SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
วิชา ภาษาไทย
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
คําซ้อน
คําที่เกิดจากการนําคํามูลที่มีความหมาย
เหมือนกัน ใกล้เคียงกัน หรือตรงข้ามกันมาวางซ้อนกัน
แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่
๑. คําซ้อนเพื่อความหมาย คือ คํามูลที่มีความหมาย
เหมือนกันหรือใกล้เคียงกันหรือตรงข้ามกันมาวางชิด
กัน เช่น เสื่อสาด อ้วนพี แนะนํา ขัดขวาง ผิดชอบ
ชั่วดี ถูกผิด
๒. คําซ้อนเพื่อเสียง คือ นําคําที่มีเสียงคล้องจองกัน
มาซ้อนกันเพื่อให้ออกเสียงง่ายและไพเราะ เช่น
ท้อแท้ จริงจัง ตูมตาม ราบคาบ แร้นแค้น อ้างว้าง
ยกตัวอย่างคําซ้อนมา ๕ คํา
๑) .............................................
๒) .............................................
๓) .............................................
๔) .............................................
๕) .............................................
คําประสม
คือ คําที่สร้างจากคํามูลตั้งแต่สองคําขึ้นไป
เกิดเป็นคําใหม่ มีความหมายใหม่ แต่ยังมีเค้า
ของความหมายเดิม ส่วนมากมักเป็นการประสมคํา
ระหว่างคําไทยกับคําไทย แต่อาจมีคําประสมบางคํา
ที่ประสมระหว่างคําไทยกับคําภาษาอื่น เช่น
พ่อตา หมายถึง พ่อของภรรยา
พ่อ หมายถึง สามีของแม่ ตา หมายถึง พ่อของแม่
ยกตัวอย่างคําประสมมา ๕ คํา
๑) .............................................
๒) .............................................
๓) .............................................
๔) .............................................
๕) .............................................
ผู้จัดทํา นางสาวกรวรรณ นววงศ์วิวัฒน์
สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คําที่ใช้ในภาษาไทยดั้งเดิม ส่วนมากจะเป็นคําพยางค์
เดียว เช่น พี่น้อง เดือนดาว จอบไถ หมูหมา กิน นอน
ดี ชั่ว เป็นต้น มีสิ่งแปลกใหม่เพิ่มขึ้น ภาษาไทยก็จะต้อง
พัฒนาทั้งรูปคําและการเพิ่มจํานวนคํา เพื่อให้มีคําใช้ใน
การสื่อสารให้เพียงพอกับการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ
สิ่งของ และเหตุการณ์ต่างๆด้วยการสร้างคํายืมคํา
และเปลี่ยนแปลงรูปคําซึ่งจะมีรายละเอียดดังนี้
คํามูล คือ คํา ๆ เดียวที่มิได้ประสมกับคําอื่น อาจมี ๑
พยางค์ หรือหลายพยางค์ก็ได้ แต่เมื่อแยกพยางค์
แล้วแต่ละพยางค์ไม่มีความหมาย คําภาษาไทยที่ใช้มา
แต่เดิมส่วนใหญ่ เป็นคํามูลที่มีพยางค์เดียวโดด ๆ
คน มี ๑ พยางค์ คือ คน
สิงโต มี ๒ พยางค์ คือ สิง + โต
นาฬิกา มี ๓ พยางค์ คือ นา + ฬิ + กา
ทะมัดทะแมงมี ๔ พยางค์ คือ ทะ + มัด + ทะ + แมง
คําซ้ํา คือ การสร้างคําด้วยการนําคําที่มีเสียง
และความหมายเหมือนกันมาซ้ํากัน เพื่อเปลี่ยน
แปลงความหมายของคํา โดยใช้ไม้ยมก (ๆ) ต่อหลัง
คําท้ายที่ต้องการซ้ํา
ความหมายต่างไปจากคํามูลเดิม แต่ยังคงมี
เค้าของความหมายเดิม
- บอกพหูพจน์ เช่น เด็กๆ เล่นฟุตบอล หนุ่มๆ มากับ
สาวๆ
- บอกความไม่เจาะจง การจําแนกเป็นพวก และ
ความเป็นพหูพจน์ เช่นเชิญผู้ใหญ่ๆ ไปทางโน้น เด็กๆ
มาทางนี้
บอกความหมายใหม่ ไม่เนื่องกับ
ความหมายของคํามูลเดิม เช่น พื้นๆ (ธรรมดา)แบบสร้างคํา
มีส่วนประกอบ ๓ ส่วน เป็นอย่างน้อย
คือ สระ พยัญชนะและวรรณยุกต์ อย่างมากไม่
เกิน ๕ ส่วน คือ สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์
ตัวสะกด ตัวการันต์
คําซ้ํา
ยกตัวอย่างคําซ้ํามา ๕ คํา
๑) .............................................
๒) .............................................
๓) .............................................
๔) .............................................
๕) .............................................
การสร้างคําการสร้างคําการสร้างคํา
ยกตัวอย่างคํามูลมา ๕ คํา
๑) .............................................
๒) .............................................
๓) .............................................
๔) .............................................
๕) .............................................
คํามูล

More Related Content

What's hot

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sirisak Promtip
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1Mayuree Kung
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sudarat Makon
 

What's hot (20)

คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
วรรณศิลป์
วรรณศิลป์วรรณศิลป์
วรรณศิลป์
 

Similar to แผ่นพับการสร้างคำ

ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑panjit
 
หน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
หน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารหน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
หน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารpanjit
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
 

Similar to แผ่นพับการสร้างคำ (20)

ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
Parts of Speech 2
Parts of Speech 2Parts of Speech 2
Parts of Speech 2
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
หน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
หน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารหน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
หน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 

แผ่นพับการสร้างคำ

  • 1. วิชา ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ คําซ้อน คําที่เกิดจากการนําคํามูลที่มีความหมาย เหมือนกัน ใกล้เคียงกัน หรือตรงข้ามกันมาวางซ้อนกัน แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. คําซ้อนเพื่อความหมาย คือ คํามูลที่มีความหมาย เหมือนกันหรือใกล้เคียงกันหรือตรงข้ามกันมาวางชิด กัน เช่น เสื่อสาด อ้วนพี แนะนํา ขัดขวาง ผิดชอบ ชั่วดี ถูกผิด ๒. คําซ้อนเพื่อเสียง คือ นําคําที่มีเสียงคล้องจองกัน มาซ้อนกันเพื่อให้ออกเสียงง่ายและไพเราะ เช่น ท้อแท้ จริงจัง ตูมตาม ราบคาบ แร้นแค้น อ้างว้าง ยกตัวอย่างคําซ้อนมา ๕ คํา ๑) ............................................. ๒) ............................................. ๓) ............................................. ๔) ............................................. ๕) ............................................. คําประสม คือ คําที่สร้างจากคํามูลตั้งแต่สองคําขึ้นไป เกิดเป็นคําใหม่ มีความหมายใหม่ แต่ยังมีเค้า ของความหมายเดิม ส่วนมากมักเป็นการประสมคํา ระหว่างคําไทยกับคําไทย แต่อาจมีคําประสมบางคํา ที่ประสมระหว่างคําไทยกับคําภาษาอื่น เช่น พ่อตา หมายถึง พ่อของภรรยา พ่อ หมายถึง สามีของแม่ ตา หมายถึง พ่อของแม่ ยกตัวอย่างคําประสมมา ๕ คํา ๑) ............................................. ๒) ............................................. ๓) ............................................. ๔) ............................................. ๕) ............................................. ผู้จัดทํา นางสาวกรวรรณ นววงศ์วิวัฒน์ สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • 2. คําที่ใช้ในภาษาไทยดั้งเดิม ส่วนมากจะเป็นคําพยางค์ เดียว เช่น พี่น้อง เดือนดาว จอบไถ หมูหมา กิน นอน ดี ชั่ว เป็นต้น มีสิ่งแปลกใหม่เพิ่มขึ้น ภาษาไทยก็จะต้อง พัฒนาทั้งรูปคําและการเพิ่มจํานวนคํา เพื่อให้มีคําใช้ใน การสื่อสารให้เพียงพอกับการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ สิ่งของ และเหตุการณ์ต่างๆด้วยการสร้างคํายืมคํา และเปลี่ยนแปลงรูปคําซึ่งจะมีรายละเอียดดังนี้ คํามูล คือ คํา ๆ เดียวที่มิได้ประสมกับคําอื่น อาจมี ๑ พยางค์ หรือหลายพยางค์ก็ได้ แต่เมื่อแยกพยางค์ แล้วแต่ละพยางค์ไม่มีความหมาย คําภาษาไทยที่ใช้มา แต่เดิมส่วนใหญ่ เป็นคํามูลที่มีพยางค์เดียวโดด ๆ คน มี ๑ พยางค์ คือ คน สิงโต มี ๒ พยางค์ คือ สิง + โต นาฬิกา มี ๓ พยางค์ คือ นา + ฬิ + กา ทะมัดทะแมงมี ๔ พยางค์ คือ ทะ + มัด + ทะ + แมง คําซ้ํา คือ การสร้างคําด้วยการนําคําที่มีเสียง และความหมายเหมือนกันมาซ้ํากัน เพื่อเปลี่ยน แปลงความหมายของคํา โดยใช้ไม้ยมก (ๆ) ต่อหลัง คําท้ายที่ต้องการซ้ํา ความหมายต่างไปจากคํามูลเดิม แต่ยังคงมี เค้าของความหมายเดิม - บอกพหูพจน์ เช่น เด็กๆ เล่นฟุตบอล หนุ่มๆ มากับ สาวๆ - บอกความไม่เจาะจง การจําแนกเป็นพวก และ ความเป็นพหูพจน์ เช่นเชิญผู้ใหญ่ๆ ไปทางโน้น เด็กๆ มาทางนี้ บอกความหมายใหม่ ไม่เนื่องกับ ความหมายของคํามูลเดิม เช่น พื้นๆ (ธรรมดา)แบบสร้างคํา มีส่วนประกอบ ๓ ส่วน เป็นอย่างน้อย คือ สระ พยัญชนะและวรรณยุกต์ อย่างมากไม่ เกิน ๕ ส่วน คือ สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ ตัวสะกด ตัวการันต์ คําซ้ํา ยกตัวอย่างคําซ้ํามา ๕ คํา ๑) ............................................. ๒) ............................................. ๓) ............................................. ๔) ............................................. ๕) ............................................. การสร้างคําการสร้างคําการสร้างคํา ยกตัวอย่างคํามูลมา ๕ คํา ๑) ............................................. ๒) ............................................. ๓) ............................................. ๔) ............................................. ๕) ............................................. คํามูล