SlideShare a Scribd company logo
1 of 154
Download to read offline
12
รายงานประจำ�ปี 2557
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
2
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
สารบัญ
• 	 สารจากประธานกรรมการ			 3
• 	 ผลงานที่ภาคภูมิใจปี 2558			 4
• 	 รางวัลด้านความยั่งยืนปี 2558			 5
• 	 ข้อมูลองค์กร					 6
• 	 วิสัยทัศน์เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน		 8
• 	 พันธกิจต่อผู้มีส่วนได้เสียขององค์กรปี 2559	 9	
	
SUSTAINABLE POLICY
IN PROCESS
OUT PROCESS
AS PROCESS
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
และสังคมในกระบวนการ
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
และสังคมนอกกระบวนการ
ความยั่งยืนระดับนโยบาย
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
และสังคมอิงกระบวนการ
10
33
110
116
12
13
14
16
20
24
26
28
32
34
50
58
64
76
96
111
114
117
126
134
140
144
148
• 	 หลักธรรมาภิบาล
•	 การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น
•	 การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน		
•	 LPN กับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน
•	 10 ห่วงโซ่คุณค่า LPN
•	 ตารางประเด็นสำ�คัญด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน
•	 แนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมกับ
	 กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
•	 เป้าหมายเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
•	 กลยุทธ์เพื่อความยั่งยืน
• 	 การดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญกับ
	 การบริหารจัดการและทุนมนุษย์
•	 การออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้
	 ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
•	 การกำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโต
	 ขององค์กรให้เหมาะสม
•	 การตลาดที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง
•	 การบริหารจัดการผลกระทบที่มีผลต่อ
	 สิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการก่อสร้าง
•	 การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิต
	 ของผู้อยู่อาศัยในโครงการหลังส่งมอบ
•	 กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของบริษัท
•	 กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของชมรม
	 ลุมพินีอาสา
•	 สถาบันแอล.พี.เอ็น.
•	 กิจการเพื่อสังคม : SOCIAL ENTERPRISE
•	 นวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน
•	 ข้อมูลพนักงาน	
•	 การจัดทำ�รายงาน
•	 GRI INDEX
3
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
(อมรศักดิ์ นพรัมภา)
ประธานกรรมการบริษัท
สารจากประธานกรรมการ (G4-1)
นับตั้งแต่บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ได้เริ่มดำ�เนินธุรกิจพัฒนา
อสังหาริมทรัพย์เมื่อปีพ.ศ. 2532 บริษัทให้ความสำ�คัญต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม และได้นำ�
หลักแห่งการสร้างสมดุลของการดำ�เนินงานหรือ Balanced Scorecard มาเป็นหัวใจของการ
ดำ�เนินงาน ซึ่งแนวคิดดังกล่าวได้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จนมาเป็นแนวทางของความยั่งยืน
ตามหลักการ Triple Bottom Line ในปัจจุบัน ด้วยการคำ�นึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนิน
ธุรกิจ ทั้งมิติทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม สู่กลยุทธ์เพื่อความยั่งยืน 6 GREEN LPN
ซึ่งบริษัทเชื่อมั่นว่าจะสร้างการเติบโตให้กับองค์กร ควบคู่ไปกับการแสดงความรับผิดชอบต่อ
ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ดังนั้น แม้ในปี 2558 ที่ภาวะธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของประเทศอยู่
ในช่วงชะลอตัว อันเนื่องมาจากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจทั้งมหภาคและจุลภาค บริษัทยังคง
สามารถผลักดันให้ผลการดำ�เนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ ด้วยความร่วมมือร่วมใจ
จากผู้บริหาร พนักงาน และปิยมิตรที่แข็งแกร่งของบริษัท
ตลอด 26 ปีของการดำ�เนินงาน บริษัทในฐานะผู้นำ�ด้านการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยในกลุ่ม
เป้าหมายระดับกลางถึงกลาง-ล่างภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี” ตระหนักดีว่า โครงการพัฒนา
อสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม แผนการ
ดำ�เนินธุรกิจของบริษัทจึงได้กำ�หนดแนวทางในการดำ�เนินงานที่ครอบคลุมและเพิ่มความเข้มข้น
ในทุกกระบวนการดำ�เนินงาน โดยรวมถึงการบริหารจัดการภายในองค์กรและทุนมนุษย์อีกด้วย
จากความมุ่งมั่นดังกล่าว ส่งผลให้บริษัทได้รับ 5 รางวัลด้านความยั่งยืน ได้แก่
รางวัล ESG 100 Certificate (Environment, Social and Governance) จากสถาบัน
ไทยพัฒน์ ในฐานะที่เป็น 1 ใน 100 บริษัทจดทะเบียนที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนิน
ธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
รางวัลการลงทุนในกิจการเพื่อสังคม (SET Social Enterprise Investment Awards)
จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
รางวัลด้านบริษัทจดทะเบียนที่ลงทุนได้อย่างยั่งยืน(ThailandSustainabilityInvestment:
THSI) จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
รางวัล5 ตราสัญลักษณ์ด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (กลต.) และสมาคมส่งเสริมสถาบัน
กรรมการบริษัทไทย (IOD)
รางวัล Recognition จากการประกาศรางวัลรายงานความยั่งยืนประจำ�ปี 2558
(Sustainability Report Award 2015)
•
•
•
•
•
นอกจากนั้น จากการที่บริษัทได้ประกาศเจตนารมณ์เข้าเป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย
ในการต่อต้านทุจริต ในปีนี้ บริษัทได้กำ�หนดนโยบายประเมินความเสี่ยงจากการทุจริตคอรัปชั่น
การสื่อสารและฝึกอบรม การดำ�เนินงานตามนโยบาย และการทบทวนความเหมาะสม โดยตั้ง
เป้าหมายไว้ที่การยื่นขอการรับรอง (ระดับ 4 : Certified) เพื่อให้ความเชื่อมั่นอย่างเป็นอิสระ
จากหน่วยงานภายนอก
ทั้งหมดนี้ ถือเป็นความภาคภูมิใจของผู้บริหารและพนักงานทั้งองค์กร รวมทั้งยังเป็นคำ�มั่น
สัญญาของบริษัทที่จะดำ�เนินกิจการบนความรอบคอบ โปร่งใส เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล
บริษัทจึงใคร่ขอขอบคุณผู้บริหาร พนักงาน ปิยมิตร และผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่มีส่วนร่วม
ในการสร้างคุณค่า ความร่วมมือร่วมใจจากท่านจะเป็นพลังขับเคลื่อนที่ยิ่งใหญ่ที่จะช่วย
รักษาไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมที่ดีและสังคมคุณภาพ นำ�มาซึ่งการเติบโตให้กับบริษัทและผู้มีส่วน
ได้เสียทุกกลุ่มตลอดไป
4
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
สูตรความยั่งยืน 3-6-8-10
ไดแก 3P, 6 GREEN LPN,
8 กลุมผูมีสวนไดเสีย
และ 10 กระบวนการ เพ�่อเปน
แนวทางในการดำเนินธุรกิจของ
ทุกสวนงาน
ลงทุนใน “กองทุนสุนทาน”
รวมกับสถาบันไทยพัฒน และ 5 บจ.
เพ�่อนำดอกผลจากการลงทุนไปสนับสนุนกิจการเพ�่อสังคม
(Social Enterprise)
5 รางวัล
ดานความยั่งยืน
3P 6G 8S 10P
อบรม
หลักสูตร CMTC
เพ�่อสรางผูจัดการชุมชน
รวมทั้งสิ�น 229คน
สรางงานแก
สตร�ดอยโอกาส
รวมทั้งสิ�น
สรางโอกาสใน
การมีบานหลังแรก
ผานโครงการบานสานฝน
สะสมทั้งสิ�น
จำนวน
ชุมชนตนแบบ
สะสมทั้งสิ�น
(28 นิติบุคคลอาคารชุด)
ดูแลบร�หารชุมชน
จำนวน 116 ชุมชน
106,400 ครอบครัว
กวา 187,200 คน
รวมพ�้นที่ที่ดูแล
5,925,000 ตร.ม.
NPS ป 58
= 44% ความผูกพัน
ตอองคกร
ของพนักงานเฉลี่ย
= 64%
จำนวนโครงการ
ออกแบบภายใตมาตรฐาน
Signature Green
Project = 2
รายไดรวม
16,673.64
ลานบาท
กำไรสุทธิ
2,413.40
ลานบาท
เติบโต
29%
ปนผล
ใหแกผูถือหุน
0.90*
สตางค
* รออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนประจำป 2559
สงมอบ
โครงการ
ทั้งสิ�น 7โครงการ
เปดขาย
โครงการ
ทั้งสิ�น 4โครงการ
เช�งคุณคา
เช�งเง�นตรา
419ครอบครัว
1,200ครอบครัว
27ชุมชน
ผลงานที่ภาคภูมิใจปี 2558 (G4-1)
5
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
รางวัลด้านความยั่งยืนปี 2558 (G4-1)
บริษัทได้รับการจัดอันดับให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลกิจการในระดับดีเลิศ (ระดับ 5
ตราสัญลักษณ์) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
บริษัทได้รับรางวัล “บริษัทจดทะเบียนด้านการสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมยอดเยี่ยม (SET
Social EnterpriseInvestment Awards)” จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทเป็น 1 ใน 51 บริษัทจดทะเบียนที่มีรายชื่อหุ้นยั่งยืน(ThailandSustainabilityInvestment
:THSI)จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทได้รับรางวัลด้านองค์กรแห่งความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
(ESG 100) จากสถาบันไทยพัฒน์
บริษัทได้รับรางวัล Recognition จากการประกาศรางวัลรายงานความยั่งยืนประจำ�ปี
2558 (Sustainability Report Awards 2015) จากสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
6
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
ข้อมูลองค์กร (G4-3, 5, 6)
บริษัทในเครือ (G4-17)
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
ประเภทอาคารชุดพักอาศัยในประเทศไทย
สำ�นักงานใหญ่
ที่ตั้ง 1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์
ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120
วันที่จดทะเบียน : วันที่ 21 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2532
ทุนจดทะเบียน : 1,475,698,768 บาท
บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด
ให้บริการบริหารจัดการชุมชนแบบครบวงจร
บริษัท พรสันติ จำ�กัด
พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในรูปแบบอื่นๆ
นอกเหนือจากอาคารชุดพักอาศัย
บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด
ให้บริการบริหารงานก่อสร้างโครงสร้าง
บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด
ให้บริการงานบริการด้านต่างๆ ในชุมชน
7
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
	 วิถีแอล.พี.เอ็น. ประกอบด้วยคุณค่า 2 เสาหลัก คือ
“การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง” และ “การยอมรับนับถือผู้มีส่วนได้เสีย”
โดยมีองค์ประกอบค่านิยม 7 ประการ คือ “CLASSIC” ซึ่งเป็น
แนวทางบูรณาการในการดำ�เนินธุรกิจที่ทุกองคาพยพของบริษัท
ยึดถือและนำ�ไปปฏิบัติ ซึ่งพัฒนาไปเป็นค่านิยมองค์กร(Corporate
Values) และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เกิดเป็นวิถีแอล.พี.เอ็น. (LPN
Way) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การดำ�เนินงานในทุกภาคส่วนบรรลุ
เป้าหมาย ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ และขับเคลื่อนองค์กรไปสู่
“การพัฒนาและเติบโตอย่างยั่งยืน”
COST WITH QUALITY
บริหารต้นทุนพร้อมคุณภาพ
LATERAL THINKING
คิดนอกกรอบ
SERVICE MINDED
ใจบริการ
ALLIANCE
ปิยมิตร
INTEGRITY
จริยธรรม
SPEED WITH QUALITY
รวดเร็ว
COLLABORATION
ความร่วมมือร่วมใจ
CONTINUOUS
DEVELOPMENT
การพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง
CLASSIC
(Core Competency)
สมรรถนะหลักองค์กร
CORPORATE
VALUES
ค่านิยมองค์กร
LPN WAY
วิถีแอล.พี.เอ็น.
RESPECT FOR
STAKEHOLDERS
การยอมรับนับถือ
ผู้มีส่วนได้เสีย
LPN WAY : วิถีองค์กรขับเคลื่อนสู่ความยั่งยืน (G4-56)
8
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
วิสัยทัศน์ในช่วงที่ผ่านมาของบริษัท
บริษัทได้กำ�หนดวิสัยทัศน์เพื่อเป็นแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัททุกรอบ3 ปี เพื่อนำ�ไปสู่เป้าหมายการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยคำ�นึงถึง
ความสมดุลของผลตอบแทนทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อีกทั้งยังคำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมด้วย
การดำ�เนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล รวมถึงการกำ�หนดพันธกิจในแต่ละปี เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง และขับเคลื่อน
ด้วยวิถีแอล.พี.เอ็น. (LPN Way) ที่หล่อหลอมมาจากประสบการณ์ในการดำ�เนินธุรกิจ ดังนี้
วิสัยทัศน์เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
ผู้นำ�ด้านการพัฒนาอาคารชุด
พักอาศัย สำ�หรับกลุ่มเป้าหมาย
ระดับกลางถึงกลาง-ล่าง
มุ่งมั่นดำ�เนินการในการรักษา
ภาวะผู้นำ� ด้านการพัฒนาอาคาร
ชุดพักอาศัย ด้วยการสร้างสรรค์
คุณค่าแบบบูรณาการเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิตที่เหมาะสมและพึง
พอใจของผู้อยู่อาศัยในชุมชน
โดยที่ยังคงไว้ซึ่งผลตอบแทน
ต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย
อย่างยั่งยืน ภายใต้หลักการ
ธรรมาภิบาล
เป็นผู้นำ�ในการพัฒนาที่พักอาศัย
ในเมืองด้วยการสร้างสรรค์และ
ส่งมอบคุณค่าแบบบูรณาการแก่
ผู้มีส่วนได้เสียในการดำ�เนิน
งาน เพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนาและ
การเติบโตอย่างยั่งยืน
ดำ�รงไว้ซึ่งความเป็นผู้นำ�ตลาด
และเพิ่มพูนประสิทธิภาพด้วย
การพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย
แบบบูรณาการเพื่อการสร้างสรรค์
ชุมชนคุณภาพ
ปี 2545 - 2547 ปี 2551 - 2553 ปี 2554 - 2556ปี 2548 - 2550
วิสัยทัศน์ปี 2557 - 2559
ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย
องค์กรคุณค่า
คงไว้ซึ่งสถานะผู้นำ�ในการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยในกลุ่มเป้าหมายระดับกลางถึงกลาง-ล่าง
ภายใต้แนวทาง “ชุมชนน่าอยู่” ด้วยการดำ�เนินการตามวิถี “องค์กรคุณค่า”
เพื่อการพัฒนาและเติบโตอย่างยั่งยืน
ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย คือ ชุมชนลุมพินีที่ผู้อยู่อาศัยทุกวัยอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
โดยมีองค์ประกอบที่เหมาะสมมีคุณภาพชีวิตสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ดี
รวมทั้งจิตสำ�นึกของการอยู่ร่วมกันดูแลห่วงใยและแบ่งปัน
องค์กรที่ได้มีการพัฒนาคุณค่าแบบบูรณาการ ในการดำ�เนินงานทุกภาคส่วน
เพื่อส่งมอบให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมและสังคม
9
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
พันธกิจต่อผู้มีส่วนได้เสียขององค์กรปี 2559 (G4-24)
ผู้ถือหุ้น
สร้างการเติบโตอย่างเหมาะสม
เพื่อผลตอบแทนอย่างยั่งยืน
ภายใต้การบริหารความเสี่ยง
และหลักการธรรมาภิบาล
ปิยมิตรทางธุรกิจ
สร้างความเป็นหนึ่งเดียว
ภายใต้วัฒนธรรมห่วงใยและแบ่งปัน
และเติบโตร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
ในผลตอบแทนที่เหมาะสม
แรงงานก่อสร้าง
ร่วมดูแลคุณภาพชีวิต
ความปลอดภัย และชีวอนามัย
ผ่านการสนับสนุนการดำ�เนินงาน
ของปิยมิตรและการจัดกิจกรรม
บ้านข้างเคียง
รับผิดชอบ เยียวยา และดูแล
ผลกระทบจากการดำ�เนินงาน
รวมทั้งสร้างการมีส่วนร่วม
และสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน
พนักงาน
เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความรู้ ความสามารถ คุณธรรม
และความสัมพันธ์ เพื่อความสุข ความผูกพัน ความก้าวหน้ามั่นคง
ผ่านวิถีแอล.พี.เอ็น. และสถาบันแอล.พี.เอ็น. ภายใต้วัฒนธรรมห่วงใย
และแบ่งปันของ “องค์กรแห่งคุณค่า”
สิ่งแวดล้อมและสังคม
ส่งเสริมและมีส่วนร่วมในจิตสำ�นึก
รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
ทั้งภายในกระบวนการ
นอกกระบวนการ และอิงกระบวนการ
เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ลูกค้า
สร้างโอกาสในการมีบ้านหลังแรก
ในราคาที่สามารถเป็นเจ้าของได้
และส่งมอบคุณค่าผลิตภัณฑ์และ
คุณค่าบริการ รวมทั้งบริหาร
ประสบการณ์ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่น
ในแบรนด์ “ลุมพินี”
ผู้อยู่อาศัย
สร้างสรรค์และส่งมอบ
“ชุมชนน่าอยู่” ที่จะนำ�ไปสู่
ความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัย
ของคนทุกวัย
10
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
ความยั่งยืน
ระดับนโยบาย
SUSTAINABLE POLICY
1
P.16
P.20
P.24
P.26
P.28
LPN กับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน
10 ห่วงโซ่คุณค่า LPN
ตารางประเด็นสำ�คัญด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน
แนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
เป้าหมายเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
11
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
หลักคิดในด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ถูกรวบรวมและกลั่นกรองเป็นองค์ความรู้ภายในองค์กร รวมทั้งเป็นแนวทางที่ทุกภาคส่วนปฏิบัติ
อย่างต่อเนื่อง ซึ่งแนวคิดต่างๆ เหล่านี้จะเป็นพื้นฐานที่สำ�คัญและมั่นคง เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนองค์กรในการกำ�หนดกลยุทธ์องค์กรและ
กลยุทธ์ปฏิบัติการ
พื้นฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืนบนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง บริษัทดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบและเป็นธรรม โดยการสร้างสมดุลระหว่างผลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนได้เสียที่
เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้ความสำ�คัญกับกระบวนการดำ�เนินงานภายใน เพื่อให้องค์กรมีความแข็งแกร่ง ควบคู่ไปกับการพัฒนาบุคลากร ภายหลัง
จากการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจปี2540 บริษัทมุ่งเน้นการพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กรและสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ทั้งยังรักษา
การเติบโตให้เป็นไปอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ยังได้นำ�เอาหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาปรับใช้เป็น
แนวทางการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท
3 ห่วง ได้แก่
2 เงื่อนไข ได้แก่
อัตราการเติบโตที่เหมาะสม โดยมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากร
ภายใน (In-house)
ผลกำ�ไรที่พอประมาณ ไม่เอารัดเอาเปรียบ และไม่เบียดเบียน
ลูกค้าและสังคม
คำ�นึงถึงผลกระทบจากกระบวนการดำ�เนินธุรกิจทุกมิติ
กำ�หนดให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และแบ่งปันองค์ความรู้ โดยมี
สถาบันแอล.พี.เอ็น. เป็นแกนกลางในการขับเคลื่อน
กำ�หนดให้ “คุณธรรม” เป็นหนึ่งในค่านิยมองค์กร(CorporateValue)
เพื่อนำ�ไปสู่การเป็นบรรษัทภิบาล
พัฒนาที่พักอาศัยสำ�หรับกลุ่มเป้าหมายรายได้ระดับกลางถึง
กลาง-ล่าง
คำ�นึงถึงคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยด้วยแนวคิด “ชุมชนน่าอยู่”
สร้างความสมดุลของผลตอบแทนของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากร
กำ�หนดกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับทุกสภาวะของธุรกิจ
ให้ความสำ�คัญกับการบริหารความเสี่ยง
1. ความพอประมาณ
2. ความมีเหตุผล
3. การสร้างภูมิคุ้มกัน
มีเหตุผล
2
ความยั่งยืนระดับนโยบาย
สร้าง
ภูมิคุ้มกัน
3พอประมาณ
1
นโยบายองค์กร ระดับกลยุทธ์ ระดับปฏิบัติการ
ความรู้
คุณธรรม
1. ความรู้ 2. คุณธรรม
12
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
หลักธรรมาภิบาล (G4-56)
หลักธรรมาภิบาล คือ หลักการปกครอง การบริหารจัดการ ควบคุมดูแลกิจการต่างๆ ด้วยความรับผิดชอบ ให้เป็นไปตามครรลองธรรม
ซึ่งธรรมที่ใช้ในการบริหารงานนี้ มีความหมายรวมถึง ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้องชอบธรรมที่พึงประพฤติปฏิบัติ
เช่น ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์กรภายนอก เป็นต้น โดยหลักธรรมาภิบาล เป็นหลักการที่นำ�มาใช้
บริหารงานในปัจจุบันอย่างแพร่หลาย เพื่อสร้างและส่งเสริมองค์กรให้มีศักยภาพและประสิทธิภาพ นอกจากนั้น ยังสร้างศรัทธาและเชื่อมั่นใน
องค์กรนั้นๆ อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ปรัชญา 20 Miles March
การบริหารความเสี่ยง (G4-2)
การก้าวเดินอย่างต่อเนื่อง คือ หนึ่งในวิถีปฏิบัติของบริษัท ที่จะไม่หยุดที่จะก้าวไปข้างหน้า
โดยรักษาระยะ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน ไม่ว่าช่วงเวลานั้นจะมีอุปสรรคหรือเป็น
ช่วงเวลาแห่งโอกาส ดั่งหลักปรัชญา 20 Miles March ที่เน้นการก้าวเดินอย่างต่อเนื่อง
โดยบริษัทได้นำ�หลักการดังกล่าวมากำ�หนดเป้าหมายการเติบโตและการพัฒนาอย่าง
ชัดเจนในทุกหน่วยงานและในทุกกระบวนการของการทำ�งาน เพื่อให้สามารถวัดผลได้
และปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง
การบริหารจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ควบคุมได้ในทุกมิติ และคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย
ที่มีความสำ�คัญต่อการเติบโตของธุรกิจทุกภาคส่วน เพื่อประโยชน์ในระยะยาวทั้งใน
ปัจจุบันและอนาคต กำ�หนดกรอบของการตอบแทนตามสถานการณ์ของการแข่งขันและ
ผลประกอบการ และลดความเสี่ยงด้วยการสำ�รองเงินทุนเพื่อรักษาสภาพคล่องของบริษัท
โดยทั้งหมดของการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทนั้น จะมีพื้นฐานของความพอเพียง ความสมดุล และการบริหารความเสี่ยง เน้นการพัฒนา
องค์ความรู้ เพิ่มประสิทธิภาพการดำ�เนินงานและความสามารถของบุคลากรภายในองค์กร และสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกับปิยมิตรอย่างที่
ได้ทำ�มาอย่างต่อเนื่องตลอดการดำ�เนินงานของบริษัท
13
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น (G4-SO4)
ในฐานะผู้พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐหลายส่วนงาน บริษัทมี
นโยบายในการต่อต้านการคอรัปชั่นโดยกำ�หนดให้การดำ�เนินงานทุกกระบวนการอยู่
ในขอบเขตของกฎหมายอย่างเคร่งครัด และได้บรรจุเรื่องความเสี่ยงต่อระบบราชการ
(Compliance Risk) เข้าเป็นส่วนหนึ่งของแผนธุรกิจ และมีการติดตามธุรกรรมกับทาง
ราชการอย่างสมํ่าเสมอ นอกจากนั้น ยังได้กำ�หนดให้บุคลากรทุกคนปฏิบัติตามกฎหมาย
จรรณยาบรรณของบริษัท (Code of Conduct) และนโยบายต่อต้านคอรัปชั่น อย่าง
เคร่งครัด เพื่อสร้างความรับผิดชอบและคุณธรรม รวมทั้งกำ�หนดให้คุณธรรม (Integrity)
เป็นค่านิยมหลักของบุคลากรอีกด้วย โดยบุคลากรทุกคนต้องได้รับทราบแนวทางปฏิบัติ
ด้านการต่อต้านการคอรัปชั่นและการอบรมเรื่องค่านิยมองค์กรดังกล่าว
แนวทางในการติดตามและประเมินผลการปฎิบัติ
ตามนโยบายการต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น
การประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริต
บริษัทมีวิธีการเพื่อให้พนักงานในองค์กรร่วมกันปฎิบัติตามนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น โดยใช้วิธีการหลายช่องทางด้วยกัน เช่น
การอบรมให้ความรู้แก่พนักงานทุกระดับและบรรจุเป็นหลักสูตรของการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ โดยทุกครั้งจะต้องมีการทดสอบความรู้
จริงหลังจากการอบรม นอกจากนั้น บริษัทได้มีการประเมินผลการดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้อง ประเมินความเสี่ยงด้านการคอรัปชั่น และทบทวน
มาตรการต่อต้านการคอรัปชั่นอย่างสม่ำ�เสมอ โดยมีการสื่อสารไปยังผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันเหตุการณ์ทุจริต
ที่อาจเกิดขึ้นภายในองค์กร ทั้งนี้ นโยบายต่อต้านคอรัปชั่นกำ�หนดให้พนักงานทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบเพื่อให้กระบวนการดำ�เนินงานเป็น
ไปตามมาตรการต่อต้านการคอรัปชั่น และได้พัฒนาเครื่องมือช่วยลดโอกาสในการเกิดคอรัปชั่น ผ่านการประกาศโดยเปิดเผยให้ทุกคนใน
องค์กรได้รับรู้ และการจัดช่องทางในการร้องเรียนเมื่อพบเห็นการกระทำ�ทุจริต หรือการกระทำ�ผิดต่อระเบียบข้อบังคับ
บริษัทกำ�หนดให้มีการประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริตของทุกฝ่าย โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1.
2.
3.
การประเมินความเสี่ยงและการรายงานผล : โดยการกำ�หนดให้ทุกฝ่ายในองค์กรร่วมกันประเมินความเสี่ยงในฝ่ายของตนเอง ไตรมาส
ละ 1 ครั้ง หลังจากนั้นให้รวบรวมและนำ�เสนอความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อพิจารณา
การจัดการความเสี่ยง : คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะร่วมกันประเมิน วิเคราะห์ และจัดลำ�ดับความรุนแรงของความเสี่ยง เพื่อกำ�หนด
แนวทางและกลยุทธ์ในการจัดการความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาและให้
ความเห็นชอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
การสื่อสาร : จัดให้มีการสื่อสารเรื่องการจัดการความเสี่ยง เพื่อให้ทุกฝ่ายได้รับทราบและปฎิบัติในทุกกรณี
14
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
จากการที่บริษัทได้เผชิญวิกฤติทางเศรษฐกิจในปี 2540 และสามารถผ่านพ้นสถานการณ์มาได้นั้น นอกจากจะสร้างตัวตนและค่านิยมของ
องค์กรที่ได้จากประสบการณ์ในช่วงดังกล่าว ยังนับเป็นจุดเริ่มต้นของการดำ�เนินงานด้วยการให้ความสำ�คัญกับการเติบโตอย่างยั่งยืนควบคู่
ไปกับการบริหารความเสี่ยง ซึ่งเป็นหัวใจสำ�คัญที่ทุกภาคส่วนต่างยึดถือและนำ�มาปฏิบัติ รวมทั้งได้สร้างความแข็งแกร่งให้แก่ห่วงโซ่อุปทาน
ของบริษัท ความร่วมมือร่วมใจในยามที่ประสบปัญหา ได้พัฒนาความสัมพันธ์จาก “คู่ค้า” สู่การเป็น “พันธมิตร” ที่พร้อมที่จะดูแลเกื้อกูลกัน
ความเชื่อมั่นและไว้เนื้อเชื่อใจ ส่งเสริมให้เกิดความผูกพัน และได้พัฒนามาเป็น “ปิยมิตร” โดยกำ�หนดหลักการในการพัฒนาและเติบโตร่วม
กัน จนมาเป็น “LPN Team” ในปัจจุบัน จากความสัมพันธ์ที่มีมากว่า 20 ปี ทำ�ให้การทำ�งานร่วมกันระหว่างบริษัทและ “LPN Team” นั้น
เสมือนหนึ่งเป็นทีมงานเดียวกัน
การทำ�งานที่เปรียบเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของกันและกันนี้เอง ทำ�ให้ทุกกระบวนการทำ�งานตลอดแนวห่วงโซ่อุปทานของบริษัท เกิดความ
ร่วมมือร่วมใจระหว่างกัน เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายสูงสุดในการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานขององค์กร ซึ่งก็คือการพัฒนา รับผิดชอบและเติบโต
ไปด้วยกัน
นอกจากนี้ ตลอดระยะเวลาการดำ�เนินงาน จะมีการสื่อสารและรายงานข้อมูลผ่านช่องทางการสื่อสารแบบสองทาง(Two-WayCommunication)
ระหว่างบุคลากรของบริษัทและบุคลากรของ LPN Team ผ่านช่องทาง Whatsapp อย่างสม่ำ�เสมอ ส่งผลให้ทุกหน่วยงานหรือทุกองค์กรที่มี
ส่วนร่วมสามารถแสดงความเห็นร่วมกันและเกิดการเรียนรู้ ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทำ�งาน
กระบวนการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานของบริษัท มีดังนี้
กำ�หนดเป้าหมายในการทำ�งานร่วมกันในแต่ละปี โดยภายหลัง
จากที่มีการทำ�แผนธุรกิจของบริษัท จะมีการประชุมร่วมกับ
ผู้บริหารระดับสูงของLPNTeam กว่า30 บริษัท เพื่อรับทราบ
และวางแผนการทำ�งานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุตามความคาดหวัง
ของการดำ�เนินงานในปีนั้นๆ
ระบุและพิจารณาผลกระทบที่อาจเกิดจากการทำ�งานร่วมกัน
เพื่อวางแผนป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
สร้างการมีส่วนร่วมของแต่ละองค์กรในการพัฒนาโครงการนั้นๆ
ปฏิบัติตามแผนงานที่กำ�หนดไว้
จัดให้มีการประชุมรายเดือน เพื่อติดตามงาน ประเมินผลและ
วิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน เพื่อปรับปรุงการดำ�เนินงาน หรือปรับ
แผนการดำ�เนินงานตามความเหมาะสมและสถานการณ์ต่างๆ
ที่อาจเปลี่ยนแปลงไป อันจะนำ�ไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการ
ทำ�งานตลอดห่วงโซ่อุปทาน
1.
2.
3.
4
5.
ASSESS
ENGA
GE
IMP
LEMENT
MEASURE
COMMIT
COMMUNICATE
C
OMMUNICATE
15
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
การแบ่งปันและถ่ายทอดองค์ความรู้ทั้งในด้านการทำ�งานและการ
บริหารจัดการองค์กร ถือเป็นอีกหนึ่งแผนงานของบริษัทที่จะช่วย
ให้เกิดการเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืนกับ LPN Team จึงเป็น
ที่มาของการจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้แก่บุคลากรของ
LPN Team ผ่านการจัดอบรม สัมมนา และดูงาน โดยสถาบัน
แอล.พี.เอ็น. และวิทยากรภายในของบริษัท รวมทั้งได้สนับสนุนให้
LPNTeam คิดค้นนวัตกรรมที่จะช่วยปรับปรุงการดำ�เนินงาน ตาม
กลยุทธ์Q-C-S-E-S+P ซึ่งได้จัดประกวดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 5
โดยในปี 2558 นี้ มีการส่งนวัตกรรมในการก่อสร้างเข้าประกวด
ทั้งสิ้น 11 นวัตกรรม
การกำ�หนดเป้าหมายการเติบโตยังคงต้องพิจารณาความเสี่ยงและ
ความเป็นไปได้ร่วมกับ LPN Team เนื่องจากบางบริษัทอาจจะยัง
มีศักยภาพไม่เพียงพอที่จะดำ�เนินงานได้ตามเป้าหมายที่บริษัท
กำ�หนด อีกทั้งการมีห่วงโซ่อุปทานที่สมบูรณ์แบบ ทำ�ให้ต้องมีการ
ชี้แจงและสื่อสารกันตลอด ทั้งระหว่างบริษัทและ LPN Team และ
ระหว่าง LPN Team ด้วยกันเอง เพื่อให้มีทิศทางและแนวทาง
เดียวกัน นอกจากนั้น จากการที่ปัจจุบันสังคมมีความตื่นตัวต่อ
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ทำ�ให้บริษัทอาจเสื่อมเสียชื่อเสียงจาก
การดำ�เนินงานของ LPN Team ในฐานะผู้ว่าจ้าง บริษัทจึงได้
ถ่ายทอดแนวคิดและแนวทางการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบ
ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อสร้างจิตสำ�นึกและการมีส่วนร่วม
จาก LPN Team รวมทั้งได้ร่วมกันกำ�หนดมาตรฐานการดำ�เนินงาน
ทั้งในด้านการออกแบบและการบริหารโครงการ และมีหน่วยงาน
คอยตรวจสอบ ดูแลและปรับปรุงการทำ�งานอย่างใกล้ชิด
การพัฒนาและฝึกอบรม LPN Team ความเสี่ยงด้านห่วงโซ่อุปทาน
(G4-EN33)
LPN ได้จัดประกวด
นวัตกรรมที่ช่วยปรับปรุง
การดำ�เนินงาน ร่วมกับ
LPN Team ตามกลยุทธ์
Q-C-S-E-S+P
16
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
PROFIT
ECONOMY
PEOPLE
SOCIETY
PLANET
ENVIRONMENT
STAFF LABORS
NEIGHBORS
CUSTOMERS SHAREHOLDERS
ENVIRONMENTRESIDENTS
FINANCIAL MANAGEMENTMARKETING MANAGEMENT
DESIGN CONCEPT
บร�หารชุมชน
COMMUNITY MANAGEMENT
ENTERPRISE CONSTRUCTION PROCESS
TRIPLE
BOTTOM
LINE
8 STAKEHOLDERS
6 GREEN LPN
3P
6G
8S
SUPPLY
CHAIN
LPN กับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน
SUSTAINABLE
DEVELOPMENT
17
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทนําหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Triple Bottom Line) ที่ให้ความสําคัญกับ 3 องค์ประกอบสุดท้าย ด้านเศรษฐกิจ สังคมและ
สิ่งแวดล้อม เป็นแนวทางในการกําหนดเป้าหมายการดําเนินงาน ภายใต้กลยุทธ์ 6 GREEN LPN ที่รับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้น
กับผู้มีส่วนได้เสียทั้ง 8 กลุ่ม ใน 10 กระบวนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อรักษาสมดุลและสร้างการเติบโตที่มั่นคง โดยกําหนดเป้าหมาย
สุดท้ายของการดําเนินธุรกิจทั้ง 3 องค์ประกอบ ดังนี้
TRIPLE
BOTTOM
LINE
ECONOMY
PROFIT
เป้าหมายในเชิงเศรษฐกิจที่สำ�คัญของ
บริษัทคือการสร้างสมดุลของผลตอบแทน
หรือกำ�ไรในการดำ�เนินงานที่พอประมาณ
และต่อเนื่อง บนพื้นฐานของการกำ�กับ
ดูแลกิจการที่ดี มีความรับผิดชอบในการ
ประกอบกิจการด้วยความโปร่งใสและเปิดเผย
บริหารความเสี่ยงในระดับที่เหมาะสม รวมถึง
คำ�นึงถึงการแบ่งปันผลตอบแทนไปสู่ผู้มี
ส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
ENVIRONMENT
PLANET
ในฐานะผู้ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
ที่มีบทบาทและสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ในหลายมิติ บริษัทจึงให้ความสำ�คัญต่อการ
รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยการลดผลกระทบ
จากการพัฒนาโครงการในกระบวนการ
(In Process) ตั้งแต่กระบวนการออกแบบ
และกระบวนการก่อสร้าง รวมทั้งดูแล
สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัย
ในชุมชนและชุมชนข้างเคียงภายหลังการ
ส่งมอบ
SOCIETY
PEOPLE
บริษัทคำ�นึงอยู่เสมอว่า ธุรกิจนั้นจะเติบโต
ได้ด้วยพื้นฐานของสังคมที่ดี มีคุณภาพ
มีความปลอดภัย การรับผิดชอบต่อสังคม
ของบริษัทจึงไม่ได้จำ�กัดอยู่เฉพาะบุคลากร
ภายในเท่านั้น แต่ยังคำ�นึงถึงสังคมภายนอก
คู่ค้า ลูกค้า และผู้พักอาศัยในโครงการ
รวมถึงชุมชนข้างเคียง (เพื่อนบ้าน) แรงงาน
ก่อสร้าง ตลอดจนสภาพสังคมโดยรวมของ
ประเทศ
ECONOMY
PROFIT
ENVIRONMENT
PLANET
SOCIETY
PEOPLE
3P
18
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
GreenFinancial
Management
การกำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโต
ขององค์กรให้เหมาะสม
GreenCommunity
Management
การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิต
ของผู้อยู่อาศัยในโครงการหลังส่งมอบ
Green
Enterprise
การดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญกับ
การบริหารจัดการและทุนมนุษย์
Green Marketing
Management
การตลาดที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง
Green Design
Concept
การออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
Green Construction
Process
การบริหารจัดการผลกระทบที่มีผลต่อ
สิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการ
ก่อสร้าง
1
4
2
5
3
6
ENTERPRISE
MARKETING MANAGEMENT
DESIGN CONCEPT
CONSTRUCTION PROCESS
FINANCIAL MANAGEMENT
บร�หารชุมชน
COMMUNITY MANAGEMENT
6 GREEN LPN
6G ตลอดระยะเวลากว่า 26 ปีของการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างจริงจัง
ในทุกกระบวนการ ก่อให้เกิดการพัฒนาแนวคิด 6 GREEN LPN ที่กลั่นกรองจากประสบการณ์การพัฒนา
อสังหาริมทรัพย์และการบริหารชุมชน เพื่อเป็นหลักปฏิบัติในการสร้างสมดุลอย่างยั่งยืนแก่ผู้มีส่วนได้เสีย
ทุกกลุ่ม ปัจจุบันแนวคิด 6 GREEN LPN ครอบคลุมความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมทั้งหมด 6 ประการ
ได้แก่
19
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
หมายถึง ผู้ถือหุ้นของบริษัท
ทั้งในฐานะบริษัท กองทุน และ
บุคคล ที่ได้รับผลตอบแทนจาก
การดำ�เนินงาน ซึ่งให้ความสำ�คัญ
กับการกำ�กับดูแลกิจการตาม
หลักธรรมาภิบาล และความ
รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและ
สังคม
หมายถึง ผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่
ติดหรือใกล้กับโครงการที่กำ�ลัง
ดำ�เนินงานก่อสร้างของบริษัท
ซึ่งได้รับผลกระทบตั้งแต่เริ่ม
พัฒนาโครงการ จนถึงผลกระทบ
จากการอยู่อาศัยภายหลัง
การส่งมอบโครงการ
หมายถึง ผู้ที่ทำ�งานให้แก่
บริษัท ช่วยขับเคลื่อนให้
การดำ�เนินงานของบริษัท
ก้าวไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน
โดยหมายรวมถึงพนักงาน
ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ
ปฏิบัติการจนถึงระดับบริหาร
หมายถึง ผู้ที่อยู่อาศัยใน
โครงการที่ได้ส่งมอบแล้วของ
บริษัท ไม่ว่าจะในฐานะลูกค้าที่
ซื้อห้องชุดในโครงการ หรือผู้ที่
เช่าพักอาศัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง
ของชุมชนที่บริษัทให้การดูแล
หมายถึง ผู้ที่ให้ความสนใจ
ห้องชุดของบริษัทและได้
ดำ�เนินการจองซื้อและชำ�ระเงิน
ค่าผ่อนดาวน์ ซึ่งในอนาคต
เมื่อโครงการพัฒนาเสร็จ
สมบูรณ์ ลูกค้าจะพัฒนาไปสู่
การเป็นผู้อยู่อาศัย
หมายถึง แรงงานของ LPN
Team (ปิยมิตร) ที่รับจ้าง
ทำ�งานก่อสร้างโครงการให้
บริษัท ทั้งแรงงานที่มีสัญชาติ
ไทยและแรงงานต่างด้าว
หมายถึง คู่ค้าหรือปิยมิตร
ผู้เข้ามามีส่วนร่วมใน
กระบวนการออกแบบ
วางผังโครงการ และการก่อสร้าง
ของบริษัท เสมือนหนึ่งเป็น
พนักงาน In-house ของบริษัท
เพื่อให้การบริหารโครงการเป็น
ไปตามเป้าหมายที่ได้วางไว้
หมายถึง องค์ประกอบของ
ความยั่งยืนที่เป็นพื้นฐาน
ในการประกอบกิจการ ซึ่งธุรกิจ
พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ส่งผล
กระทบโดยตรง บริษัทจึงมุ่ง
เน้นการดูแลและลดผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อมโดยรอบบริเวณ
โครงการเป็นสำ�คัญ
ผู้ถือหุ้น
บ้านข้างเคียง
พนักงาน
ผู้อยู่อาศัย
ลูกค้า
แรงงานก่อสร้าง
LPN TEAM
สิ่งแวดล้อม
1
5
2
6
3
7
4
8
8 STAKEHOLDERS (G4-25)
8S บริษัทสามารถระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลัก (First Tier) ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานในกระบวนการต่างๆ
โดยพิจารณาจากการประเมินระดับความเกี่ยวข้องของผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งในด้านความสำ�คัญที่มีผลต่อบริษัท
และการดำ�เนินงาน และผลกระทบที่ได้รับจากการดำ�เนินงานของบริษัท เพื่อให้สามารถระบุความสำ�คัญ
วางกลยุทธ์ในการสร้างการมีส่วนร่วม และกำ�หนดกรอบการดำ�เนินงานเพื่อลดผลกระทบที่มีความสำ�คัญแก่
ผู้มีส่วนได้เสีย โดยกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลักขององค์กร แบ่งออกเป็น 8 กลุ่มดังนี้
20
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
พนักงาน ผูบร�หาร
การเลือกทำเล
1 2
การซ�้อที่ดิน
9
การเขาพักอาศัย
LPN องคกรคุณคา
ผูอยูอาศัย
แมบาน
รปภ.
FBLES+P
บร�หารชุมชน
นิติบุคคล
ชุมชนนาอยู
การบร�หารชุมชน
10
10 ห่วงโซ่คุณค่า LPN10P
10 PROCESSES (G4-12)
21
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
การออกแบบโครงการ การบร�หารจัดการทางการเง�น
4
6
การบร�หาร
ประสบการณ
ลูกคา
8
การสงมอบหองชุด
ผูออกแบบหนวยงานราชการ
EIA
APPROVED
ลูกคา ผูถือหุน
ลูกคา
บานขางเคียง
คนงานกอสราง
LPN TEAM SAFETY FIRST
การบร�หารโครงการ
7
การบร�หาร
การตลาด
5
22
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
FINANCIAL MANAGEMENTDESIGN CONCEPT
วางแนวคิดและผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับ
การพัฒนาโดยมีแนวคิด 2 รูปแบบ ได้แก่
โครงการนำ�ร่อง (Pilot Project) คือ การ
พัฒนาโครงการในทำ�เลใหม่ๆ ที่ยังไม่มี
คู่แข่ง หรือทำ�เล Blue Ocean Location
และโครงการต่อเนื่อง (Expanded Project)
คือการขยายการพัฒนาโครงการในทำ�เล
ที่ประสบความสำ�เร็จ แต่ยังคงมีความ
ต้องการที่พักอาศัยอยู่
ผู้บริหารจะตัดสินใจซื้อที่ดินโดยพิจารณา
จากประสบการณ์และวิสัยทัศน์ รวมทั้ง
ข้อมูลของสำ�นักวิจัยและพัฒนา (R&D)
และฝ่ายการตลาด (Marketing) ที่ศึกษา
อุปสงค์ อุปทาน และความเป็นไปได้ใน
การพัฒนาโครงการ (Feasibility)
เพื่อให้โครงการเหมาะสมสอดคล้องกับ
กลยุทธ์องค์กรและตามความต้องการ
ของลูกค้า
ออกแบบและวางผังโครงการตาม
LPN Green Standard Checklist
ซึ่งบริษัทพัฒนาขึ้นให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานอาคารเขียว (Green Building)
ของสหรัฐอเมริกา (LEED-The Leadership
in Energy and Environment Design)
โดยพิจารณาผลกระทบในทุกด้าน
ต่อผู้มีส่วนได้เสีย
เริ่มตั้งแต่การกำ�หนดการเติบโตและ
ผลตอบแทนของผู้มีส่วนได้เสียให้สอดคล้อง
กับเป้าหมายองค์กร (Business Plan)
ในแต่ละปี จัดทำ�ต้นทุนการก่อสร้างและ
กำ�ไรรายโครงการให้เหมาะสม (Profit
and Loss) และจัดทำ�งบการเงินที่ถูกต้อง
และเชื่อถือได้ โดยทุกขั้นตอนเน้นที่
ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ไม่มีวาระ
ซ่อนเร้น และมีการบริหารความเสี่ยง
ทางการเงินอย่างสม่ำ�เสมอ
การเลือกทำ�เล
การซื้อที่ดิน การออกแบบ
โครงการ
การบริหารจัดการ
ทางการเงิน
ไม่เพียงแต่ตั้งปณิธานในการเป็น “องค์กรคุณค่า” ที่ให้ความสำ�คัญกับการ
บริหารจัดการและทุนมนุษย์ บริษัทยังคำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้
เสียทุกกลุ่มในทุกกระบวนการดำ�เนินงาน ซึ่งโดยทั่วไป ความรับผิดชอบของ
บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มักจะสิ้นสุดที่การส่งมอบผลิตภัณฑ์หรือห้อง
ชุดแก่ลูกค้า แต่ในทางกลับกัน บริษัทเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการดูแล
คุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยในโครงการ ซึ่งไว้วางใจในการเลือกซื้อห้องชุด
ภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี” จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาแนวคิดการบริการ
หลังการขาย “ชุมชนน่าอยู่” ที่ต่อยอดการบริหารอาคารสู่การบริหารชุมชน
มากว่า 20 ปี ทำ�ให้ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องของบริษัท
ในกระบวนการดำ�เนินธุรกิจนั้น เริ่มตั้งแต่ระดับนโยบายในการบริหาร
จัดการภายในองค์กรไปจนถึง 10 กระบวนการหลักในการพัฒนา
อสังหาริมทรัพย์ของบริษัท อันได้แก่
1
2 3 4
10P 10 ห่วงโซ่คุณค่า LPN
10 PROCESSES
23
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
บร�หารชุมชน
MARKETING MANAGEMENT CONSTRUCTION PROCESS
COMMUNITY MANAGEMENT
ยึดหลัก “Customer Centric” หรือการ
ให้ความสำ�คัญกับลูกค้า ด้วยนโยบายใน
การสร้างบ้านหลังแรกให้แก่ผู้ที่ยังไม่มี
บ้าน เป็นการคืนกำ�ไรให้แก่ลูกค้าและ
สังคม นอกจากนั้น ยังให้ความสำ�คัญ
กับการเคารพสิทธิของผู้บริโภค และ
การดำ�เนินงานตามสัญญาที่ให้ไว้กับลูกค้า
การตรวจคุณภาพมาตรฐานของห้องชุด
และพื้นที่ส่วนกลางก่อนการส่งมอบ
เพื่อ “ชุมชนน่าอยู่” ที่สมบูรณ์แบบ
มีความปลอดภัยและอุปกรณ์ต่างๆ ที่
พร้อมใช้งาน นอกจากนั้น ยังให้บริการ
ลูกค้าในการโอนกรรมสิทธิ์ เพื่ออำ�นวย
ความสะดวก
ความเชื่อมั่นในแบรนด์เป็นหัวใจสำ�คัญ
ในการบริหารประสบการณ์ลูกค้า โดย
ในทุกจุดสัมผัส (Touch Point) จะมีการ
กำ�หนดมาตรฐานการบริการ รวมถึง
เปิดให้มีช่องทางสื่อสารต่างๆ ที่ลูกค้า
สามารถสะท้อนความคิดเห็นกลับมายัง
บริษัทได้ เพื่อรับฟังและปรับปรุงบริการ
การอยู่อาศัยร่วมกันของคนหมู่มาก
จำ�เป็นต้องมีข้อตกลงและกฎระเบียบ
ร่วมกัน เพื่อความเป็นระเบียบ
และก่อนการเข้าพักอาศัย บริษัทได้มี
การสื่อสารและทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับ
นโยบายและทิศทางในการบริหารชุมชน
ของบริษัท ตามแนวทาง “ชุมชนน่าอยู่”
กับผู้อยู่อาศัยในชุมชน เพื่อให้เกิด
การยอมรับและอยู่อาศัยร่วมกันอย่าง
มีความสุข
การก่อสร้างถือเป็นกระบวนการที่สร้าง
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
มากที่สุด ผู้ประกอบการจึงควรมีความ
รับผิดชอบ เพื่อลดความรุนแรงของปัญหา
ที่อาจเกิดขึ้น จึงเป็นที่มาของกลยุทธ์การ
บริหารโครงการ Q-C-S-E-S+P ของ
บริษัท เพื่อให้เกิดมาตรฐานในการ
ดำ�เนินงานร่วมกันของทุกภาคส่วน
กลยุทธ์หลักที่สำ�คัญขององค์กร คือ
การดูแลคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัย
ภายใต้กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่”
ซึ่งไม่เพียงดูแลบริหารอาคาร แต่ยังให้
ความสำ�คัญกับการดูแลคุณภาพชีวิต
สังคม สิ่งแวดล้อมที่ดี และสร้างวัฒนธรรม
การอยู่อาศัย “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน”
การให้ความสำ�คัญ
กับลูกค้า
การส่งมอบห้องชุด
การบริหาร
ประสบการณ์ลูกค้า
การเข้าพักอาศัย
การบริหาร
โครงการ
การบริหารชุมชน
5
8
6
9
7
10
ตารางประเด็นสำ�คัญด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน (G4-19)
24
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
LPN TEAM พนักงาน ลูกค้า
• พัฒนาอย่างยั่งยืน
• ธรรมาภิบาลและการบริหาร
ความเสี่ยง
• ต่อต้านการทุจริต
• คืนกำ�ไรสู่สังคมด้วยการ
สนับสนุน “กิจการเพื่อสังคม”
• กำ�ไรและเติบโตอย่างเหมาะสม
• งบการเงินที่ถูกต้อง โปร่งใส
ตรวจสอบได้
• วินัยทางการเงิน
• สื่อสารรายงานผลประกอบการ
อย่างสม่ำ�เสมอ
• กระจายงบประมาณจาก
ผลประกอบการให้กับทุกภาคส่วน
อย่างสมดุลและเหมาะสม
• พัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน
• เป็นหนึ่งเดียว (ONE LPN)
• ผลตอบแทนที่เหมาะสม
• บริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
• ถ่ายทอดและแบ่งปันองค์ความรู้
แก่บุคลากรของปิยมิตร เพื่อ
พัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน
• ค่านิยมองค์กร
• องค์กรน่าอยู่
• องค์กรแห่งการเรียนรู้และเติบโต
• ความสมดุลระหว่างการทำ�งาน
และชีวิต
• พัฒนาความรู้ความสามารถของ
พนักงานให้ทันต่อการเติบโตของ
ธุรกิจตามวิถีแอล.พี.เอ็น.
• ค่านิยมองค์กร
• องค์กรน่าอยู่
• องค์กรแห่งการเรียนรู้
และเติบโต
• ความสมดุลระหว่างการทำ�งาน
และชีวิต
• สร้างความสุขในการทำ�งาน
• ยกระดับการศึกษา เพื่อสร้าง
โอกาสเติบโตในอาชีพการงาน
• บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้
• การเลือกทำ�เลเชิงกลยุทธ์
• การเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์
ด้วยสิ่งอำ�นวยความสะดวก
ภายในโครงการ
• การบริหารประสบการณ์ลูกค้า
• ราคาที่สามารถเป็นเจ้าของได้
• การโฆษณาเชิงสร้างสรรค์
ไม่มีวาระซ่อนเร้น และไม่
โจมตีคู่แข่ง
• การบริหารความพึงพอใจและ
ข้อร้องเรียน
GREEN
ENTERPRISE
GREEN
FINANCIAL
MANAGEMENT
GREEN
MARKETING
MANAGEMENT
GREEN
CONSTRUCTION
MANAGEMENT
GREEN
COMMUNITY
MANAGEMENT
CESR
ACTIVITIES
FROM CORPORATE
ESR TO
COMMUNITY
ESR
SOCIAL
ENTERPRISE
LPN ACADEMY
GREEN
DESIGN
CONCEPT
ผู้ถือหุ้น
PEOPLEPROFIT
OUT
PROCESS
IN
PROCESS
AS
PROCESS
25
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
ผู้อยู่อาศัย
• การพัฒนาผลิตภัณฑ์
ตามพฤติกรรมและวิถีชีวิต
(Behaviour & Lifestyle)
• การบริหารประสบการณ์ลูกค้า
• การรับประกันคุณภาพห้องชุด
• การบริหารความพึงพอใจและ
ข้อร้องเรียน
• สร้างการมีส่วนร่วมของ
ผู้พักอาศัยในชุมชนลุมพินี ด้วย
การสนับสนุนการจัดกิจกรรม
เพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
ของชมรมลุมพินีอาสา
• ส่งมอบคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่าน
การบริหารชุมชนภายใต้
กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับ
คนทุกวัย”
• สื่อสารแนวคิด “ร่วมใจ ห่วงใย
แบ่งปัน” และสร้างเครือข่ายจิต
อาสา เช่น กิจกรรมบริจาคโลหิต
แรงงานก่อสร้าง บ้านข้างเคียง สิ่งแวดล้อม
• ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ของแรงงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง
• คุณภาพชีวิตและสุขอนามัยของ
แรงงานก่อสร้าง
• ค่าจ้างแรงงานที่เป็นธรรม
• การพิจารณาผลกระทบ
จากการออกแบบ
• ให้ความสำ�คัญกับการ
รับผิดชอบต่อผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมในกระบวนการ
ผลิตและบริการ
• การลดผลกระทบจากการ
ก่อสร้าง ตามมาตรฐาน
LPN Green Standard
Checklist
• บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมใน
ชุมชนผ่านกิจกรรมตามแนวคิด
GREEN CLEAN LEAN
• การรับผิดชอบ เยียวยา และดูแล
ผลกระทบจากการก่อสร้าง
• การร่วมพัฒนาและปรับปรุง
สภาพแวดล้อม และสาธารณูปโภค
ของชุมชนโดยรอบ
• การออกแบบอาคารที่เป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อมตาม
มาตรฐาน LPN Green
Standard Checklist
• การใช้วัสดุและทรัพยากร
อย่างประหยัดและเหมาะสม
PEOPLE PLANET
แนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย (G4-26, 27)
26
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558
ผู้มีส่วนได้เสีย ประเด็นสำ�คัญทั่วไป ประเด็นสำ�คัญเฉพาะ
ผู้ถือหุ้น • กำ�ไรและการเติบโตที่เหมาะสม
• การบริหารความเสี่ยง
• ธรรมาภิบาล
• ความรับผิดชอบ
• การลดผลกระทบในกระบวนการ
นอกกระบวนการ และอิงกระบวนการ
• สมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต
• การเรียนรู้และเติบโต
• ความสุขในการทำ�งาน
• ค่านิยมองค์กร
• การลดผลกระทบในกระบวนการก่อสร้าง
• การสร้างความสัมพันธ์
• ความเชื่อมั่นในแบรนด์
• คุณค่าผลิตภัณฑ์
• สิทธิผู้บริโภค
• การบริหารความพึงพอใจ
• บ้านที่สามารถหาซื้อได้
• การสร้างการมีส่วนร่วม
• คุณค่าผลิตภัณฑ์
• คุณค่าการบริการ - ชุมชนน่าอยู่
• สิทธิผู้บริโภค
• การบริหารความพึงพอใจ
• สมดุลของผลตอบแทน
• พัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน
• ความปลอดภัย
• การดูแลคุณภาพชีวิตคนงานก่อสร้าง
• สร้างการเติบโตและผลกำ�ไรอย่างเหมาะสม
• รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
• สร้างความสมดุลของผลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
• ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล
• บริหารจัดการความเสี่ยง
• ต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น
• เคารพในสิทธิของผู้ถือหุ้น
• ดำ�เนินนโยบาย 6 GREEN LPN เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
• การลดผลกระทบจากการก่อสร้าง
• การร่วมรณรงค์คัดแยกขยะในชุมชนที่บริหารจัดการ
• ส่งเสริมการประหยัดพลังงาน
• การบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
• การออกแบบโครงการเพื่อความยั่งยืน
• สร้างจิตสำ�นึก CESR แก่ชุมชนที่บริหารจัดการ
• สร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดีแก่สตรีด้อยโอกาส
• แบ่งปันองค์ความรู้องค์กรสู่ภายนอกผ่านสถาบันแอล.พี.เอ็น.
• สร้างสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต
• การเรียนรู้และเติบโตในหน้าที่การงาน
• องค์กรน่าอยู่
• สมรรถนะหลักไปสู่ค่านิยมองค์กร
• ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม
• ความเท่าเทียมและสิทธิขั้นพื้นฐาน
• การป้องกันเสียง ฝุ่น และผลกระทบจากการก่อสร้าง
• การรับฟังข้อเสนอแนะและแนวทางการทำ�งาน
• การปฏิบัติตามรายงานวิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
• การออกแบบที่คำ�นึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่
• สร้างความเป็นหนึ่งเดียว
• กำ�หนดแผนธุรกิจร่วมกัน
• แบ่งปันองค์ความรู้
• ให้การสนับสนุนในการพัฒนาองค์กร
• ส่งต่อจิตสำ�นึกในการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
• ความปลอดภัยในการทำ�งาน
• ดูแลคุณภาพชีวิต ทั้งบ้านพักคนงานและสุขอนามัย
• สิทธิและค่าตอบแทนขั้นพื้นฐาน
• การปฏิบัติอย่างเท่าเทียม
• บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้
• คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ
• สร้างความพึงพอใจและบริหารข้อร้องเรียน
• เคารพในสิทธิของผู้บริโภค
• ราคาที่เป็นธรรม
• คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ
• สร้างความพึงพอใจและบริหารข้อร้องเรียน
• เคารพในสิทธิของผู้บริโภค
• สร้างวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกัน ดูแลห่วงใยและแบ่งปันกัน
• สร้างการมีส่วนร่วมในกิจกรรม CESR
• ส่งเสริมการเรียนรู้แก่เยาวชนที่อยู่อาศัยในโครงการ
• เปิดโอกาสให้ชุมชนร่วมกำ�หนดแนวทางการบริหารจัดการ
ลูกค้า
ผู้อยู่อาศัย
สิ่งแวดล้อมและสังคม
LPN TEAM
พนักงาน
แรงงานก่อสร้าง
บ้านข้างเคียง
27
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
ความถี่ในการดำ�เนินการวิธีการสร้างการมีส่วนร่วม
• รายงานประจำ�ปี และรายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน
• การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น
• จดหมายข่าวผู้ถือหุ้น
• เยี่ยมชมโครงการ
• การพบปะนักวิเคราะห์
• การพบปะนักลงทุนและผู้จัดการกองทุน
• การรายงานความคืบหน้าโครงการ
• 6 GREEN LPN
• LPN Green Signature Project
• QCSES+P
• การประเมินความสุขในการทำ�งาน
• สถาบันแอล.พี.เอ็น.
• กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วม
• ทีมงานพนักงานสัมพันธ์
• การประเมินผลการปฏิบัติงาน
• เว็บไซต์ และอีเมล์ภายใน
• การแบ่งปันความรู้จากผู้บริหาร
• คณะกรรมการสวัสดิการ
• Whatsapp
• ประชาพิจารณ์
• เยี่ยมเยียน พบปะ พูดคุย
• เพิ่มพื้นที่สีเขียว
• ปรับปรุงพื้นที่
• การออกแบบที่คำ�นึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่
• กล่องรับเรื่องร้องเรียน
• การประชุมปิยมิตร
• การอบรมและแบ่งปันความรู้
• กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์
• QCSES+P
• กิจกรรมดูแลคุณภาพชีวิต
• ตรวจสุขภาพ
• การประชุมใหญ่สามัญเจ้าของร่วม
• Mobile App
• Call Center
• กิจกรรมต่างๆ
• การสำ�รวจความพึงพอใจ
• Lumpini Family Day
• เสวนากรรมการนิติฯ
• Touch Point
• การบริหารประสบการณ์ลูกค้า
• การวิจัยทางการตลาด
• www.lpn.co.th
รายปี
รายปี
รายไตรมาส
รายปี
รายไตรมาส
เป็นประจำ�
เป็นประจำ�
เป็นประจำ�
เฉพาะกิจ
เป็นประจำ�
รายไตรมาส
เป็นประจำ�
เป็นประจำ�
เฉพาะกิจ
รายครี่งปี
เป็นประจำ�
เป็นประจำ�
เฉพาะกิจ
รายวัน
เฉพาะกิจ
รายวัน
เป็นประจำ�
เป็นประจำ�
เป็นประจำ�
รายสัปดาห์
รายเดือน
รายเดือน
รายไตรมาส
รายวัน
เฉพาะกิจ
รายปี
รายปี
เป็นประจำ�
รายวัน
เฉพาะกิจ
เป็นประจำ�
รายปี
รายปี
เป็นประจำ�
เป็นประจำ�
เป็นประจำ�
เป็นประจำ�
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558

More Related Content

Similar to รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558

ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)M.L. Kamalasana
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50Makin Puttaisong
 
Leading the Change: Thaioil's Ambitious Vision
Leading the Change: Thaioil's Ambitious VisionLeading the Change: Thaioil's Ambitious Vision
Leading the Change: Thaioil's Ambitious VisionSasin SEC
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักpromboon09
 
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Pun-Arj Chairatana
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพgel2onimal
 
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศsamtej
 

Similar to รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558 (20)

Sustainable Report 2560
Sustainable Report 2560Sustainable Report 2560
Sustainable Report 2560
 
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
 
Final csr booklet 2010
Final   csr booklet 2010Final   csr booklet 2010
Final csr booklet 2010
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
Sub report update 2561
Sub report update 2561Sub report update 2561
Sub report update 2561
 
LPN Newsletter Q1 / 2015
LPN Newsletter Q1 / 2015LPN Newsletter Q1 / 2015
LPN Newsletter Q1 / 2015
 
Sustainable 2561
Sustainable 2561Sustainable 2561
Sustainable 2561
 
Leading the Change: Thaioil's Ambitious Vision
Leading the Change: Thaioil's Ambitious VisionLeading the Change: Thaioil's Ambitious Vision
Leading the Change: Thaioil's Ambitious Vision
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Sustainable Business
Sustainable BusinessSustainable Business
Sustainable Business
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
 
oic_dg_in_practice_v1.0.pdf
oic_dg_in_practice_v1.0.pdfoic_dg_in_practice_v1.0.pdf
oic_dg_in_practice_v1.0.pdf
 
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
1
11
1
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
 
QA forstudent 300511
QA forstudent 300511QA forstudent 300511
QA forstudent 300511
 
Handout2
Handout2Handout2
Handout2
 
รายงาน Om
รายงาน Omรายงาน Om
รายงาน Om
 

More from L.P.N. Development PCL.

เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2559
รายงานประจำปี 2559รายงานประจำปี 2559
รายงานประจำปี 2559L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2553
รายงานประจำปี 2553รายงานประจำปี 2553
รายงานประจำปี 2553L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2552
รายงานประจำปี 2552รายงานประจำปี 2552
รายงานประจำปี 2552L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2550
รายงานประจำปี 2550รายงานประจำปี 2550
รายงานประจำปี 2550L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2549
รายงานประจำปี 2549รายงานประจำปี 2549
รายงานประจำปี 2549L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2548
รายงานประจำปี 2548รายงานประจำปี 2548
รายงานประจำปี 2548L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2547
รายงานประจำปี 2547รายงานประจำปี 2547
รายงานประจำปี 2547L.P.N. Development PCL.
 
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิวลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิวL.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558L.P.N. Development PCL.
 

More from L.P.N. Development PCL. (20)

เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
 
รายงานประจำปี 2559
รายงานประจำปี 2559รายงานประจำปี 2559
รายงานประจำปี 2559
 
รายงานประจำปี 2553
รายงานประจำปี 2553รายงานประจำปี 2553
รายงานประจำปี 2553
 
รายงานประจำปี 2552
รายงานประจำปี 2552รายงานประจำปี 2552
รายงานประจำปี 2552
 
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
 
รายงานประจำปี 2550
รายงานประจำปี 2550รายงานประจำปี 2550
รายงานประจำปี 2550
 
รายงานประจำปี 2549
รายงานประจำปี 2549รายงานประจำปี 2549
รายงานประจำปี 2549
 
รายงานประจำปี 2548
รายงานประจำปี 2548รายงานประจำปี 2548
รายงานประจำปี 2548
 
รายงานประจำปี 2547
รายงานประจำปี 2547รายงานประจำปี 2547
รายงานประจำปี 2547
 
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิวลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
 
Lumpini Mag
Lumpini MagLumpini Mag
Lumpini Mag
 
Lumpini Place Bangna KM.3
Lumpini Place Bangna KM.3Lumpini Place Bangna KM.3
Lumpini Place Bangna KM.3
 
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
 
รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558
 
Lumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
Lumpini Suite Phetcheburi-MakkasanLumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
Lumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
 
Issue 77 / OCT - DEC 2014
Issue 77 / OCT - DEC 2014Issue 77 / OCT - DEC 2014
Issue 77 / OCT - DEC 2014
 
Issue 75 / MAY - JULY 2014
Issue 75 / MAY - JULY 2014Issue 75 / MAY - JULY 2014
Issue 75 / MAY - JULY 2014
 
LPN Newsletter Q2 / 2013
LPN Newsletter Q2 / 2013LPN Newsletter Q2 / 2013
LPN Newsletter Q2 / 2013
 
Issue 68 / Nov - DEC 2012
Issue 68 / Nov - DEC 2012Issue 68 / Nov - DEC 2012
Issue 68 / Nov - DEC 2012
 
City life 6
City life 6City life 6
City life 6
 

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558

  • 1.
  • 4. 2 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 สารบัญ • สารจากประธานกรรมการ 3 • ผลงานที่ภาคภูมิใจปี 2558 4 • รางวัลด้านความยั่งยืนปี 2558 5 • ข้อมูลองค์กร 6 • วิสัยทัศน์เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน 8 • พันธกิจต่อผู้มีส่วนได้เสียขององค์กรปี 2559 9 SUSTAINABLE POLICY IN PROCESS OUT PROCESS AS PROCESS ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมในกระบวนการ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมนอกกระบวนการ ความยั่งยืนระดับนโยบาย ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมอิงกระบวนการ 10 33 110 116 12 13 14 16 20 24 26 28 32 34 50 58 64 76 96 111 114 117 126 134 140 144 148 • หลักธรรมาภิบาล • การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น • การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน • LPN กับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน • 10 ห่วงโซ่คุณค่า LPN • ตารางประเด็นสำ�คัญด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน • แนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมกับ กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย • เป้าหมายเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน • กลยุทธ์เพื่อความยั่งยืน • การดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญกับ การบริหารจัดการและทุนมนุษย์ • การออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม • การกำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโต ขององค์กรให้เหมาะสม • การตลาดที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง • การบริหารจัดการผลกระทบที่มีผลต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการก่อสร้าง • การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิต ของผู้อยู่อาศัยในโครงการหลังส่งมอบ • กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของบริษัท • กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของชมรม ลุมพินีอาสา • สถาบันแอล.พี.เอ็น. • กิจการเพื่อสังคม : SOCIAL ENTERPRISE • นวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน • ข้อมูลพนักงาน • การจัดทำ�รายงาน • GRI INDEX
  • 5. 3 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) (อมรศักดิ์ นพรัมภา) ประธานกรรมการบริษัท สารจากประธานกรรมการ (G4-1) นับตั้งแต่บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ได้เริ่มดำ�เนินธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์เมื่อปีพ.ศ. 2532 บริษัทให้ความสำ�คัญต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม และได้นำ� หลักแห่งการสร้างสมดุลของการดำ�เนินงานหรือ Balanced Scorecard มาเป็นหัวใจของการ ดำ�เนินงาน ซึ่งแนวคิดดังกล่าวได้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จนมาเป็นแนวทางของความยั่งยืน ตามหลักการ Triple Bottom Line ในปัจจุบัน ด้วยการคำ�นึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนิน ธุรกิจ ทั้งมิติทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม สู่กลยุทธ์เพื่อความยั่งยืน 6 GREEN LPN ซึ่งบริษัทเชื่อมั่นว่าจะสร้างการเติบโตให้กับองค์กร ควบคู่ไปกับการแสดงความรับผิดชอบต่อ ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ดังนั้น แม้ในปี 2558 ที่ภาวะธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของประเทศอยู่ ในช่วงชะลอตัว อันเนื่องมาจากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจทั้งมหภาคและจุลภาค บริษัทยังคง สามารถผลักดันให้ผลการดำ�เนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ ด้วยความร่วมมือร่วมใจ จากผู้บริหาร พนักงาน และปิยมิตรที่แข็งแกร่งของบริษัท ตลอด 26 ปีของการดำ�เนินงาน บริษัทในฐานะผู้นำ�ด้านการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยในกลุ่ม เป้าหมายระดับกลางถึงกลาง-ล่างภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี” ตระหนักดีว่า โครงการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม แผนการ ดำ�เนินธุรกิจของบริษัทจึงได้กำ�หนดแนวทางในการดำ�เนินงานที่ครอบคลุมและเพิ่มความเข้มข้น ในทุกกระบวนการดำ�เนินงาน โดยรวมถึงการบริหารจัดการภายในองค์กรและทุนมนุษย์อีกด้วย จากความมุ่งมั่นดังกล่าว ส่งผลให้บริษัทได้รับ 5 รางวัลด้านความยั่งยืน ได้แก่ รางวัล ESG 100 Certificate (Environment, Social and Governance) จากสถาบัน ไทยพัฒน์ ในฐานะที่เป็น 1 ใน 100 บริษัทจดทะเบียนที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนิน ธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล รางวัลการลงทุนในกิจการเพื่อสังคม (SET Social Enterprise Investment Awards) จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รางวัลด้านบริษัทจดทะเบียนที่ลงทุนได้อย่างยั่งยืน(ThailandSustainabilityInvestment: THSI) จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รางวัล5 ตราสัญลักษณ์ด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (กลต.) และสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) รางวัล Recognition จากการประกาศรางวัลรายงานความยั่งยืนประจำ�ปี 2558 (Sustainability Report Award 2015) • • • • • นอกจากนั้น จากการที่บริษัทได้ประกาศเจตนารมณ์เข้าเป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านทุจริต ในปีนี้ บริษัทได้กำ�หนดนโยบายประเมินความเสี่ยงจากการทุจริตคอรัปชั่น การสื่อสารและฝึกอบรม การดำ�เนินงานตามนโยบาย และการทบทวนความเหมาะสม โดยตั้ง เป้าหมายไว้ที่การยื่นขอการรับรอง (ระดับ 4 : Certified) เพื่อให้ความเชื่อมั่นอย่างเป็นอิสระ จากหน่วยงานภายนอก ทั้งหมดนี้ ถือเป็นความภาคภูมิใจของผู้บริหารและพนักงานทั้งองค์กร รวมทั้งยังเป็นคำ�มั่น สัญญาของบริษัทที่จะดำ�เนินกิจการบนความรอบคอบ โปร่งใส เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล บริษัทจึงใคร่ขอขอบคุณผู้บริหาร พนักงาน ปิยมิตร และผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่มีส่วนร่วม ในการสร้างคุณค่า ความร่วมมือร่วมใจจากท่านจะเป็นพลังขับเคลื่อนที่ยิ่งใหญ่ที่จะช่วย รักษาไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมที่ดีและสังคมคุณภาพ นำ�มาซึ่งการเติบโตให้กับบริษัทและผู้มีส่วน ได้เสียทุกกลุ่มตลอดไป
  • 6. 4 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 สูตรความยั่งยืน 3-6-8-10 ไดแก 3P, 6 GREEN LPN, 8 กลุมผูมีสวนไดเสีย และ 10 กระบวนการ เพ�่อเปน แนวทางในการดำเนินธุรกิจของ ทุกสวนงาน ลงทุนใน “กองทุนสุนทาน” รวมกับสถาบันไทยพัฒน และ 5 บจ. เพ�่อนำดอกผลจากการลงทุนไปสนับสนุนกิจการเพ�่อสังคม (Social Enterprise) 5 รางวัล ดานความยั่งยืน 3P 6G 8S 10P อบรม หลักสูตร CMTC เพ�่อสรางผูจัดการชุมชน รวมทั้งสิ�น 229คน สรางงานแก สตร�ดอยโอกาส รวมทั้งสิ�น สรางโอกาสใน การมีบานหลังแรก ผานโครงการบานสานฝน สะสมทั้งสิ�น จำนวน ชุมชนตนแบบ สะสมทั้งสิ�น (28 นิติบุคคลอาคารชุด) ดูแลบร�หารชุมชน จำนวน 116 ชุมชน 106,400 ครอบครัว กวา 187,200 คน รวมพ�้นที่ที่ดูแล 5,925,000 ตร.ม. NPS ป 58 = 44% ความผูกพัน ตอองคกร ของพนักงานเฉลี่ย = 64% จำนวนโครงการ ออกแบบภายใตมาตรฐาน Signature Green Project = 2 รายไดรวม 16,673.64 ลานบาท กำไรสุทธิ 2,413.40 ลานบาท เติบโต 29% ปนผล ใหแกผูถือหุน 0.90* สตางค * รออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนประจำป 2559 สงมอบ โครงการ ทั้งสิ�น 7โครงการ เปดขาย โครงการ ทั้งสิ�น 4โครงการ เช�งคุณคา เช�งเง�นตรา 419ครอบครัว 1,200ครอบครัว 27ชุมชน ผลงานที่ภาคภูมิใจปี 2558 (G4-1)
  • 7. 5 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) รางวัลด้านความยั่งยืนปี 2558 (G4-1) บริษัทได้รับการจัดอันดับให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลกิจการในระดับดีเลิศ (ระดับ 5 ตราสัญลักษณ์) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) บริษัทได้รับรางวัล “บริษัทจดทะเบียนด้านการสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมยอดเยี่ยม (SET Social EnterpriseInvestment Awards)” จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทเป็น 1 ใน 51 บริษัทจดทะเบียนที่มีรายชื่อหุ้นยั่งยืน(ThailandSustainabilityInvestment :THSI)จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทได้รับรางวัลด้านองค์กรแห่งความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG 100) จากสถาบันไทยพัฒน์ บริษัทได้รับรางวัล Recognition จากการประกาศรางวัลรายงานความยั่งยืนประจำ�ปี 2558 (Sustainability Report Awards 2015) จากสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
  • 8. 6 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 ข้อมูลองค์กร (G4-3, 5, 6) บริษัทในเครือ (G4-17) บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทอาคารชุดพักอาศัยในประเทศไทย สำ�นักงานใหญ่ ที่ตั้ง 1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 วันที่จดทะเบียน : วันที่ 21 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2532 ทุนจดทะเบียน : 1,475,698,768 บาท บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ให้บริการบริหารจัดการชุมชนแบบครบวงจร บริษัท พรสันติ จำ�กัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในรูปแบบอื่นๆ นอกเหนือจากอาคารชุดพักอาศัย บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด ให้บริการบริหารงานก่อสร้างโครงสร้าง บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ให้บริการงานบริการด้านต่างๆ ในชุมชน
  • 9. 7 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) วิถีแอล.พี.เอ็น. ประกอบด้วยคุณค่า 2 เสาหลัก คือ “การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง” และ “การยอมรับนับถือผู้มีส่วนได้เสีย” โดยมีองค์ประกอบค่านิยม 7 ประการ คือ “CLASSIC” ซึ่งเป็น แนวทางบูรณาการในการดำ�เนินธุรกิจที่ทุกองคาพยพของบริษัท ยึดถือและนำ�ไปปฏิบัติ ซึ่งพัฒนาไปเป็นค่านิยมองค์กร(Corporate Values) และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เกิดเป็นวิถีแอล.พี.เอ็น. (LPN Way) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การดำ�เนินงานในทุกภาคส่วนบรรลุ เป้าหมาย ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ และขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ “การพัฒนาและเติบโตอย่างยั่งยืน” COST WITH QUALITY บริหารต้นทุนพร้อมคุณภาพ LATERAL THINKING คิดนอกกรอบ SERVICE MINDED ใจบริการ ALLIANCE ปิยมิตร INTEGRITY จริยธรรม SPEED WITH QUALITY รวดเร็ว COLLABORATION ความร่วมมือร่วมใจ CONTINUOUS DEVELOPMENT การพัฒนา อย่างต่อเนื่อง CLASSIC (Core Competency) สมรรถนะหลักองค์กร CORPORATE VALUES ค่านิยมองค์กร LPN WAY วิถีแอล.พี.เอ็น. RESPECT FOR STAKEHOLDERS การยอมรับนับถือ ผู้มีส่วนได้เสีย LPN WAY : วิถีองค์กรขับเคลื่อนสู่ความยั่งยืน (G4-56)
  • 10. 8 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 วิสัยทัศน์ในช่วงที่ผ่านมาของบริษัท บริษัทได้กำ�หนดวิสัยทัศน์เพื่อเป็นแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัททุกรอบ3 ปี เพื่อนำ�ไปสู่เป้าหมายการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยคำ�นึงถึง ความสมดุลของผลตอบแทนทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อีกทั้งยังคำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมด้วย การดำ�เนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล รวมถึงการกำ�หนดพันธกิจในแต่ละปี เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง และขับเคลื่อน ด้วยวิถีแอล.พี.เอ็น. (LPN Way) ที่หล่อหลอมมาจากประสบการณ์ในการดำ�เนินธุรกิจ ดังนี้ วิสัยทัศน์เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน ผู้นำ�ด้านการพัฒนาอาคารชุด พักอาศัย สำ�หรับกลุ่มเป้าหมาย ระดับกลางถึงกลาง-ล่าง มุ่งมั่นดำ�เนินการในการรักษา ภาวะผู้นำ� ด้านการพัฒนาอาคาร ชุดพักอาศัย ด้วยการสร้างสรรค์ คุณค่าแบบบูรณาการเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตที่เหมาะสมและพึง พอใจของผู้อยู่อาศัยในชุมชน โดยที่ยังคงไว้ซึ่งผลตอบแทน ต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย อย่างยั่งยืน ภายใต้หลักการ ธรรมาภิบาล เป็นผู้นำ�ในการพัฒนาที่พักอาศัย ในเมืองด้วยการสร้างสรรค์และ ส่งมอบคุณค่าแบบบูรณาการแก่ ผู้มีส่วนได้เสียในการดำ�เนิน งาน เพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนาและ การเติบโตอย่างยั่งยืน ดำ�รงไว้ซึ่งความเป็นผู้นำ�ตลาด และเพิ่มพูนประสิทธิภาพด้วย การพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย แบบบูรณาการเพื่อการสร้างสรรค์ ชุมชนคุณภาพ ปี 2545 - 2547 ปี 2551 - 2553 ปี 2554 - 2556ปี 2548 - 2550 วิสัยทัศน์ปี 2557 - 2559 ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย องค์กรคุณค่า คงไว้ซึ่งสถานะผู้นำ�ในการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยในกลุ่มเป้าหมายระดับกลางถึงกลาง-ล่าง ภายใต้แนวทาง “ชุมชนน่าอยู่” ด้วยการดำ�เนินการตามวิถี “องค์กรคุณค่า” เพื่อการพัฒนาและเติบโตอย่างยั่งยืน ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย คือ ชุมชนลุมพินีที่ผู้อยู่อาศัยทุกวัยอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยมีองค์ประกอบที่เหมาะสมมีคุณภาพชีวิตสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ดี รวมทั้งจิตสำ�นึกของการอยู่ร่วมกันดูแลห่วงใยและแบ่งปัน องค์กรที่ได้มีการพัฒนาคุณค่าแบบบูรณาการ ในการดำ�เนินงานทุกภาคส่วน เพื่อส่งมอบให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมและสังคม
  • 11. 9 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) พันธกิจต่อผู้มีส่วนได้เสียขององค์กรปี 2559 (G4-24) ผู้ถือหุ้น สร้างการเติบโตอย่างเหมาะสม เพื่อผลตอบแทนอย่างยั่งยืน ภายใต้การบริหารความเสี่ยง และหลักการธรรมาภิบาล ปิยมิตรทางธุรกิจ สร้างความเป็นหนึ่งเดียว ภายใต้วัฒนธรรมห่วงใยและแบ่งปัน และเติบโตร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ในผลตอบแทนที่เหมาะสม แรงงานก่อสร้าง ร่วมดูแลคุณภาพชีวิต ความปลอดภัย และชีวอนามัย ผ่านการสนับสนุนการดำ�เนินงาน ของปิยมิตรและการจัดกิจกรรม บ้านข้างเคียง รับผิดชอบ เยียวยา และดูแล ผลกระทบจากการดำ�เนินงาน รวมทั้งสร้างการมีส่วนร่วม และสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน พนักงาน เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความรู้ ความสามารถ คุณธรรม และความสัมพันธ์ เพื่อความสุข ความผูกพัน ความก้าวหน้ามั่นคง ผ่านวิถีแอล.พี.เอ็น. และสถาบันแอล.พี.เอ็น. ภายใต้วัฒนธรรมห่วงใย และแบ่งปันของ “องค์กรแห่งคุณค่า” สิ่งแวดล้อมและสังคม ส่งเสริมและมีส่วนร่วมในจิตสำ�นึก รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ทั้งภายในกระบวนการ นอกกระบวนการ และอิงกระบวนการ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ลูกค้า สร้างโอกาสในการมีบ้านหลังแรก ในราคาที่สามารถเป็นเจ้าของได้ และส่งมอบคุณค่าผลิตภัณฑ์และ คุณค่าบริการ รวมทั้งบริหาร ประสบการณ์ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่น ในแบรนด์ “ลุมพินี” ผู้อยู่อาศัย สร้างสรรค์และส่งมอบ “ชุมชนน่าอยู่” ที่จะนำ�ไปสู่ ความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัย ของคนทุกวัย
  • 12. 10 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 ความยั่งยืน ระดับนโยบาย SUSTAINABLE POLICY 1 P.16 P.20 P.24 P.26 P.28 LPN กับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน 10 ห่วงโซ่คุณค่า LPN ตารางประเด็นสำ�คัญด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน แนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย เป้าหมายเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
  • 13. 11 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) หลักคิดในด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ถูกรวบรวมและกลั่นกรองเป็นองค์ความรู้ภายในองค์กร รวมทั้งเป็นแนวทางที่ทุกภาคส่วนปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งแนวคิดต่างๆ เหล่านี้จะเป็นพื้นฐานที่สำ�คัญและมั่นคง เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนองค์กรในการกำ�หนดกลยุทธ์องค์กรและ กลยุทธ์ปฏิบัติการ พื้นฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืนบนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง บริษัทดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบและเป็นธรรม โดยการสร้างสมดุลระหว่างผลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนได้เสียที่ เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้ความสำ�คัญกับกระบวนการดำ�เนินงานภายใน เพื่อให้องค์กรมีความแข็งแกร่ง ควบคู่ไปกับการพัฒนาบุคลากร ภายหลัง จากการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจปี2540 บริษัทมุ่งเน้นการพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กรและสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ทั้งยังรักษา การเติบโตให้เป็นไปอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ยังได้นำ�เอาหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาปรับใช้เป็น แนวทางการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท 3 ห่วง ได้แก่ 2 เงื่อนไข ได้แก่ อัตราการเติบโตที่เหมาะสม โดยมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากร ภายใน (In-house) ผลกำ�ไรที่พอประมาณ ไม่เอารัดเอาเปรียบ และไม่เบียดเบียน ลูกค้าและสังคม คำ�นึงถึงผลกระทบจากกระบวนการดำ�เนินธุรกิจทุกมิติ กำ�หนดให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และแบ่งปันองค์ความรู้ โดยมี สถาบันแอล.พี.เอ็น. เป็นแกนกลางในการขับเคลื่อน กำ�หนดให้ “คุณธรรม” เป็นหนึ่งในค่านิยมองค์กร(CorporateValue) เพื่อนำ�ไปสู่การเป็นบรรษัทภิบาล พัฒนาที่พักอาศัยสำ�หรับกลุ่มเป้าหมายรายได้ระดับกลางถึง กลาง-ล่าง คำ�นึงถึงคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยด้วยแนวคิด “ชุมชนน่าอยู่” สร้างความสมดุลของผลตอบแทนของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากร กำ�หนดกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับทุกสภาวะของธุรกิจ ให้ความสำ�คัญกับการบริหารความเสี่ยง 1. ความพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล 3. การสร้างภูมิคุ้มกัน มีเหตุผล 2 ความยั่งยืนระดับนโยบาย สร้าง ภูมิคุ้มกัน 3พอประมาณ 1 นโยบายองค์กร ระดับกลยุทธ์ ระดับปฏิบัติการ ความรู้ คุณธรรม 1. ความรู้ 2. คุณธรรม
  • 14. 12 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 หลักธรรมาภิบาล (G4-56) หลักธรรมาภิบาล คือ หลักการปกครอง การบริหารจัดการ ควบคุมดูแลกิจการต่างๆ ด้วยความรับผิดชอบ ให้เป็นไปตามครรลองธรรม ซึ่งธรรมที่ใช้ในการบริหารงานนี้ มีความหมายรวมถึง ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้องชอบธรรมที่พึงประพฤติปฏิบัติ เช่น ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์กรภายนอก เป็นต้น โดยหลักธรรมาภิบาล เป็นหลักการที่นำ�มาใช้ บริหารงานในปัจจุบันอย่างแพร่หลาย เพื่อสร้างและส่งเสริมองค์กรให้มีศักยภาพและประสิทธิภาพ นอกจากนั้น ยังสร้างศรัทธาและเชื่อมั่นใน องค์กรนั้นๆ อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปรัชญา 20 Miles March การบริหารความเสี่ยง (G4-2) การก้าวเดินอย่างต่อเนื่อง คือ หนึ่งในวิถีปฏิบัติของบริษัท ที่จะไม่หยุดที่จะก้าวไปข้างหน้า โดยรักษาระยะ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน ไม่ว่าช่วงเวลานั้นจะมีอุปสรรคหรือเป็น ช่วงเวลาแห่งโอกาส ดั่งหลักปรัชญา 20 Miles March ที่เน้นการก้าวเดินอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทได้นำ�หลักการดังกล่าวมากำ�หนดเป้าหมายการเติบโตและการพัฒนาอย่าง ชัดเจนในทุกหน่วยงานและในทุกกระบวนการของการทำ�งาน เพื่อให้สามารถวัดผลได้ และปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง การบริหารจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ควบคุมได้ในทุกมิติ และคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย ที่มีความสำ�คัญต่อการเติบโตของธุรกิจทุกภาคส่วน เพื่อประโยชน์ในระยะยาวทั้งใน ปัจจุบันและอนาคต กำ�หนดกรอบของการตอบแทนตามสถานการณ์ของการแข่งขันและ ผลประกอบการ และลดความเสี่ยงด้วยการสำ�รองเงินทุนเพื่อรักษาสภาพคล่องของบริษัท โดยทั้งหมดของการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทนั้น จะมีพื้นฐานของความพอเพียง ความสมดุล และการบริหารความเสี่ยง เน้นการพัฒนา องค์ความรู้ เพิ่มประสิทธิภาพการดำ�เนินงานและความสามารถของบุคลากรภายในองค์กร และสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกับปิยมิตรอย่างที่ ได้ทำ�มาอย่างต่อเนื่องตลอดการดำ�เนินงานของบริษัท
  • 15. 13 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น (G4-SO4) ในฐานะผู้พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐหลายส่วนงาน บริษัทมี นโยบายในการต่อต้านการคอรัปชั่นโดยกำ�หนดให้การดำ�เนินงานทุกกระบวนการอยู่ ในขอบเขตของกฎหมายอย่างเคร่งครัด และได้บรรจุเรื่องความเสี่ยงต่อระบบราชการ (Compliance Risk) เข้าเป็นส่วนหนึ่งของแผนธุรกิจ และมีการติดตามธุรกรรมกับทาง ราชการอย่างสมํ่าเสมอ นอกจากนั้น ยังได้กำ�หนดให้บุคลากรทุกคนปฏิบัติตามกฎหมาย จรรณยาบรรณของบริษัท (Code of Conduct) และนโยบายต่อต้านคอรัปชั่น อย่าง เคร่งครัด เพื่อสร้างความรับผิดชอบและคุณธรรม รวมทั้งกำ�หนดให้คุณธรรม (Integrity) เป็นค่านิยมหลักของบุคลากรอีกด้วย โดยบุคลากรทุกคนต้องได้รับทราบแนวทางปฏิบัติ ด้านการต่อต้านการคอรัปชั่นและการอบรมเรื่องค่านิยมองค์กรดังกล่าว แนวทางในการติดตามและประเมินผลการปฎิบัติ ตามนโยบายการต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น การประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริต บริษัทมีวิธีการเพื่อให้พนักงานในองค์กรร่วมกันปฎิบัติตามนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น โดยใช้วิธีการหลายช่องทางด้วยกัน เช่น การอบรมให้ความรู้แก่พนักงานทุกระดับและบรรจุเป็นหลักสูตรของการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ โดยทุกครั้งจะต้องมีการทดสอบความรู้ จริงหลังจากการอบรม นอกจากนั้น บริษัทได้มีการประเมินผลการดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้อง ประเมินความเสี่ยงด้านการคอรัปชั่น และทบทวน มาตรการต่อต้านการคอรัปชั่นอย่างสม่ำ�เสมอ โดยมีการสื่อสารไปยังผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันเหตุการณ์ทุจริต ที่อาจเกิดขึ้นภายในองค์กร ทั้งนี้ นโยบายต่อต้านคอรัปชั่นกำ�หนดให้พนักงานทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบเพื่อให้กระบวนการดำ�เนินงานเป็น ไปตามมาตรการต่อต้านการคอรัปชั่น และได้พัฒนาเครื่องมือช่วยลดโอกาสในการเกิดคอรัปชั่น ผ่านการประกาศโดยเปิดเผยให้ทุกคนใน องค์กรได้รับรู้ และการจัดช่องทางในการร้องเรียนเมื่อพบเห็นการกระทำ�ทุจริต หรือการกระทำ�ผิดต่อระเบียบข้อบังคับ บริษัทกำ�หนดให้มีการประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริตของทุกฝ่าย โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. 2. 3. การประเมินความเสี่ยงและการรายงานผล : โดยการกำ�หนดให้ทุกฝ่ายในองค์กรร่วมกันประเมินความเสี่ยงในฝ่ายของตนเอง ไตรมาส ละ 1 ครั้ง หลังจากนั้นให้รวบรวมและนำ�เสนอความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อพิจารณา การจัดการความเสี่ยง : คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะร่วมกันประเมิน วิเคราะห์ และจัดลำ�ดับความรุนแรงของความเสี่ยง เพื่อกำ�หนด แนวทางและกลยุทธ์ในการจัดการความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาและให้ ความเห็นชอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง การสื่อสาร : จัดให้มีการสื่อสารเรื่องการจัดการความเสี่ยง เพื่อให้ทุกฝ่ายได้รับทราบและปฎิบัติในทุกกรณี
  • 16. 14 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน จากการที่บริษัทได้เผชิญวิกฤติทางเศรษฐกิจในปี 2540 และสามารถผ่านพ้นสถานการณ์มาได้นั้น นอกจากจะสร้างตัวตนและค่านิยมของ องค์กรที่ได้จากประสบการณ์ในช่วงดังกล่าว ยังนับเป็นจุดเริ่มต้นของการดำ�เนินงานด้วยการให้ความสำ�คัญกับการเติบโตอย่างยั่งยืนควบคู่ ไปกับการบริหารความเสี่ยง ซึ่งเป็นหัวใจสำ�คัญที่ทุกภาคส่วนต่างยึดถือและนำ�มาปฏิบัติ รวมทั้งได้สร้างความแข็งแกร่งให้แก่ห่วงโซ่อุปทาน ของบริษัท ความร่วมมือร่วมใจในยามที่ประสบปัญหา ได้พัฒนาความสัมพันธ์จาก “คู่ค้า” สู่การเป็น “พันธมิตร” ที่พร้อมที่จะดูแลเกื้อกูลกัน ความเชื่อมั่นและไว้เนื้อเชื่อใจ ส่งเสริมให้เกิดความผูกพัน และได้พัฒนามาเป็น “ปิยมิตร” โดยกำ�หนดหลักการในการพัฒนาและเติบโตร่วม กัน จนมาเป็น “LPN Team” ในปัจจุบัน จากความสัมพันธ์ที่มีมากว่า 20 ปี ทำ�ให้การทำ�งานร่วมกันระหว่างบริษัทและ “LPN Team” นั้น เสมือนหนึ่งเป็นทีมงานเดียวกัน การทำ�งานที่เปรียบเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของกันและกันนี้เอง ทำ�ให้ทุกกระบวนการทำ�งานตลอดแนวห่วงโซ่อุปทานของบริษัท เกิดความ ร่วมมือร่วมใจระหว่างกัน เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายสูงสุดในการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานขององค์กร ซึ่งก็คือการพัฒนา รับผิดชอบและเติบโต ไปด้วยกัน นอกจากนี้ ตลอดระยะเวลาการดำ�เนินงาน จะมีการสื่อสารและรายงานข้อมูลผ่านช่องทางการสื่อสารแบบสองทาง(Two-WayCommunication) ระหว่างบุคลากรของบริษัทและบุคลากรของ LPN Team ผ่านช่องทาง Whatsapp อย่างสม่ำ�เสมอ ส่งผลให้ทุกหน่วยงานหรือทุกองค์กรที่มี ส่วนร่วมสามารถแสดงความเห็นร่วมกันและเกิดการเรียนรู้ ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทำ�งาน กระบวนการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานของบริษัท มีดังนี้ กำ�หนดเป้าหมายในการทำ�งานร่วมกันในแต่ละปี โดยภายหลัง จากที่มีการทำ�แผนธุรกิจของบริษัท จะมีการประชุมร่วมกับ ผู้บริหารระดับสูงของLPNTeam กว่า30 บริษัท เพื่อรับทราบ และวางแผนการทำ�งานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุตามความคาดหวัง ของการดำ�เนินงานในปีนั้นๆ ระบุและพิจารณาผลกระทบที่อาจเกิดจากการทำ�งานร่วมกัน เพื่อวางแผนป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น สร้างการมีส่วนร่วมของแต่ละองค์กรในการพัฒนาโครงการนั้นๆ ปฏิบัติตามแผนงานที่กำ�หนดไว้ จัดให้มีการประชุมรายเดือน เพื่อติดตามงาน ประเมินผลและ วิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน เพื่อปรับปรุงการดำ�เนินงาน หรือปรับ แผนการดำ�เนินงานตามความเหมาะสมและสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเปลี่ยนแปลงไป อันจะนำ�ไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำ�งานตลอดห่วงโซ่อุปทาน 1. 2. 3. 4 5. ASSESS ENGA GE IMP LEMENT MEASURE COMMIT COMMUNICATE C OMMUNICATE
  • 17. 15 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) การแบ่งปันและถ่ายทอดองค์ความรู้ทั้งในด้านการทำ�งานและการ บริหารจัดการองค์กร ถือเป็นอีกหนึ่งแผนงานของบริษัทที่จะช่วย ให้เกิดการเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืนกับ LPN Team จึงเป็น ที่มาของการจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้แก่บุคลากรของ LPN Team ผ่านการจัดอบรม สัมมนา และดูงาน โดยสถาบัน แอล.พี.เอ็น. และวิทยากรภายในของบริษัท รวมทั้งได้สนับสนุนให้ LPNTeam คิดค้นนวัตกรรมที่จะช่วยปรับปรุงการดำ�เนินงาน ตาม กลยุทธ์Q-C-S-E-S+P ซึ่งได้จัดประกวดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 โดยในปี 2558 นี้ มีการส่งนวัตกรรมในการก่อสร้างเข้าประกวด ทั้งสิ้น 11 นวัตกรรม การกำ�หนดเป้าหมายการเติบโตยังคงต้องพิจารณาความเสี่ยงและ ความเป็นไปได้ร่วมกับ LPN Team เนื่องจากบางบริษัทอาจจะยัง มีศักยภาพไม่เพียงพอที่จะดำ�เนินงานได้ตามเป้าหมายที่บริษัท กำ�หนด อีกทั้งการมีห่วงโซ่อุปทานที่สมบูรณ์แบบ ทำ�ให้ต้องมีการ ชี้แจงและสื่อสารกันตลอด ทั้งระหว่างบริษัทและ LPN Team และ ระหว่าง LPN Team ด้วยกันเอง เพื่อให้มีทิศทางและแนวทาง เดียวกัน นอกจากนั้น จากการที่ปัจจุบันสังคมมีความตื่นตัวต่อ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ทำ�ให้บริษัทอาจเสื่อมเสียชื่อเสียงจาก การดำ�เนินงานของ LPN Team ในฐานะผู้ว่าจ้าง บริษัทจึงได้ ถ่ายทอดแนวคิดและแนวทางการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อสร้างจิตสำ�นึกและการมีส่วนร่วม จาก LPN Team รวมทั้งได้ร่วมกันกำ�หนดมาตรฐานการดำ�เนินงาน ทั้งในด้านการออกแบบและการบริหารโครงการ และมีหน่วยงาน คอยตรวจสอบ ดูแลและปรับปรุงการทำ�งานอย่างใกล้ชิด การพัฒนาและฝึกอบรม LPN Team ความเสี่ยงด้านห่วงโซ่อุปทาน (G4-EN33) LPN ได้จัดประกวด นวัตกรรมที่ช่วยปรับปรุง การดำ�เนินงาน ร่วมกับ LPN Team ตามกลยุทธ์ Q-C-S-E-S+P
  • 18. 16 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 PROFIT ECONOMY PEOPLE SOCIETY PLANET ENVIRONMENT STAFF LABORS NEIGHBORS CUSTOMERS SHAREHOLDERS ENVIRONMENTRESIDENTS FINANCIAL MANAGEMENTMARKETING MANAGEMENT DESIGN CONCEPT บร�หารชุมชน COMMUNITY MANAGEMENT ENTERPRISE CONSTRUCTION PROCESS TRIPLE BOTTOM LINE 8 STAKEHOLDERS 6 GREEN LPN 3P 6G 8S SUPPLY CHAIN LPN กับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน SUSTAINABLE DEVELOPMENT
  • 19. 17 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทนําหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Triple Bottom Line) ที่ให้ความสําคัญกับ 3 องค์ประกอบสุดท้าย ด้านเศรษฐกิจ สังคมและ สิ่งแวดล้อม เป็นแนวทางในการกําหนดเป้าหมายการดําเนินงาน ภายใต้กลยุทธ์ 6 GREEN LPN ที่รับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้น กับผู้มีส่วนได้เสียทั้ง 8 กลุ่ม ใน 10 กระบวนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อรักษาสมดุลและสร้างการเติบโตที่มั่นคง โดยกําหนดเป้าหมาย สุดท้ายของการดําเนินธุรกิจทั้ง 3 องค์ประกอบ ดังนี้ TRIPLE BOTTOM LINE ECONOMY PROFIT เป้าหมายในเชิงเศรษฐกิจที่สำ�คัญของ บริษัทคือการสร้างสมดุลของผลตอบแทน หรือกำ�ไรในการดำ�เนินงานที่พอประมาณ และต่อเนื่อง บนพื้นฐานของการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี มีความรับผิดชอบในการ ประกอบกิจการด้วยความโปร่งใสและเปิดเผย บริหารความเสี่ยงในระดับที่เหมาะสม รวมถึง คำ�นึงถึงการแบ่งปันผลตอบแทนไปสู่ผู้มี ส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ENVIRONMENT PLANET ในฐานะผู้ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ที่มีบทบาทและสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในหลายมิติ บริษัทจึงให้ความสำ�คัญต่อการ รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยการลดผลกระทบ จากการพัฒนาโครงการในกระบวนการ (In Process) ตั้งแต่กระบวนการออกแบบ และกระบวนการก่อสร้าง รวมทั้งดูแล สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัย ในชุมชนและชุมชนข้างเคียงภายหลังการ ส่งมอบ SOCIETY PEOPLE บริษัทคำ�นึงอยู่เสมอว่า ธุรกิจนั้นจะเติบโต ได้ด้วยพื้นฐานของสังคมที่ดี มีคุณภาพ มีความปลอดภัย การรับผิดชอบต่อสังคม ของบริษัทจึงไม่ได้จำ�กัดอยู่เฉพาะบุคลากร ภายในเท่านั้น แต่ยังคำ�นึงถึงสังคมภายนอก คู่ค้า ลูกค้า และผู้พักอาศัยในโครงการ รวมถึงชุมชนข้างเคียง (เพื่อนบ้าน) แรงงาน ก่อสร้าง ตลอดจนสภาพสังคมโดยรวมของ ประเทศ ECONOMY PROFIT ENVIRONMENT PLANET SOCIETY PEOPLE 3P
  • 20. 18 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 GreenFinancial Management การกำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโต ขององค์กรให้เหมาะสม GreenCommunity Management การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิต ของผู้อยู่อาศัยในโครงการหลังส่งมอบ Green Enterprise การดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญกับ การบริหารจัดการและทุนมนุษย์ Green Marketing Management การตลาดที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง Green Design Concept การออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม Green Construction Process การบริหารจัดการผลกระทบที่มีผลต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการ ก่อสร้าง 1 4 2 5 3 6 ENTERPRISE MARKETING MANAGEMENT DESIGN CONCEPT CONSTRUCTION PROCESS FINANCIAL MANAGEMENT บร�หารชุมชน COMMUNITY MANAGEMENT 6 GREEN LPN 6G ตลอดระยะเวลากว่า 26 ปีของการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างจริงจัง ในทุกกระบวนการ ก่อให้เกิดการพัฒนาแนวคิด 6 GREEN LPN ที่กลั่นกรองจากประสบการณ์การพัฒนา อสังหาริมทรัพย์และการบริหารชุมชน เพื่อเป็นหลักปฏิบัติในการสร้างสมดุลอย่างยั่งยืนแก่ผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่ม ปัจจุบันแนวคิด 6 GREEN LPN ครอบคลุมความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมทั้งหมด 6 ประการ ได้แก่
  • 21. 19 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) หมายถึง ผู้ถือหุ้นของบริษัท ทั้งในฐานะบริษัท กองทุน และ บุคคล ที่ได้รับผลตอบแทนจาก การดำ�เนินงาน ซึ่งให้ความสำ�คัญ กับการกำ�กับดูแลกิจการตาม หลักธรรมาภิบาล และความ รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคม หมายถึง ผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ ติดหรือใกล้กับโครงการที่กำ�ลัง ดำ�เนินงานก่อสร้างของบริษัท ซึ่งได้รับผลกระทบตั้งแต่เริ่ม พัฒนาโครงการ จนถึงผลกระทบ จากการอยู่อาศัยภายหลัง การส่งมอบโครงการ หมายถึง ผู้ที่ทำ�งานให้แก่ บริษัท ช่วยขับเคลื่อนให้ การดำ�เนินงานของบริษัท ก้าวไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน โดยหมายรวมถึงพนักงาน ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ปฏิบัติการจนถึงระดับบริหาร หมายถึง ผู้ที่อยู่อาศัยใน โครงการที่ได้ส่งมอบแล้วของ บริษัท ไม่ว่าจะในฐานะลูกค้าที่ ซื้อห้องชุดในโครงการ หรือผู้ที่ เช่าพักอาศัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของชุมชนที่บริษัทให้การดูแล หมายถึง ผู้ที่ให้ความสนใจ ห้องชุดของบริษัทและได้ ดำ�เนินการจองซื้อและชำ�ระเงิน ค่าผ่อนดาวน์ ซึ่งในอนาคต เมื่อโครงการพัฒนาเสร็จ สมบูรณ์ ลูกค้าจะพัฒนาไปสู่ การเป็นผู้อยู่อาศัย หมายถึง แรงงานของ LPN Team (ปิยมิตร) ที่รับจ้าง ทำ�งานก่อสร้างโครงการให้ บริษัท ทั้งแรงงานที่มีสัญชาติ ไทยและแรงงานต่างด้าว หมายถึง คู่ค้าหรือปิยมิตร ผู้เข้ามามีส่วนร่วมใน กระบวนการออกแบบ วางผังโครงการ และการก่อสร้าง ของบริษัท เสมือนหนึ่งเป็น พนักงาน In-house ของบริษัท เพื่อให้การบริหารโครงการเป็น ไปตามเป้าหมายที่ได้วางไว้ หมายถึง องค์ประกอบของ ความยั่งยืนที่เป็นพื้นฐาน ในการประกอบกิจการ ซึ่งธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ส่งผล กระทบโดยตรง บริษัทจึงมุ่ง เน้นการดูแลและลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมโดยรอบบริเวณ โครงการเป็นสำ�คัญ ผู้ถือหุ้น บ้านข้างเคียง พนักงาน ผู้อยู่อาศัย ลูกค้า แรงงานก่อสร้าง LPN TEAM สิ่งแวดล้อม 1 5 2 6 3 7 4 8 8 STAKEHOLDERS (G4-25) 8S บริษัทสามารถระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลัก (First Tier) ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานในกระบวนการต่างๆ โดยพิจารณาจากการประเมินระดับความเกี่ยวข้องของผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งในด้านความสำ�คัญที่มีผลต่อบริษัท และการดำ�เนินงาน และผลกระทบที่ได้รับจากการดำ�เนินงานของบริษัท เพื่อให้สามารถระบุความสำ�คัญ วางกลยุทธ์ในการสร้างการมีส่วนร่วม และกำ�หนดกรอบการดำ�เนินงานเพื่อลดผลกระทบที่มีความสำ�คัญแก่ ผู้มีส่วนได้เสีย โดยกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลักขององค์กร แบ่งออกเป็น 8 กลุ่มดังนี้
  • 22. 20 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 พนักงาน ผูบร�หาร การเลือกทำเล 1 2 การซ�้อที่ดิน 9 การเขาพักอาศัย LPN องคกรคุณคา ผูอยูอาศัย แมบาน รปภ. FBLES+P บร�หารชุมชน นิติบุคคล ชุมชนนาอยู การบร�หารชุมชน 10 10 ห่วงโซ่คุณค่า LPN10P 10 PROCESSES (G4-12)
  • 23. 21 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) การออกแบบโครงการ การบร�หารจัดการทางการเง�น 4 6 การบร�หาร ประสบการณ ลูกคา 8 การสงมอบหองชุด ผูออกแบบหนวยงานราชการ EIA APPROVED ลูกคา ผูถือหุน ลูกคา บานขางเคียง คนงานกอสราง LPN TEAM SAFETY FIRST การบร�หารโครงการ 7 การบร�หาร การตลาด 5
  • 24. 22 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 FINANCIAL MANAGEMENTDESIGN CONCEPT วางแนวคิดและผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับ การพัฒนาโดยมีแนวคิด 2 รูปแบบ ได้แก่ โครงการนำ�ร่อง (Pilot Project) คือ การ พัฒนาโครงการในทำ�เลใหม่ๆ ที่ยังไม่มี คู่แข่ง หรือทำ�เล Blue Ocean Location และโครงการต่อเนื่อง (Expanded Project) คือการขยายการพัฒนาโครงการในทำ�เล ที่ประสบความสำ�เร็จ แต่ยังคงมีความ ต้องการที่พักอาศัยอยู่ ผู้บริหารจะตัดสินใจซื้อที่ดินโดยพิจารณา จากประสบการณ์และวิสัยทัศน์ รวมทั้ง ข้อมูลของสำ�นักวิจัยและพัฒนา (R&D) และฝ่ายการตลาด (Marketing) ที่ศึกษา อุปสงค์ อุปทาน และความเป็นไปได้ใน การพัฒนาโครงการ (Feasibility) เพื่อให้โครงการเหมาะสมสอดคล้องกับ กลยุทธ์องค์กรและตามความต้องการ ของลูกค้า ออกแบบและวางผังโครงการตาม LPN Green Standard Checklist ซึ่งบริษัทพัฒนาขึ้นให้สอดคล้องกับ มาตรฐานอาคารเขียว (Green Building) ของสหรัฐอเมริกา (LEED-The Leadership in Energy and Environment Design) โดยพิจารณาผลกระทบในทุกด้าน ต่อผู้มีส่วนได้เสีย เริ่มตั้งแต่การกำ�หนดการเติบโตและ ผลตอบแทนของผู้มีส่วนได้เสียให้สอดคล้อง กับเป้าหมายองค์กร (Business Plan) ในแต่ละปี จัดทำ�ต้นทุนการก่อสร้างและ กำ�ไรรายโครงการให้เหมาะสม (Profit and Loss) และจัดทำ�งบการเงินที่ถูกต้อง และเชื่อถือได้ โดยทุกขั้นตอนเน้นที่ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ไม่มีวาระ ซ่อนเร้น และมีการบริหารความเสี่ยง ทางการเงินอย่างสม่ำ�เสมอ การเลือกทำ�เล การซื้อที่ดิน การออกแบบ โครงการ การบริหารจัดการ ทางการเงิน ไม่เพียงแต่ตั้งปณิธานในการเป็น “องค์กรคุณค่า” ที่ให้ความสำ�คัญกับการ บริหารจัดการและทุนมนุษย์ บริษัทยังคำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ เสียทุกกลุ่มในทุกกระบวนการดำ�เนินงาน ซึ่งโดยทั่วไป ความรับผิดชอบของ บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มักจะสิ้นสุดที่การส่งมอบผลิตภัณฑ์หรือห้อง ชุดแก่ลูกค้า แต่ในทางกลับกัน บริษัทเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการดูแล คุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยในโครงการ ซึ่งไว้วางใจในการเลือกซื้อห้องชุด ภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี” จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาแนวคิดการบริการ หลังการขาย “ชุมชนน่าอยู่” ที่ต่อยอดการบริหารอาคารสู่การบริหารชุมชน มากว่า 20 ปี ทำ�ให้ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องของบริษัท ในกระบวนการดำ�เนินธุรกิจนั้น เริ่มตั้งแต่ระดับนโยบายในการบริหาร จัดการภายในองค์กรไปจนถึง 10 กระบวนการหลักในการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ของบริษัท อันได้แก่ 1 2 3 4 10P 10 ห่วงโซ่คุณค่า LPN 10 PROCESSES
  • 25. 23 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) บร�หารชุมชน MARKETING MANAGEMENT CONSTRUCTION PROCESS COMMUNITY MANAGEMENT ยึดหลัก “Customer Centric” หรือการ ให้ความสำ�คัญกับลูกค้า ด้วยนโยบายใน การสร้างบ้านหลังแรกให้แก่ผู้ที่ยังไม่มี บ้าน เป็นการคืนกำ�ไรให้แก่ลูกค้าและ สังคม นอกจากนั้น ยังให้ความสำ�คัญ กับการเคารพสิทธิของผู้บริโภค และ การดำ�เนินงานตามสัญญาที่ให้ไว้กับลูกค้า การตรวจคุณภาพมาตรฐานของห้องชุด และพื้นที่ส่วนกลางก่อนการส่งมอบ เพื่อ “ชุมชนน่าอยู่” ที่สมบูรณ์แบบ มีความปลอดภัยและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ พร้อมใช้งาน นอกจากนั้น ยังให้บริการ ลูกค้าในการโอนกรรมสิทธิ์ เพื่ออำ�นวย ความสะดวก ความเชื่อมั่นในแบรนด์เป็นหัวใจสำ�คัญ ในการบริหารประสบการณ์ลูกค้า โดย ในทุกจุดสัมผัส (Touch Point) จะมีการ กำ�หนดมาตรฐานการบริการ รวมถึง เปิดให้มีช่องทางสื่อสารต่างๆ ที่ลูกค้า สามารถสะท้อนความคิดเห็นกลับมายัง บริษัทได้ เพื่อรับฟังและปรับปรุงบริการ การอยู่อาศัยร่วมกันของคนหมู่มาก จำ�เป็นต้องมีข้อตกลงและกฎระเบียบ ร่วมกัน เพื่อความเป็นระเบียบ และก่อนการเข้าพักอาศัย บริษัทได้มี การสื่อสารและทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับ นโยบายและทิศทางในการบริหารชุมชน ของบริษัท ตามแนวทาง “ชุมชนน่าอยู่” กับผู้อยู่อาศัยในชุมชน เพื่อให้เกิด การยอมรับและอยู่อาศัยร่วมกันอย่าง มีความสุข การก่อสร้างถือเป็นกระบวนการที่สร้าง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม มากที่สุด ผู้ประกอบการจึงควรมีความ รับผิดชอบ เพื่อลดความรุนแรงของปัญหา ที่อาจเกิดขึ้น จึงเป็นที่มาของกลยุทธ์การ บริหารโครงการ Q-C-S-E-S+P ของ บริษัท เพื่อให้เกิดมาตรฐานในการ ดำ�เนินงานร่วมกันของทุกภาคส่วน กลยุทธ์หลักที่สำ�คัญขององค์กร คือ การดูแลคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัย ภายใต้กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” ซึ่งไม่เพียงดูแลบริหารอาคาร แต่ยังให้ ความสำ�คัญกับการดูแลคุณภาพชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อมที่ดี และสร้างวัฒนธรรม การอยู่อาศัย “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” การให้ความสำ�คัญ กับลูกค้า การส่งมอบห้องชุด การบริหาร ประสบการณ์ลูกค้า การเข้าพักอาศัย การบริหาร โครงการ การบริหารชุมชน 5 8 6 9 7 10
  • 26. ตารางประเด็นสำ�คัญด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน (G4-19) 24 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 LPN TEAM พนักงาน ลูกค้า • พัฒนาอย่างยั่งยืน • ธรรมาภิบาลและการบริหาร ความเสี่ยง • ต่อต้านการทุจริต • คืนกำ�ไรสู่สังคมด้วยการ สนับสนุน “กิจการเพื่อสังคม” • กำ�ไรและเติบโตอย่างเหมาะสม • งบการเงินที่ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ • วินัยทางการเงิน • สื่อสารรายงานผลประกอบการ อย่างสม่ำ�เสมอ • กระจายงบประมาณจาก ผลประกอบการให้กับทุกภาคส่วน อย่างสมดุลและเหมาะสม • พัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน • เป็นหนึ่งเดียว (ONE LPN) • ผลตอบแทนที่เหมาะสม • บริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน • ถ่ายทอดและแบ่งปันองค์ความรู้ แก่บุคลากรของปิยมิตร เพื่อ พัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน • ค่านิยมองค์กร • องค์กรน่าอยู่ • องค์กรแห่งการเรียนรู้และเติบโต • ความสมดุลระหว่างการทำ�งาน และชีวิต • พัฒนาความรู้ความสามารถของ พนักงานให้ทันต่อการเติบโตของ ธุรกิจตามวิถีแอล.พี.เอ็น. • ค่านิยมองค์กร • องค์กรน่าอยู่ • องค์กรแห่งการเรียนรู้ และเติบโต • ความสมดุลระหว่างการทำ�งาน และชีวิต • สร้างความสุขในการทำ�งาน • ยกระดับการศึกษา เพื่อสร้าง โอกาสเติบโตในอาชีพการงาน • บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้ • การเลือกทำ�เลเชิงกลยุทธ์ • การเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ ด้วยสิ่งอำ�นวยความสะดวก ภายในโครงการ • การบริหารประสบการณ์ลูกค้า • ราคาที่สามารถเป็นเจ้าของได้ • การโฆษณาเชิงสร้างสรรค์ ไม่มีวาระซ่อนเร้น และไม่ โจมตีคู่แข่ง • การบริหารความพึงพอใจและ ข้อร้องเรียน GREEN ENTERPRISE GREEN FINANCIAL MANAGEMENT GREEN MARKETING MANAGEMENT GREEN CONSTRUCTION MANAGEMENT GREEN COMMUNITY MANAGEMENT CESR ACTIVITIES FROM CORPORATE ESR TO COMMUNITY ESR SOCIAL ENTERPRISE LPN ACADEMY GREEN DESIGN CONCEPT ผู้ถือหุ้น PEOPLEPROFIT
  • 27. OUT PROCESS IN PROCESS AS PROCESS 25 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ผู้อยู่อาศัย • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตามพฤติกรรมและวิถีชีวิต (Behaviour & Lifestyle) • การบริหารประสบการณ์ลูกค้า • การรับประกันคุณภาพห้องชุด • การบริหารความพึงพอใจและ ข้อร้องเรียน • สร้างการมีส่วนร่วมของ ผู้พักอาศัยในชุมชนลุมพินี ด้วย การสนับสนุนการจัดกิจกรรม เพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ของชมรมลุมพินีอาสา • ส่งมอบคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่าน การบริหารชุมชนภายใต้ กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับ คนทุกวัย” • สื่อสารแนวคิด “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” และสร้างเครือข่ายจิต อาสา เช่น กิจกรรมบริจาคโลหิต แรงงานก่อสร้าง บ้านข้างเคียง สิ่งแวดล้อม • ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ของแรงงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง • คุณภาพชีวิตและสุขอนามัยของ แรงงานก่อสร้าง • ค่าจ้างแรงงานที่เป็นธรรม • การพิจารณาผลกระทบ จากการออกแบบ • ให้ความสำ�คัญกับการ รับผิดชอบต่อผลกระทบ สิ่งแวดล้อมในกระบวนการ ผลิตและบริการ • การลดผลกระทบจากการ ก่อสร้าง ตามมาตรฐาน LPN Green Standard Checklist • บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมใน ชุมชนผ่านกิจกรรมตามแนวคิด GREEN CLEAN LEAN • การรับผิดชอบ เยียวยา และดูแล ผลกระทบจากการก่อสร้าง • การร่วมพัฒนาและปรับปรุง สภาพแวดล้อม และสาธารณูปโภค ของชุมชนโดยรอบ • การออกแบบอาคารที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมตาม มาตรฐาน LPN Green Standard Checklist • การใช้วัสดุและทรัพยากร อย่างประหยัดและเหมาะสม PEOPLE PLANET
  • 28. แนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย (G4-26, 27) 26 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 ผู้มีส่วนได้เสีย ประเด็นสำ�คัญทั่วไป ประเด็นสำ�คัญเฉพาะ ผู้ถือหุ้น • กำ�ไรและการเติบโตที่เหมาะสม • การบริหารความเสี่ยง • ธรรมาภิบาล • ความรับผิดชอบ • การลดผลกระทบในกระบวนการ นอกกระบวนการ และอิงกระบวนการ • สมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต • การเรียนรู้และเติบโต • ความสุขในการทำ�งาน • ค่านิยมองค์กร • การลดผลกระทบในกระบวนการก่อสร้าง • การสร้างความสัมพันธ์ • ความเชื่อมั่นในแบรนด์ • คุณค่าผลิตภัณฑ์ • สิทธิผู้บริโภค • การบริหารความพึงพอใจ • บ้านที่สามารถหาซื้อได้ • การสร้างการมีส่วนร่วม • คุณค่าผลิตภัณฑ์ • คุณค่าการบริการ - ชุมชนน่าอยู่ • สิทธิผู้บริโภค • การบริหารความพึงพอใจ • สมดุลของผลตอบแทน • พัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน • ความปลอดภัย • การดูแลคุณภาพชีวิตคนงานก่อสร้าง • สร้างการเติบโตและผลกำ�ไรอย่างเหมาะสม • รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม • สร้างความสมดุลของผลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม • ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล • บริหารจัดการความเสี่ยง • ต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น • เคารพในสิทธิของผู้ถือหุ้น • ดำ�เนินนโยบาย 6 GREEN LPN เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน • การลดผลกระทบจากการก่อสร้าง • การร่วมรณรงค์คัดแยกขยะในชุมชนที่บริหารจัดการ • ส่งเสริมการประหยัดพลังงาน • การบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า • การออกแบบโครงการเพื่อความยั่งยืน • สร้างจิตสำ�นึก CESR แก่ชุมชนที่บริหารจัดการ • สร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดีแก่สตรีด้อยโอกาส • แบ่งปันองค์ความรู้องค์กรสู่ภายนอกผ่านสถาบันแอล.พี.เอ็น. • สร้างสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต • การเรียนรู้และเติบโตในหน้าที่การงาน • องค์กรน่าอยู่ • สมรรถนะหลักไปสู่ค่านิยมองค์กร • ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม • ความเท่าเทียมและสิทธิขั้นพื้นฐาน • การป้องกันเสียง ฝุ่น และผลกระทบจากการก่อสร้าง • การรับฟังข้อเสนอแนะและแนวทางการทำ�งาน • การปฏิบัติตามรายงานวิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม • การออกแบบที่คำ�นึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่ • สร้างความเป็นหนึ่งเดียว • กำ�หนดแผนธุรกิจร่วมกัน • แบ่งปันองค์ความรู้ • ให้การสนับสนุนในการพัฒนาองค์กร • ส่งต่อจิตสำ�นึกในการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม • ความปลอดภัยในการทำ�งาน • ดูแลคุณภาพชีวิต ทั้งบ้านพักคนงานและสุขอนามัย • สิทธิและค่าตอบแทนขั้นพื้นฐาน • การปฏิบัติอย่างเท่าเทียม • บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้ • คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ • สร้างความพึงพอใจและบริหารข้อร้องเรียน • เคารพในสิทธิของผู้บริโภค • ราคาที่เป็นธรรม • คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ • สร้างความพึงพอใจและบริหารข้อร้องเรียน • เคารพในสิทธิของผู้บริโภค • สร้างวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกัน ดูแลห่วงใยและแบ่งปันกัน • สร้างการมีส่วนร่วมในกิจกรรม CESR • ส่งเสริมการเรียนรู้แก่เยาวชนที่อยู่อาศัยในโครงการ • เปิดโอกาสให้ชุมชนร่วมกำ�หนดแนวทางการบริหารจัดการ ลูกค้า ผู้อยู่อาศัย สิ่งแวดล้อมและสังคม LPN TEAM พนักงาน แรงงานก่อสร้าง บ้านข้างเคียง
  • 29. 27 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ความถี่ในการดำ�เนินการวิธีการสร้างการมีส่วนร่วม • รายงานประจำ�ปี และรายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน • การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น • จดหมายข่าวผู้ถือหุ้น • เยี่ยมชมโครงการ • การพบปะนักวิเคราะห์ • การพบปะนักลงทุนและผู้จัดการกองทุน • การรายงานความคืบหน้าโครงการ • 6 GREEN LPN • LPN Green Signature Project • QCSES+P • การประเมินความสุขในการทำ�งาน • สถาบันแอล.พี.เอ็น. • กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วม • ทีมงานพนักงานสัมพันธ์ • การประเมินผลการปฏิบัติงาน • เว็บไซต์ และอีเมล์ภายใน • การแบ่งปันความรู้จากผู้บริหาร • คณะกรรมการสวัสดิการ • Whatsapp • ประชาพิจารณ์ • เยี่ยมเยียน พบปะ พูดคุย • เพิ่มพื้นที่สีเขียว • ปรับปรุงพื้นที่ • การออกแบบที่คำ�นึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่ • กล่องรับเรื่องร้องเรียน • การประชุมปิยมิตร • การอบรมและแบ่งปันความรู้ • กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ • QCSES+P • กิจกรรมดูแลคุณภาพชีวิต • ตรวจสุขภาพ • การประชุมใหญ่สามัญเจ้าของร่วม • Mobile App • Call Center • กิจกรรมต่างๆ • การสำ�รวจความพึงพอใจ • Lumpini Family Day • เสวนากรรมการนิติฯ • Touch Point • การบริหารประสบการณ์ลูกค้า • การวิจัยทางการตลาด • www.lpn.co.th รายปี รายปี รายไตรมาส รายปี รายไตรมาส เป็นประจำ� เป็นประจำ� เป็นประจำ� เฉพาะกิจ เป็นประจำ� รายไตรมาส เป็นประจำ� เป็นประจำ� เฉพาะกิจ รายครี่งปี เป็นประจำ� เป็นประจำ� เฉพาะกิจ รายวัน เฉพาะกิจ รายวัน เป็นประจำ� เป็นประจำ� เป็นประจำ� รายสัปดาห์ รายเดือน รายเดือน รายไตรมาส รายวัน เฉพาะกิจ รายปี รายปี เป็นประจำ� รายวัน เฉพาะกิจ เป็นประจำ� รายปี รายปี เป็นประจำ� เป็นประจำ� เป็นประจำ� เป็นประจำ�