SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ชื่อสถานที่       กองหิ นประหลาดสโตนเฮนจ์
                  : Stonehenge
สถานที่ต้ง
         ั        เมืองซัลลิสเบอรี่ มณฑลวิลไซร์ ประเทศอังกฤษ
ปัจจุบน
      ั           สามารถเข้าเยี่ยมชมได้



                                                                      กองหิ นประหลาดนี้อยู่
                                                                กลางทุ่งนาแห่งเมืองซัลลิ
                                                                สเบอรี ห่างจากกรุ ง
                                                                ลอนดอนประมาณ 10 ไมล์
                                                                ประกอบด้วยแนวหิ นขนาด
                                                                มหึ มาหิ นเรี ยงรายราว ๆ 3
                                                                กิโลเมตร และ มีกลุ่มหิ น
                                                                ใหญ่ประมาณ 112 ก้อน ตั้ง
                                                                              ่       ่
                                                                โดดเดี่ยวอยูกลางทุงนา เป็ น
                                                                รู ปวงกลมซ้อนกันอยู่ 3 วง
                                                      ่                   ั ่
บางก้อนล้มนอน บางก้อนตั้งตรง บางก้อนวางซ้อนทับอยูบนยอดก้อนหิ นที่ต้งอยูสองก้อน
    วงกลมรอบนอก มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 100 ฟุต มีหินทั้งหมด 30 ก้อน แต่ละก้อนสูง 13
ฟุต
    วงกลมรอบกลาง มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 76 ฟุต มีหินทั้งหมด 40 ก้อน มีสองก้อนตั้งสูงถึง
22 ฟุต
    วงในสุด มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 50 ฟุต มีหินทั้งหมด 42 ก้อน ล้มบ้างตั้งสูงบ้าง หิ นแต่ละ
ก้อนหนักเป็ นตันๆ เฉลี่ยแล้วสูง 4 เมตร หนัก 26 ตัน
มีผสนนิษฐานว่าตั้งอยูในที่น้ นมาตั้งแต่ก่อนคริ สตกาลถึง 1,700 ปี เป็ นสิ่ งก่อสร้างที่โดยไม่
         ู้ ั                  ่     ั
มีร่องรอยของความเป็ นมา ไม่มีใครทราบว่าใครเป็ นผูสร้าง, สร้างเพื่อวัตถุประสงค์อะไร? ที่น่า
                                                         ้
แปลกก็คือ ในริ เวณนั้นเป็ นทุ่งกว้าง ไม่มีภเู ขาและสิ่ งก่อสร้างด้วยก้อนหิ นอื่น ๆ อีกเลย จึงทาให้
สงสัยว่าผูก่อสร้างนาหิ นเหล่านั้นมาจากไหน และไม่ปรากฏว่ามีการขน หรื อสิ่ งปรักหักพังใน
              ้
การก่อสร้าง บริ เวณที่ดงกล่าว ใช้อะไรยกหิ นก้อน ที่หนัก ๆ หลาย ๆ ตันขึ้นวางซ้อนกันได้ ซึ่ ง
                         ั
    ่
อยูสูงถึง 13 ฟุต นับเป็ นสิ่ งก่อสร้างที่มหัศจรรย์ท่ีทาทายความอยากรู้ของมนุษย์ยคปัจจุบนยิ่งนัก
                                                      ้                            ุ       ั
          สโตนเฮนจ์มีชื่อเสี ยงอย่างมากในฐานะที่เป็ นกลุ่มหิ นประหลาดซึ่ งไม่มีใครทราบ
วัตถุประสงค์ในการสร้างอย่างชัดเจน และเมื่อพิจารณาถึงอายุของมันแล้ว คาดว่ากลุ่มกองหิ น
ประหลาดนี้ ถูกสร้างขึ้นมาเมื่อ 5,000 ปี ที่แล้ว ทาให้นกวิทยาศาสตร์ และนักประวัติศาสตร์ ต่าง
                                                        ั
สงสัยว่า คนในสมัยก่อนสามารถยกแท่งหิ นที่มีน้ าหนักกว่า 30 ตัน ขึ้นไปวางเรี ยงกันได้อย่างไร
ทั้ง ๆ ที่ปราศจากเครื่ องทุ่นแรงอย่างที่เราใช้อยูในปัจจุบน และที่น่าแปลกไปกว่านั้นคือ ใน
                                                 ่        ั
                                            ้
บริ เวณที่ราบดังกล่าว ไม่ใช่บริ เวณที่จะมีกอนหิ นขนาดมหึ มานี้ ดังนั้นจึงสันนิ ษฐานว่าผูสร้าง
                                                                                        ้
ต้องทาการชักลากแท่งหิ นยักษ์ท้งหมด มาจากที่อื่น ซึ่ งคาดว่าน่าจะมาจากบริ เวณที่เรี ยกว่า "ทุ่ง
                                   ั
                  ่
มาร์ ลโบโร" ที่อยูไกลออกไปประมาณ 40 กิโลเมตรเลยทีเดียว
ั
         มีผสนนิษฐานถึงวัตถุประสงค์ในการสร้างสโตนเฮนจ์กนหลายประเด็น แต่ประเด็นที่ดู
            ู้ ั
จะได้รับความเชื่อถือมากที่สุดคือ เป็ นสัญลักษณ์ถึงอวัยเพศหญิง เป็ นสถานที่สาหรับการทา
พิธีกรรมทางศาสนาของชนกลุ่มที่นบถือลัทธิดรู อิต รองลงมาคือความเชื่อที่ระบุว่า เป็ นการ
                                    ั
สร้างเพื่อหวังผลทางดาราศาสตร์ ใช้ในการสังเกตปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนท้องฟ้ า
เช่น สุริยปราคา เป็ นต้น
          ุ
       สโตนเฮนจ์ได้ถูกจัดให้เป็ นเจ็ดสิ่ งมหัศจรรย์ของโลกในยุคกลางอีกด้วย
        สงสัยกันมาตั้งนานว่า บรรพบุรุษของคนบนดินแดนอังกฤษสร้างสโตนเฮนจ์ข้ ึนมาทาไม
ในที่สุด ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเสี ยงและดนตรี จากมหาวิทยาลัยฮัดเดอร์ ฟิลด์คนพบว่า แท่งหิ นมหึ มา
                                                                      ้
ที่ต้งตระหง่านเป็ นวงกลมเหนือเนินดินสามารถสะท้อนเสี ยงได้อย่างวิเศษ
     ั



อย่างที่หลายคนพอรู้มาบ้างแล้วว่า สโตนเฮนจ์เป็ นชุมนุมของผูศรัทธาทางศาสนาพิธีกรรมใน
                                                           ้
สมัยก่อน เมื่อมาถึงแล้วก็ชกชวนกันร้องเพลงสวดสไตล์แซมบ้า และเจ้าแท่งหิ นขนาดใหญ่กลุ่ม
                          ั
นี้สามารถสะท้อนเสี ยงเพลงสวดได้ดีเสี ยด้วยซิ เหมาะที่จะนังล้อมวงฟังมนตราแพร่ พลังจิต
                                                         ่

อันดับแรก รู เพิร์ต ทิล นักวิจยชาวอังกฤษและเพื่อนร่ วมทีมใช้คอมพิวเตอร์ จาลองคาดการณ์
                              ั
รู ปแบบของเสียงสะท้อน ด้วยอยากรู้ว่าถ้าสโตนเฮนจ์ยงคงสมบูรณ์แบบเหมือน 5,000 ปี ที่แล้ว
                                                     ั
มันจะสะท้อนเสี ยงได้อย่างที่คิดหรื อเปล่า แต่หากจะทดลองกับสภาพของสโตนเฮนจ์ในปัจจุบน
                                                                                  ั
ซึ่ งพังลงมาบางส่วนอาจทาให้การทดลองคลาดเคลื่อนได้

สุดท้ายเลยชวนกันเดินทางไปเยือนสโตนเฮนจ์จาลองขนาดเท่าของจริ งที่เมย์ฮิลล์ กรุ งวอชิงตัน
ซึ่ งจาลองไว้เป็ นอนุสรณ์สงคราม และปรับปรุ งให้หินทุกก้อนวางเรี ยงกันในสภาพสมบูรณ์
น่าจะช่วยให้ผลทดสอบด้านเสี ยงสมบูรณ์แบบกว่า

ทีมวิจยใช้ซอฟต์แวร์ ที่ออกแบบมาเป็ นพิเศษเปรี ยบเทียบกับผลที่ได้จากการใช้คอมพิวเตอร์
      ั
จาลองแบบ และการทดสอบกับแบบจาลองสโตนเฮนจ์ จนได้เสี ยงตัวอย่างที่คาดว่าน่าจะ
สะท้อนมาจากกลุ่มหิ น เสี ยงสะท้อนที่ได้เหมือนจะบอกเป็ นนัยว่า สถานที่แห่งนี้ตองมีดนตรี
                                                                             ้
บรรเลง นักวิจยคาดว่าดนตรี ที่เล่นกันบริ เวณสโตนเฮนจ์คงเป็ นเพลงที่มีจงหวะธรรมดาซ้ าๆ และ
             ั                                                       ั
                ่
ให้สะท้อนก้องอยูในบริ เวณนั้น

"จังหวะที่เล่นน่าจะเป็ นจังหวะ 160 เคาะต่อนาที ค่อนข้างเร็ ว มันน่าสนใจที่พวกเขาใช้เพลง
จังหวะเร็วเหมือนแซมบ้าสาหรับเพลงสวด ถือเป็ นจังหวะเร็ วที่สุดสาหรับดนตรี และยัง เป็ น
จังหวะเร็วที่สุดของการเต้นของหัวใจ เหมือนกับคนที่ออกกาลังกายมาอย่างหนัก หรื อเต้นราส่าย
สะบัดเต็มที่" ทิล กล่าว

นักโบราณคดีทุ่มเถียงกันมานานแล้วว่า สโตนเฮนจ์ สถานที่ก่อนประวัติศาสตร์ ยคหิ นใหม่และ
                                                                             ุ
ยุคทองแดง ถูกสร้างขึ้นเพื่อจุดมุ่งหมายใดกันแน่ สุดท้ายเหลือสองทฤษฎีหลักที่เข้าเค้ามากที่สุด
ทฤษฎีแรกคือใช้เป็ นสถานที่รักษา อีกทฤษฎีเชื่อว่าเป็ นที่เผาศพ ทั้งสองทฤษฎีลวนเกี่ยวข้องกับ
                                                                           ้
พิธีกรรมทั้งสิ้ น และพิธีกรรมส่วนใหญ่มกมีดนตรี ประกอบเสมอ
                                       ั

เสกวัตถุลอยตัวด้วยควอนตัมฟิ สิ กส์

ไม่ใช่มายากลของเดวิด คอปเปอร์ ฟิลด์ แต่นกวิทยาศาสตร์ สหรัฐพบวิธีบงคับวัตถุขนาดเล็กให้
                                        ั                        ั
"ลอยตัว" โดยอาศัยแรงมหัศจรรย์ของกลศาสตร์ ควอนตัม และอาจเป็ นกลวิธีนามาใช้สร้าง
เครื่ องจักรกลระดับนาโน
ทีมวิจยจากสถาบันสุขภาพแห่งชาติในสหรัฐ ศึกษาแรงที่กระทาในระดับโมเลกุล โดยนา
      ั
โมเลกุลที่ออกแรงผลักกันมาประกอบกัน แรงผลักที่เกิดขึ้นทาให้วตถุลอยตัว และทาให้ชิ้นส่วน
                                                           ั
อุปกรณ์จิ๋วเคลื่อนไหวโดยปราศจากแรงเสี ยดสี อย่างสิ้ นเชิง

เฟเดอริ โก คาปัสโซ นักฟิ สิ กส์ประยุกต์จากมหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด แมสซาชูเซตส์ ตีพิมพ์งานวิจย
                                                                                           ั
ลงวารสารเนเจอร์ ฉบับล่าสุด เชื่อว่า การค้นหาแรงรู ปแบบดังกล่าว เปิ ดทางให้การพัฒนา
อุปกรณ์จิ๋วชนิดใหม่

แม้ว่าทีมวิจยยังไม่ได้ลงมือทดลองยกวัตถุลอยตัวให้เห็น อย่างน้อยตอนนี้พวกเขาก็ทราบวิธี
            ั
ปฏิบติ และมันใจว่าสาเร็ จแน่นอน การค้นพบดังกล่าวได้ยื่นจดสิ ทธิบตรแล้ว
      ั       ่                                                 ั

"หากลดแรงเสี ยดสีที่เกิดจากการเคลื่อนไหว และลดการสึ กหรอของชิ้นส่วนได้ มันจะเป็ น
เทคนิคใหม่ซ่ ึ งว่ากันตามทฤษฎีแล้ว จะช่วยปรับปรุ งการทางานของเครื่ องจักรกลขนาดเล็กระดับ
ไมครอน หรื อเล็กระดับโมเลกุลด้วยซ้ า" ดร.ฮวน อเล็กซานเดอร์ จากสถาบันสุขภาพเด็กและ
มนุษย์ สังกัดสถาบันสุขภาพแห่งชาติ (เอ็นไอเอช) กล่าว

เทคโนโลยีกลศาสตร์ นาโนถูกจับตามองว่า เป็ นเทคโนโลยีช่วยปรับปรุ งงานวิจยด้านการแพทย์
                                                                          ั
และสาขาอื่น การเปลี่ยนแปลงรู ปแบบของโมเลกุล และการนาโมเลกุลมาประกอบกันเป็ น
พื้นฐานของการประดิษฐ์เครื่ องจักรกลจิ๋ว เพื่อใช้งานด้านการผ่าตัด การผลิตอาหารและเชื้อเพลิง
ตลอดจนยังช่วยให้คอมพิวเตอร์ ทางานประมวลผลรวดเร็วขึ้น

เบื้องหลังการค้นพบดังกล่าว เกี่ยวข้องกับความรู้ดาน "กลศาสตร์ ฟิสิ กส์" หรื อกฎเกณฑ์ที่
                                                ้
ควบคุมพฤติกรรมของอนุภาคขนาดเล็กที่สุดของสสาร

การค้นพบล่าสุดเป็ นงานวิจยต่อเนื่องจากสมัยที่คาปัสโซ เป็ นรองประธานการวิจยด้านฟิ สิ กส์ที่
                         ั                                               ั
เบลล์แล็บ หน่วยวิจยของบริ ษท ลูเซนท์ เทคโนโลยี ซึ่ งหลังจากควบรวมกิจการเปลี่ยนชื่อเป็ น
                   ั       ั
อัลคาเทล-ลูเซนท์
"มันเริ่ มจากที่ผมลองคิดดูว่า จะเอาแรงในทฤษฎีกลศาสตร์ ควอนตัมที่น่าทึ่ง มาใช้ประโยชน์ได้
อย่างไร" คาปัสโซ กล่าว

ก่อนหน้านั้น เบลล์แล็บพยายามหาวิธีพฒนาอุปกรณ์ชนิดใหม่ที่เรี ยกว่า เครื่ องจักรจุล
                                      ั
อิเล็กทรอนิกส์ หรื อปัจจุบนรู้จกกันในวงการว่า "เมมส์" (MEMS) เป็ นเทคโนโลยีที่ปรากฏอยูใน
                          ั ั                                                           ่
เซ็นเซอร์ถุงลมนิรภัยของรถยนต์ เพื่อวัดระดับการลดความเร็ วที่ผิดปกติของรถ ซึ่ งอาจเกิดจาก
การชน เมมส์ยงใช้ประโยชน์ดานอื่นอีกมากมาย เช่น เซ็นเซอร์ วดแรงดันโลหิ ตเส้นเลือดหัวใจ
              ั                ้                            ั

เขารู้ดีว่า อุปกรณ์ในอนาคตจะมีขนาดเล็กลงเรื่ อยๆ จนอาจตกอยูในสภาพที่เรี ยกว่า "แรงคาสซิ
                                                                   ่
เมียร์ " เป็ นแรงดึงดูดที่เกิดขึ้นเมื่อพื้นผิวโลหะขนาดเล็กสัมผัสกันใกล้ชิดมาก จนทาให้ช้ินส่วน
เคลื่อนไหวขยับไม่ได้ ต่อมา ทีมนักวิทยาศาสตร์ ชาวรัสเซี ยพบว่า แรงดึงดูดที่เกิดขึ้นอาจพลิก
กลับให้เป็ นแรงผลักได้ หากนาสสารบางอย่างมาผสมเข้ากัน

ในการทดลอง คาปัสโซและทีมงาน จุ่มลูกโลหะชุบทองลงในของเหลวชนิดหนึ่ง และวัดแรง
                                                                                      ้
กระทาที่เกิดขึ้นขณะที่ลกโลหะเริ่ มดูดกับแผ่นโลหะที่เตรี ยมไว้ แต่เมื่อวางกับแผ่นซิ ลิกากลับ
                       ู
ผลักออก ซึ่ งเขามีแผนทดลองทาให้ลูกโลหะลอยตัวไว้แล้ว
เอกสารอ้ างอิง
ดนุพล เดชาบดิน "สโตนเฮจน์ 29 กรกฎาคม 2550

<
http://www.ilovetogo.com/Article/54/79/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B
9%88%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A
3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94-
%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AE%E0
%B8%99%E0%B8%88%E0%B9%8C-(-Stonehenge-) > 14 กันยายน 2554.

More Related Content

What's hot

บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์Som Kamonwan
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศSukumal Ekayodhin
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกttt ttt
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)Miewz Tmioewr
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sunnative
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 

What's hot (13)

บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
ดาวฤกษ
ดาวฤกษ ดาวฤกษ
ดาวฤกษ
 

Viewers also liked

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Viewers also liked (20)

จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอนจังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
 
ประเทศ สโลเกีย
ประเทศ สโลเกียประเทศ สโลเกีย
ประเทศ สโลเกีย
 
บุรีรัมย์
บุรีรัมย์บุรีรัมย์
บุรีรัมย์
 
กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
ตุ๊กตาทหารดินเผา
ตุ๊กตาทหารดินเผาตุ๊กตาทหารดินเผา
ตุ๊กตาทหารดินเผา
 
ประเทศสเปน
ประเทศสเปนประเทศสเปน
ประเทศสเปน
 
จังหวัดสมุทรสาคร
จังหวัดสมุทรสาครจังหวัดสมุทรสาคร
จังหวัดสมุทรสาคร
 
จังหวัดลำปาง
 จังหวัดลำปาง จังหวัดลำปาง
จังหวัดลำปาง
 
จังหวัดอำนาจเจริญ
จังหวัดอำนาจเจริญจังหวัดอำนาจเจริญ
จังหวัดอำนาจเจริญ
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
นักออกแบบแฟชั่น
นักออกแบบแฟชั่นนักออกแบบแฟชั่น
นักออกแบบแฟชั่น
 
Sss
SssSss
Sss
 
ประเทศโอมาน
ประเทศโอมานประเทศโอมาน
ประเทศโอมาน
 
จังหวัดปทุมธานี
จังหวัดปทุมธานีจังหวัดปทุมธานี
จังหวัดปทุมธานี
 
แม็กซิโก
แม็กซิโกแม็กซิโก
แม็กซิโก
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
โคลอสเซียม
โคลอสเซียมโคลอสเซียม
โคลอสเซียม
 
ตุ๊กตาทหารดินเผา
ตุ๊กตาทหารดินเผาตุ๊กตาทหารดินเผา
ตุ๊กตาทหารดินเผา
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 
Rapport
Rapport Rapport
Rapport
 

Similar to สโตนเฮจน์

กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้ากลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้าfreelance
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสMuttakeen Che-leah
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยโอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยKlangpanya
 
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยโอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยKlangpanya
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 น้ำ' เพชร
 
เครื่องวัดกลิ่น
เครื่องวัดกลิ่นเครื่องวัดกลิ่น
เครื่องวัดกลิ่นBestrade Information
 
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptxบทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptxssuserfffbdb
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Namchai Chewawiwat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Inknaka
 

Similar to สโตนเฮจน์ (20)

กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้ากลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีส
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยโอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
 
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยโอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
เครื่องวัดกลิ่น
เครื่องวัดกลิ่นเครื่องวัดกลิ่น
เครื่องวัดกลิ่น
 
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptxบทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

สโตนเฮจน์

  • 1. ชื่อสถานที่ กองหิ นประหลาดสโตนเฮนจ์ : Stonehenge สถานที่ต้ง ั เมืองซัลลิสเบอรี่ มณฑลวิลไซร์ ประเทศอังกฤษ ปัจจุบน ั สามารถเข้าเยี่ยมชมได้ กองหิ นประหลาดนี้อยู่ กลางทุ่งนาแห่งเมืองซัลลิ สเบอรี ห่างจากกรุ ง ลอนดอนประมาณ 10 ไมล์ ประกอบด้วยแนวหิ นขนาด มหึ มาหิ นเรี ยงรายราว ๆ 3 กิโลเมตร และ มีกลุ่มหิ น ใหญ่ประมาณ 112 ก้อน ตั้ง ่ ่ โดดเดี่ยวอยูกลางทุงนา เป็ น รู ปวงกลมซ้อนกันอยู่ 3 วง ่ ั ่ บางก้อนล้มนอน บางก้อนตั้งตรง บางก้อนวางซ้อนทับอยูบนยอดก้อนหิ นที่ต้งอยูสองก้อน วงกลมรอบนอก มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 100 ฟุต มีหินทั้งหมด 30 ก้อน แต่ละก้อนสูง 13 ฟุต วงกลมรอบกลาง มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 76 ฟุต มีหินทั้งหมด 40 ก้อน มีสองก้อนตั้งสูงถึง 22 ฟุต วงในสุด มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 50 ฟุต มีหินทั้งหมด 42 ก้อน ล้มบ้างตั้งสูงบ้าง หิ นแต่ละ ก้อนหนักเป็ นตันๆ เฉลี่ยแล้วสูง 4 เมตร หนัก 26 ตัน
  • 2. มีผสนนิษฐานว่าตั้งอยูในที่น้ นมาตั้งแต่ก่อนคริ สตกาลถึง 1,700 ปี เป็ นสิ่ งก่อสร้างที่โดยไม่ ู้ ั ่ ั มีร่องรอยของความเป็ นมา ไม่มีใครทราบว่าใครเป็ นผูสร้าง, สร้างเพื่อวัตถุประสงค์อะไร? ที่น่า ้ แปลกก็คือ ในริ เวณนั้นเป็ นทุ่งกว้าง ไม่มีภเู ขาและสิ่ งก่อสร้างด้วยก้อนหิ นอื่น ๆ อีกเลย จึงทาให้ สงสัยว่าผูก่อสร้างนาหิ นเหล่านั้นมาจากไหน และไม่ปรากฏว่ามีการขน หรื อสิ่ งปรักหักพังใน ้ การก่อสร้าง บริ เวณที่ดงกล่าว ใช้อะไรยกหิ นก้อน ที่หนัก ๆ หลาย ๆ ตันขึ้นวางซ้อนกันได้ ซึ่ ง ั ่ อยูสูงถึง 13 ฟุต นับเป็ นสิ่ งก่อสร้างที่มหัศจรรย์ท่ีทาทายความอยากรู้ของมนุษย์ยคปัจจุบนยิ่งนัก ้ ุ ั สโตนเฮนจ์มีชื่อเสี ยงอย่างมากในฐานะที่เป็ นกลุ่มหิ นประหลาดซึ่ งไม่มีใครทราบ วัตถุประสงค์ในการสร้างอย่างชัดเจน และเมื่อพิจารณาถึงอายุของมันแล้ว คาดว่ากลุ่มกองหิ น ประหลาดนี้ ถูกสร้างขึ้นมาเมื่อ 5,000 ปี ที่แล้ว ทาให้นกวิทยาศาสตร์ และนักประวัติศาสตร์ ต่าง ั สงสัยว่า คนในสมัยก่อนสามารถยกแท่งหิ นที่มีน้ าหนักกว่า 30 ตัน ขึ้นไปวางเรี ยงกันได้อย่างไร ทั้ง ๆ ที่ปราศจากเครื่ องทุ่นแรงอย่างที่เราใช้อยูในปัจจุบน และที่น่าแปลกไปกว่านั้นคือ ใน ่ ั ้ บริ เวณที่ราบดังกล่าว ไม่ใช่บริ เวณที่จะมีกอนหิ นขนาดมหึ มานี้ ดังนั้นจึงสันนิ ษฐานว่าผูสร้าง ้ ต้องทาการชักลากแท่งหิ นยักษ์ท้งหมด มาจากที่อื่น ซึ่ งคาดว่าน่าจะมาจากบริ เวณที่เรี ยกว่า "ทุ่ง ั ่ มาร์ ลโบโร" ที่อยูไกลออกไปประมาณ 40 กิโลเมตรเลยทีเดียว
  • 3. มีผสนนิษฐานถึงวัตถุประสงค์ในการสร้างสโตนเฮนจ์กนหลายประเด็น แต่ประเด็นที่ดู ู้ ั จะได้รับความเชื่อถือมากที่สุดคือ เป็ นสัญลักษณ์ถึงอวัยเพศหญิง เป็ นสถานที่สาหรับการทา พิธีกรรมทางศาสนาของชนกลุ่มที่นบถือลัทธิดรู อิต รองลงมาคือความเชื่อที่ระบุว่า เป็ นการ ั สร้างเพื่อหวังผลทางดาราศาสตร์ ใช้ในการสังเกตปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนท้องฟ้ า เช่น สุริยปราคา เป็ นต้น ุ สโตนเฮนจ์ได้ถูกจัดให้เป็ นเจ็ดสิ่ งมหัศจรรย์ของโลกในยุคกลางอีกด้วย สงสัยกันมาตั้งนานว่า บรรพบุรุษของคนบนดินแดนอังกฤษสร้างสโตนเฮนจ์ข้ ึนมาทาไม ในที่สุด ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเสี ยงและดนตรี จากมหาวิทยาลัยฮัดเดอร์ ฟิลด์คนพบว่า แท่งหิ นมหึ มา ้ ที่ต้งตระหง่านเป็ นวงกลมเหนือเนินดินสามารถสะท้อนเสี ยงได้อย่างวิเศษ ั อย่างที่หลายคนพอรู้มาบ้างแล้วว่า สโตนเฮนจ์เป็ นชุมนุมของผูศรัทธาทางศาสนาพิธีกรรมใน ้ สมัยก่อน เมื่อมาถึงแล้วก็ชกชวนกันร้องเพลงสวดสไตล์แซมบ้า และเจ้าแท่งหิ นขนาดใหญ่กลุ่ม ั นี้สามารถสะท้อนเสี ยงเพลงสวดได้ดีเสี ยด้วยซิ เหมาะที่จะนังล้อมวงฟังมนตราแพร่ พลังจิต ่ อันดับแรก รู เพิร์ต ทิล นักวิจยชาวอังกฤษและเพื่อนร่ วมทีมใช้คอมพิวเตอร์ จาลองคาดการณ์ ั รู ปแบบของเสียงสะท้อน ด้วยอยากรู้ว่าถ้าสโตนเฮนจ์ยงคงสมบูรณ์แบบเหมือน 5,000 ปี ที่แล้ว ั
  • 4. มันจะสะท้อนเสี ยงได้อย่างที่คิดหรื อเปล่า แต่หากจะทดลองกับสภาพของสโตนเฮนจ์ในปัจจุบน ั ซึ่ งพังลงมาบางส่วนอาจทาให้การทดลองคลาดเคลื่อนได้ สุดท้ายเลยชวนกันเดินทางไปเยือนสโตนเฮนจ์จาลองขนาดเท่าของจริ งที่เมย์ฮิลล์ กรุ งวอชิงตัน ซึ่ งจาลองไว้เป็ นอนุสรณ์สงคราม และปรับปรุ งให้หินทุกก้อนวางเรี ยงกันในสภาพสมบูรณ์ น่าจะช่วยให้ผลทดสอบด้านเสี ยงสมบูรณ์แบบกว่า ทีมวิจยใช้ซอฟต์แวร์ ที่ออกแบบมาเป็ นพิเศษเปรี ยบเทียบกับผลที่ได้จากการใช้คอมพิวเตอร์ ั จาลองแบบ และการทดสอบกับแบบจาลองสโตนเฮนจ์ จนได้เสี ยงตัวอย่างที่คาดว่าน่าจะ สะท้อนมาจากกลุ่มหิ น เสี ยงสะท้อนที่ได้เหมือนจะบอกเป็ นนัยว่า สถานที่แห่งนี้ตองมีดนตรี ้ บรรเลง นักวิจยคาดว่าดนตรี ที่เล่นกันบริ เวณสโตนเฮนจ์คงเป็ นเพลงที่มีจงหวะธรรมดาซ้ าๆ และ ั ั ่ ให้สะท้อนก้องอยูในบริ เวณนั้น "จังหวะที่เล่นน่าจะเป็ นจังหวะ 160 เคาะต่อนาที ค่อนข้างเร็ ว มันน่าสนใจที่พวกเขาใช้เพลง จังหวะเร็วเหมือนแซมบ้าสาหรับเพลงสวด ถือเป็ นจังหวะเร็ วที่สุดสาหรับดนตรี และยัง เป็ น จังหวะเร็วที่สุดของการเต้นของหัวใจ เหมือนกับคนที่ออกกาลังกายมาอย่างหนัก หรื อเต้นราส่าย สะบัดเต็มที่" ทิล กล่าว นักโบราณคดีทุ่มเถียงกันมานานแล้วว่า สโตนเฮนจ์ สถานที่ก่อนประวัติศาสตร์ ยคหิ นใหม่และ ุ ยุคทองแดง ถูกสร้างขึ้นเพื่อจุดมุ่งหมายใดกันแน่ สุดท้ายเหลือสองทฤษฎีหลักที่เข้าเค้ามากที่สุด ทฤษฎีแรกคือใช้เป็ นสถานที่รักษา อีกทฤษฎีเชื่อว่าเป็ นที่เผาศพ ทั้งสองทฤษฎีลวนเกี่ยวข้องกับ ้ พิธีกรรมทั้งสิ้ น และพิธีกรรมส่วนใหญ่มกมีดนตรี ประกอบเสมอ ั เสกวัตถุลอยตัวด้วยควอนตัมฟิ สิ กส์ ไม่ใช่มายากลของเดวิด คอปเปอร์ ฟิลด์ แต่นกวิทยาศาสตร์ สหรัฐพบวิธีบงคับวัตถุขนาดเล็กให้ ั ั "ลอยตัว" โดยอาศัยแรงมหัศจรรย์ของกลศาสตร์ ควอนตัม และอาจเป็ นกลวิธีนามาใช้สร้าง เครื่ องจักรกลระดับนาโน
  • 5. ทีมวิจยจากสถาบันสุขภาพแห่งชาติในสหรัฐ ศึกษาแรงที่กระทาในระดับโมเลกุล โดยนา ั โมเลกุลที่ออกแรงผลักกันมาประกอบกัน แรงผลักที่เกิดขึ้นทาให้วตถุลอยตัว และทาให้ชิ้นส่วน ั อุปกรณ์จิ๋วเคลื่อนไหวโดยปราศจากแรงเสี ยดสี อย่างสิ้ นเชิง เฟเดอริ โก คาปัสโซ นักฟิ สิ กส์ประยุกต์จากมหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด แมสซาชูเซตส์ ตีพิมพ์งานวิจย ั ลงวารสารเนเจอร์ ฉบับล่าสุด เชื่อว่า การค้นหาแรงรู ปแบบดังกล่าว เปิ ดทางให้การพัฒนา อุปกรณ์จิ๋วชนิดใหม่ แม้ว่าทีมวิจยยังไม่ได้ลงมือทดลองยกวัตถุลอยตัวให้เห็น อย่างน้อยตอนนี้พวกเขาก็ทราบวิธี ั ปฏิบติ และมันใจว่าสาเร็ จแน่นอน การค้นพบดังกล่าวได้ยื่นจดสิ ทธิบตรแล้ว ั ่ ั "หากลดแรงเสี ยดสีที่เกิดจากการเคลื่อนไหว และลดการสึ กหรอของชิ้นส่วนได้ มันจะเป็ น เทคนิคใหม่ซ่ ึ งว่ากันตามทฤษฎีแล้ว จะช่วยปรับปรุ งการทางานของเครื่ องจักรกลขนาดเล็กระดับ ไมครอน หรื อเล็กระดับโมเลกุลด้วยซ้ า" ดร.ฮวน อเล็กซานเดอร์ จากสถาบันสุขภาพเด็กและ มนุษย์ สังกัดสถาบันสุขภาพแห่งชาติ (เอ็นไอเอช) กล่าว เทคโนโลยีกลศาสตร์ นาโนถูกจับตามองว่า เป็ นเทคโนโลยีช่วยปรับปรุ งงานวิจยด้านการแพทย์ ั และสาขาอื่น การเปลี่ยนแปลงรู ปแบบของโมเลกุล และการนาโมเลกุลมาประกอบกันเป็ น พื้นฐานของการประดิษฐ์เครื่ องจักรกลจิ๋ว เพื่อใช้งานด้านการผ่าตัด การผลิตอาหารและเชื้อเพลิง ตลอดจนยังช่วยให้คอมพิวเตอร์ ทางานประมวลผลรวดเร็วขึ้น เบื้องหลังการค้นพบดังกล่าว เกี่ยวข้องกับความรู้ดาน "กลศาสตร์ ฟิสิ กส์" หรื อกฎเกณฑ์ที่ ้ ควบคุมพฤติกรรมของอนุภาคขนาดเล็กที่สุดของสสาร การค้นพบล่าสุดเป็ นงานวิจยต่อเนื่องจากสมัยที่คาปัสโซ เป็ นรองประธานการวิจยด้านฟิ สิ กส์ที่ ั ั เบลล์แล็บ หน่วยวิจยของบริ ษท ลูเซนท์ เทคโนโลยี ซึ่ งหลังจากควบรวมกิจการเปลี่ยนชื่อเป็ น ั ั อัลคาเทล-ลูเซนท์
  • 6. "มันเริ่ มจากที่ผมลองคิดดูว่า จะเอาแรงในทฤษฎีกลศาสตร์ ควอนตัมที่น่าทึ่ง มาใช้ประโยชน์ได้ อย่างไร" คาปัสโซ กล่าว ก่อนหน้านั้น เบลล์แล็บพยายามหาวิธีพฒนาอุปกรณ์ชนิดใหม่ที่เรี ยกว่า เครื่ องจักรจุล ั อิเล็กทรอนิกส์ หรื อปัจจุบนรู้จกกันในวงการว่า "เมมส์" (MEMS) เป็ นเทคโนโลยีที่ปรากฏอยูใน ั ั ่ เซ็นเซอร์ถุงลมนิรภัยของรถยนต์ เพื่อวัดระดับการลดความเร็ วที่ผิดปกติของรถ ซึ่ งอาจเกิดจาก การชน เมมส์ยงใช้ประโยชน์ดานอื่นอีกมากมาย เช่น เซ็นเซอร์ วดแรงดันโลหิ ตเส้นเลือดหัวใจ ั ้ ั เขารู้ดีว่า อุปกรณ์ในอนาคตจะมีขนาดเล็กลงเรื่ อยๆ จนอาจตกอยูในสภาพที่เรี ยกว่า "แรงคาสซิ ่ เมียร์ " เป็ นแรงดึงดูดที่เกิดขึ้นเมื่อพื้นผิวโลหะขนาดเล็กสัมผัสกันใกล้ชิดมาก จนทาให้ช้ินส่วน เคลื่อนไหวขยับไม่ได้ ต่อมา ทีมนักวิทยาศาสตร์ ชาวรัสเซี ยพบว่า แรงดึงดูดที่เกิดขึ้นอาจพลิก กลับให้เป็ นแรงผลักได้ หากนาสสารบางอย่างมาผสมเข้ากัน ในการทดลอง คาปัสโซและทีมงาน จุ่มลูกโลหะชุบทองลงในของเหลวชนิดหนึ่ง และวัดแรง ้ กระทาที่เกิดขึ้นขณะที่ลกโลหะเริ่ มดูดกับแผ่นโลหะที่เตรี ยมไว้ แต่เมื่อวางกับแผ่นซิ ลิกากลับ ู ผลักออก ซึ่ งเขามีแผนทดลองทาให้ลูกโลหะลอยตัวไว้แล้ว
  • 7. เอกสารอ้ างอิง ดนุพล เดชาบดิน "สโตนเฮจน์ 29 กรกฎาคม 2550 < http://www.ilovetogo.com/Article/54/79/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B 9%88%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A 3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94- %E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AE%E0 %B8%99%E0%B8%88%E0%B9%8C-(-Stonehenge-) > 14 กันยายน 2554.