ (Web Site)(Web Site) คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ทำา
หน้าที่เก็บเว็บเพจต่าง ๆ หรือสถานที่ที่อยู่ของ
เว็บมาสเตอร์เว็บมาสเตอร์ (Webmaster)(Webmaster) ผู้ดูแลเว็บไซต์หรือ
ผู้ที่ทำาหน้าที่สร้างเว็บไซต์ และบริหารจัดการ
เว็บไซต์นั้น ๆ
 เวิร์ลไวด์เว็บเวิร์ลไวด์เว็บ ((World Wide WebWorld Wide Web อักษรย่ออักษรย่อ
www)www)
เทคนิคในการนำาเสนอข้อมูลในลักษณะสื่อ
ประสมที่เป็น ข้อความ ภาพและมัลติมิเดียเข้าไว้
ด้วยกันและมีการเชื่อมโยงแบบไฮเปอร์ลิงก์ ทำาให้
ค้นหาข้อมูลในระดับลึกลงไปได้เรื่อย ๆ ตาม
ต้องการ 
HTML (Hypertext Markup Language)HTML (Hypertext Markup Language) รูป
แบบของภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมในเว็บ
เพ็จ เพื่อแสดงผลบนเว็บบราวเซอร์
อีคอมเมอร์สอีคอมเมอร์ส ((E-Commerce)E-Commerce) ธุรกิจที่ทำาผ่าน
อินเทอร์เน็ต การทำาการค้าผ่านอินเทอร์เน็ต
ธุรกิจออนไลน์ ซึ่งคือการทำาธุรกิจ ซื้อ-ขาย
สินค้า-บริการผ่านอินเทอร์เน็ต โดยมีรูปแบบ
การชำาระค่าสินค้า หรือบริการ และการส่งสินค้า
URL (Uniform Resource Locator)URL (Uniform Resource Locator) การ
ระบุตำาแหน่งของแฟ้มข้อมูลใน Internet
URLURL มีมี 33 ส่วนส่วน
1. service1. service หมายถึง ชนิดหรือวิธีการที่จะใช้
ในการนำาแฟ้มนั้นมา เช่น
◦ http: เป็นแฟ้มประเภท html หรือ htm
◦ ftp: เป็นแฟ้มที่ต้องใช้ file transfer protocal
◦ file: เป็นแฟ้มที่อยู่ในเครื่องเดียวกัน
◦ gopher: เป็นแฟ้มจากบริการ gopher สำาหรับค้าหา
ข้อมูล
Service://node/path
2.2. nodenode เป็นชื่อของเครื่อง (domain
name) ที่แฟ้มนั้นอยู่ เช่น www.
yahoo.com โดยส่วนท้ายของชื่อ
node จะบอกถึงลักษณะขององค์กรที่
เป็นเข้าของเครื่องนั้น
3. path3. path เป็นส่วนของชื่อและตำาแหน่ง
ของแฟ้มในเครื่องนั้น
http://www.mci.com/test/files/fir
st.html หมายถึงแฟ้มที่ชื่อ first.html
 แวปแวป ((Wireless Application Protocol;Wireless Application Protocol;
WAP)WAP)
เป็นมาตรฐานเปิดของระบบการสื่อสารด้าน
ข้อมูลไร้สายหรือการใช้งานอินเทอร์เน็ต ผ่าน
บริการของเครื่องมือสื่อสารไร้สาย (โดยไม่ต้องมี
โมเด็มหรือตัวแปลงสัญญาณอื่นๆ)
 เอดีเอสแอลเอดีเอสแอล (Asymmetric Digital(Asymmetric Digital
Subscriber Line; ADSL)Subscriber Line; ADSL) เทคโนโลยีที่แปลง
สายโทรศัพท์ให้สามารถรับส่งข้อมูลทาง
อินเทอร์เน็ตได้เร็วกว่าโมเด็มธรรมดา โดยสามารถ
ใช้งานอินเทอร์เน็ตและยังสามารถใช้งานโทรศัพท์
ได้ด้วย
ความกว้างของสัญญาณความกว้างของสัญญาณ (Bandwidth)(Bandwidth) คือ
ความถี่ช่องสัญญาณ ในการรับส่งข้อมูลทาง
บริการต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
1. บริการด้านการสื่อสาร
1.1. จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ คือ บริการกล่อง
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้สามารถรับและส่งอีเมล
ในอินเทอร์เน็ต
1.2. รายชื่อกลุ่มสนทนา การเข้าไปมีส่วนร่วมใน
กลุ่มสนทนาจะต้องสมัครเป็นสมาชิกก่อน
1.3. กระดานข่าว หรือเว็บบอร์ด เป็นการรวบรวม
ของกลุ่มข่าว ซึ่งเป็นกลุ่มผู้สนใจที่ต้องการจะติดต่อ
และแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่นๆ
1.4. การสนทนาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การ
พูดคุยโต้ตอบกับผู้ใช้คนอื่นๆ ได้ในเวลาเดียวกัน
สามารถมองเห็นหน้ากันได้
1.5. เทลเน็ต บริการที่อนุญาตให้ผู้ใช้ติดต่อเข้าไป
2. บริการโทรศัพท์จากคอมพิวเตอร์ไปยัง
เครื่องรับโทรศัพท์
เช่น โปรแกรมสไกป์ สามารถโทรไปได้ทั้งหมายเลข
โอรศัพท์เคลื่อนที่และหมายเลขพื้นฐานทั่วไป
3. บริการด้านข้อมูล
3.1. การโอนย้ายข้อมูล คือ บริการโอนย้ายไฟล์
ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับระบบเครือ
ข่าย การทำางานจะต้อง
อาศัยเครื่องแม่ข่าย Server
3.2. เวิลด์ไวด์เว็บ จะต้องใช้โปรแกรม เว็บเบราว์
เซอร์ ในการแปลคำาสั่งภาษาเอชทีเอ็มแอล เช่น
เว็บไซต์ต่างๆ ชมภาพยนตร์
ฟังเพลงออนไลน์
3.3. การค้นหาข้อมูลเป็นการใช้บริการโปรแกรม
วิธีการเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตวิธีการเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ต
เป็นการเชื่อมโยงเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ เข้ากับ Backbone
ของอินเทอร์เน็ต โดยผ่าน
เกตเวย์(Gateway) หรือ IP Router
สายสื่อสารความเร็วสูงมาก มักใช้
กับองค์กรขนาดใหญ่ เนื่องจากมี
การเชื่อมโยงโดยตรงด้วยการเชื่อมโยงโดยตรงด้วย
เกตเวย์เกตเวย์ (Gateway)(Gateway)
Client
Server
Gateway
Internet
ISDN
Intranet
เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์
เข้าสู่อินเทอร์เน็ต โดยผ่านบริษัท
ผู้ให้บริการจัดสรรการเชื่อมโยง
การเชื่อมโยงต่อผ่านการเชื่อมโยงต่อผ่าน InternetInternet
Service Providers (ISP)Service Providers (ISP)
Client
KSC
Internet
Loxinfo
CS Internet
เครือข่ายโทรศัพท์
Modem
สายโทรศัพท์
Internet Provider
ประโยชน์ของประโยชน์ของ
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล
เสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่
นักศึกษาในมหาวิทยาลัย สามารถใช้อินเทอร์เน็ต
ติดต่อกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่
กำาลังศึกษาอยู่ได้ ทั้งที่ข้อมูลที่เป็น ข้อความ เสียง
ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น
ด้านการศึกษา
ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจทาง
ธุรกิจ
สามารถซื้อขายสินค้า ผ่านระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
ผู้ใช้ที่เป็นบริษัท หรือองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิด
ให้บริการ และสนับสนุนลูกค้าของตน ผ่านระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้คำาแนะนำา
สอบถามปัญหาต่าง ๆ ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัว
โปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) หรือโปรแกรม
ด้านธุรกิจและ
การพาณิชย์
การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การ
ค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า Magazine Online
รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่นๆ โดยมีภาพ
ประกอบ ที่จอคอมพิวเตอร์เหมือนกับวารสาร
ตามร้านหนังสือทั่วๆ ไป
สามารถฟังวิทยุผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ได้
สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์
ตัวอย่างทั้งภาพยนตร์ใหม่ และเก่า มาดูได้
านการบันเทิง
ข้อเสียของข้อเสียของ
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
เป็นแหล่งข้อมูลที่เสียหาย ข้อมูลไม่ดี ไม่ถูกต้อง
เป็นแหล่งซื้อขายประกาศของผิดกฎหมาย การ
ขายบริการทางเพศ
เป็นที่รวมและกระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ต่าง
ๆ
มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมาณมาก
ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี ทำาให้การค้นหา
กระทำาได้ไม่ดีเท่าที่ควร
ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องพิจารณาให้ดีเสีย
โรคติดอินเทอร์เน็ตโรคติดอินเทอร์เน็ต
รู้สึกหมกมุ่นกับการใช้งานอินเทอร์เน็ต
มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลานานขึ้น
อยู่เสมอ
ไม่สามารถควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตได้
รู้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรือ
หยุดใช้
คิดว่าเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้ว ทำาให้ตนเองรู้สึกดี
ขึ้น
ใช้อินเทอร์เน็ตในการหลีกเลี่ยงปัญหา

มารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ตมารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ต
ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำาร้าย หรือละเมิดผู้อื่น
ต้องไม่รบกวนการทำางานของผู้อื่น
ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูล
ของผู้อื่น
ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูล
ข่าวสาร
ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่
ตนเองไม่มีสิทธิ์
ต้องไม่นำาเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
ต้องคำานึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมที่เกิดจาก
การ/กระทำาของท่าน
ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา
และมีมารยาท
จริยธรรมและความปลอดภัยจริยธรรมและความปลอดภัย
แบบแผนความประพฤติหรือความมี
สามัญสำานึกต่อสังคมในทางที่ดี โดยไม่มีกฎ
เกณฑ์ตายตัว ขึ้นอยู่กับกลุ่มสังคมหรือการ
ยอมรับในสังคม ส่วนใหญ่จริยธรรมจะเกี่ยวข้อง
กับการคิดและตัดสินใจได้ว่าสิ่งไหน ควร-ไม่
ควร ดี-ไม่ดี ถูก-ผิด
41
1. ความเป็นส่วนตัวความเป็นส่วนตัว (Privacy)(Privacy)
สิทธิส่วนบุคคล หน่วยงานหรือ องค์กร ซึ่งจะ
คงไว้ซึ่งสารสนเทศที่มีอยู่นั้น เพื่อตัดสินว่า
สารสนเทศดังกล่าวสามารถเปิดเผยหรือยินยอม
ให้ผู้อื่นนำาไปใช้ประโยชน์ต่อหรือเผยแพร่ได้
หรือไม่ หากมีการนำาไปใช้ประโยชน์เจ้าของ
สิทธิควรจะได้
จริยธรรมที่ตั้งอยู่บนพื้น
ฐาน 4 ประเด็น
42
2.2. ความถูกต้องแม่นยำาความถูกต้องแม่นยำา (Accuracy)(Accuracy) ของ
ข้อมูลข่าวสารที่ถูกนำาเสนอ เผยแพร่ อาจมีบาง
ประเด็นที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง ตลอดจน
ความน่าเชื่อถือมีค่อนข้างน้อย การนำาข้อมูล
และสารสนเทศไปใช้งานอาจก่อให้เกิดผลเสีย
หายได้ ในกรณีที่ผู้ใช้งานขาดการวิเคราะห์
รวมถึงการตรวจสอบแหล่งที่มาของข้อมูลที่ดีพอ
43
3.3. ความเป็นเจ้าของความเป็นเจ้าของ (Property)(Property) สังคมยุค
สารสนเทศมีการเผยแพร่ และนำาเสนอข้อมูลได้
อย่างรวดเร็ว มีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ทันสมัย
สนับสนุนวิธีการสร้างและเผยแพร่ที่ง่ายขึ้น
ทำาให้เกิดการล่วงละเมิดลิขสิทธิ์ (Copyright)
44
4.4. การเข้าถึงข้อมูลการเข้าถึงข้อมูล (Accessibility)(Accessibility)
ปัจจุบันหน่วยงานต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะมีการ
กำาหนดสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ต่างระดับ
กัน โดยมีผู้ทำาหน้าที่บริหารระบบ (System
Administration) เป็นผู้กำาหนดสิทธิ์ในการเข้า
ถึงข้อมูลที่มีการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนกันอย่าง
แพร่หลายนั้นว่าใครควรใช้งานในระดับใดได้
บ้าง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 การลักลอบเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาตการลักลอบเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต
◦ แฮกเกอร์แฮกเกอร์ (Hacker)(Hacker) เป็นกลุ่มคนที่มีความรู้ความ
สามารถทางด้านคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี โดยอาศัยเทคโนโลยีลักลอบดู
ข้อมูลของผู้อื่น โดยไม่ได้รับอนุญาต
◦ แครกเกอร์แครกเกอร์ (Cracker)(Cracker) เป็นกลุ่มคนที่มีความรู้ความ
สามารถเช่นเดียวกับกลุ่มแฮกเกอร์ แต่มีเจตนาที่แตกต่าง
กันอย่างสิ้นเชิง แครกเกอร์จะมุ่งทำาลายระบบหรือ
ลักลอบเข้าไปแก้ไข หรือทำาลายข้อมูลในระบบทิ้ง การก
ระทำาของแครกเกอร์มีเจตนาทำาให้เกิดความเสียหายของ
ข้อมูลมากกว่าแฮกเกอร์ จึงถูกเรียกว่า กลุ่มคนหมวกดำา
◦ สคริปต์คิดดี้สคริปต์คิดดี้ (Script Kiddy)(Script Kiddy)
อาศัยโปรแกรมหรือเครื่องมือบางอย่างที่หามาได้
จากแหล่งต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต และทำาตามคู่มือ
การใช้งาน ก็สามารถเข้าไปก่อกวนระบบ
คอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ให้เกิดความเสียหายได้
◦ การขโมยและทำาลายอุปกรณ์การขโมยและทำาลายอุปกรณ์ (Hardware Theft
and Vandalism)
◦ การขโมยโปรแกรมคอมพิวเตอร์การขโมยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การทำาซำ้าหรือการ
ละเมิดลิขสิทธิ์
การก่อกวนระบบด้วยโปรแกรมประสงค์ร้ายการก่อกวนระบบด้วยโปรแกรมประสงค์ร้าย
◦ ไวรัสคอมพิวเตอร์ อาศัยคำาสั่งที่เขียนขึ้น
ภายในตัวโปรแกรม เพื่อกระจายไปยังเครื่อง
คอมพิวเตอร์เป้าหมาย
◦ เวิร์มหรือหนอนอินเทอร์เน็ต เป็นกลุ่ม
โปรแกรม ถูกสร้างขึ้นเพื่อมุ่งเน้นการกระจาย
ที่แพร่หลายและมีการทำาลายข้อมูลรุนแรงกว่า
ไวรัสคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเครือ
ข่าย
◦ ม้าโทรจันม้าโทรจัน (Trojan Horses)(Trojan Horses) เป็นรูปแบบ
ของโปรแกรมที่ทำางานโดยอาศัยการฝังตัวอยู่
ในระบบคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นและไม่มีการ
◦ สแปมเมล์สแปมเมล์ (Spam Mail)(Spam Mail) เป็นรูปแบบของ
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เราไม่ต้องการ มี
วิธีการก่อกวนโดยอาศัยการส่งอีเมล์แบบ
หว่านแห และส่งต่อให้กับผู้รับจำานวนมาก
ที่ถึงแม้จะไม่รู้จักกันมาก่อนก็ตามให้ได้รับ
ข้อมูลข่าวสารประเภทเชิญชวนให้ซื้อสินค้า
หรือเลือกใช้บริการของเว็บไซต์นั้น
การหลอกลวงเหยื่อเพื่อขโมยข้อมูลส่วนการหลอกลวงเหยื่อเพื่อขโมยข้อมูลส่วน
ตัว การใช้งานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตัว การใช้งานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การทำาธุรกรรมที่จำาเป็นต้องใช้ข้อมูลส่วนตัวป้อน
เข้าไปก่อนเรียกขอใช้บริการ เช่น รายละเอียด
หมายเลขบัตรเครดิต ชื่อผู้ใช้หรือรหัสผ่าน ในการ
เข้าใช้งานบนเว็บไซต์ของผู้ให้บริการตัวจริง
การรักษาความปลอดภัยของระบบการรักษาความปลอดภัยของระบบ
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
ติดตั้งโปรแกรมติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส
ระบบไฟร์วอลล์ระบบไฟร์วอลล์ (Fire wall)เป็นระบบรักษาความ
ปลอดภัยที่ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์หรือซอฟแวร์ก็ได้
ติดตั้งระบบนี้เพื่อทำาหน้าที่คอยตรวจสอบ
ดักจับ และป้องกันการบุกรุก การเข้าถึงข้อมูลของ
โปรแกรมจากระบบภายนอกที่ไม่ได้รับอนุญาต
 การเข้ารหัสข้อมูลการเข้ารหัสข้อมูล เป็นวิธีการรักษาความ
ปลอดภัยของข้อมูลโดยอาศัยสมการทาง
คณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนทำาการเปลี่ยนแปลง
ข้อมูลที่อ่านได้ตามปกติ (Plaintext) ให้อยู่
ในรูปแบบของข้อมูลที่ไม่สามารถอ่านได้
(Cipher Text)
 การสำารองข้อมูลการเข้ารหัส
(Encryption)
ถอดรหัสข้อมูล
(Decryption)
แนวโน้มอินเทอร์เน็ตในอนาคตแนวโน้มอินเทอร์เน็ตในอนาคต
อินเทอร์เน็ตจะเข้ามามีส่วนร่วมกับชีวิตประจำา
วันของคนเรามากขึ้น และจะช่วยอำานวยความ
สะดวกในการทำางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี
รูปแบบใหม่ ดังนี้
การคุยโทรศัพท์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (Voice
over IP) ซึ่งปัจจุบันองค์การโทรศัพท์แห่ง
ประเทศไทย ก็นำามาใช้ผ่านหมายเลข 1234
ทั่วประเทศ (ต้นปี 2545)
การคุยระยะไกลแบบมีภาพและเสียงของคู่สนทนา
(Voice conference)
การนำาอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์กับเครือข่ายเคเบิ้ล
ทีวี (Web TV & Cable MODEM)
การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตกับเครื่องใช้ต่างๆ ใน
ชีวิตประจำาวัน (Internet Device)

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittichai Pinlert
 
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลKriangx Ch
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_Rattanathon Phetthom
 
โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc.
โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc. โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc.
โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc. Thanatchaporn Yawichai
 
รายงานโครงงานคอมพิว
รายงานโครงงานคอมพิวรายงานโครงงานคอมพิว
รายงานโครงงานคอมพิวAi Promsopha
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSarid Nonthing
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6ครู อินดี้
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 

What's hot (14)

แบบร่างเค้าโครงงาน
แบบร่างเค้าโครงงานแบบร่างเค้าโครงงาน
แบบร่างเค้าโครงงาน
 
แบบร่างเค้าโครงงาน
แบบร่างเค้าโครงงานแบบร่างเค้าโครงงาน
แบบร่างเค้าโครงงาน
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
บทที่1 ทวีชัย
บทที่1  ทวีชัยบทที่1  ทวีชัย
บทที่1 ทวีชัย
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
 
โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc.
โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc. โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc.
โครงร่างโครงงานคอม เรื่อง กว่าจะเป็น Apple inc.
 
รายงานโครงงานคอมพิว
รายงานโครงงานคอมพิวรายงานโครงงานคอมพิว
รายงานโครงงานคอมพิว
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
Introduction to internet
Introduction to internetIntroduction to internet
Introduction to internet
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 

Similar to การติดต่อสื่อสาร

อินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตอินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตYongyut Nintakan
 
เนnhอหา Blog
เนnhอหา Blogเนnhอหา Blog
เนnhอหา BlogJha Jah
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน praifa1122
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)fulk123
 
งานคอม Wordpress
งานคอม Wordpressงานคอม Wordpress
งานคอม WordpressAdsurdity Master
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2fulk123
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตBhisut Boonyen
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานShe's Mammai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานSirisuda Sirisinha
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)Prapatsorn Keawnoun
 
การพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกการพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกwadsana123
 
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตงานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตYongyut Nintakan
 

Similar to การติดต่อสื่อสาร (20)

อินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตอินทรอเน็ต
อินทรอเน็ต
 
เนnhอหา Blog
เนnhอหา Blogเนnhอหา Blog
เนnhอหา Blog
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
123
123123
123
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
 
งานคอม Wordpress
งานคอม Wordpressงานคอม Wordpress
งานคอม Wordpress
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
 
ธัญญารัตน์
ธัญญารัตน์ธัญญารัตน์
ธัญญารัตน์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกการพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อก
 
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตงานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
 

การติดต่อสื่อสาร