SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ทําไม ต้องตักบาตร
ตอบ เพราะเป็นการทําบุญอย่างหนึง ทีเรียกว่าทานมัย
การตักบาตรจัดเป็นทานมัย คือบุญทีเกิดจากการให้ปนสิงของั เป็นวิธีทําบุญ ๑ ใน ๑๐ ซึงหากย่น
ย่อวิธีทําบุญทัง ๑๐ ลง ก็จะมี ๓ วิธีใหญ่ๆ คือ ทาน ศีล ภาวนา ทานเป็นวิธีทําบุญทีสําคัญในระดับหนึง แต่
ต้องไม่ติดอยู่ในการให้อย่างเดียว ต้องฝึกทําบุญแบบศีลและภาวนาด้วย ทานเป็นบุญวิธีในเบืองต้นเท่านัน
ต้องก้าวไปสู่ระดับทีสูงขึน คือศีลและภาวนา
การตักบาตรมีมาตังแต่สมัยพุทธกาล มีพระวินัยหลายข้อทีกล่าวถึงชนิดของบาตร การใช้บาตร การ
รักษาดูแล รวมถึงการบิณฑบาตอยู่ด้วย ปจจุบันพระท่านบิณฑบาตก็เพราะรักษาพระวินัยไว้ เป็นกิจวัตรั
อย่างหนึงทีท่านต้องปฏิบัติ เนืองจากเป็นเครืองยังชีพให้อยู่รอด แม้พระพุทธเจ้าก็ทรงปฏิบัติ
การบิณฑบาตเป็นกิจวัตร ๑ ใน ๕ ของพระพุทธองค์ และเป็นพุทธจริยาวัตรทีพระพุทธเจ้าทุก
พระองค์ทรงปฏิบัติสืบมา พระสงฆ์ในฐานะเป็นพุทธบุตรต้องรักษากิจวัตรข้อนีอย่างเคร่งครัด
พุทธศาสนิกชนทีตักบาตรก็ถือว่าช่วยท่านรักษาพระวินัยอีกโสดหนึง ในฐานะสนับสนุนหรือเอือเฟือพระวินัย
ของท่าน ช่วยส่งเสริมวัตรปฏิบัตรของท่านให้สมบูรณ์ และทําหน้าทีทีพุทธบริษัท (อุบาสกอุบาสิกา) ควรทํา
คือการบํารุงรักษาพระศาสนา ไม่ใช่ปล่อยให้เป็นหน้าทีของพระฝายเดียว อาจมีข้อยกเว้นในถินทีไม่สะดวก่
ในการบิณฑบาต เช่น ในต่างประเทศ พระไม่ต้องปฏิบัติกิจข้อนีเป็นประจําทุกวัน หากจะมีก็เฉพาะใน
เทศกาลวันสําคัญทางศาสนาหรือวันสําคัญของชาติทีมีการตักบาตรในพิธีช่วงเช้า
อาจมีผู้สงสัยวา คําทีถูกต้องควรเรียกวา ตักบาตร หรือใสบาตร่ ่ ่
ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของคําว่าตักบาตร ว่า เอาของใส่บาตรพระ
และความหมายทีชาวพุทธรู้จัก ปฏิบัติเป็นประจํา ก็คือการตักข้าวสวยใส่ลงในบาตรพระ คํานีเป็นคําโบราณ
ทีเราคุ้นเคยกัน เช่น สุภาษิตทีว่า ตักบาตรอย่าถามพระ
ส่วนคําว่า ใส่บาตร สันนิษฐานว่าเป็นคําศัพท์ใหม่ทีวิวัฒนาการขึนตามยุคสมัย อาจกร่อนมาจากวลี
ว่า ตักข้าวใสบาตร่ เพือให้ง่ายในการใช้ จึงกร่อนเป็นตักบาตร ไปในทีสุด คือเอาเฉพาะคําแรกกับคําท้าย
ของวลี ‘ตักข้าวใส่บาตร’ มาใช้ เหมือนกับคําว่า ข้าวราดแกง ทีกร่อนมาจากวลี ‘ข้าวราดด้วยแกง’ เพราะ
ตัดวิภัตติ (คําว่า ด้วย) ออก นีคือเหตุผลทีว่า ทําไมไม่ใช้คําว่า แกงราดข้าว ก็เพราะวัฒนธรรมการใช้ภาษา
นันเอง
ทีผู้เขียนสันนิษฐานว่าคํานีกร่อนมาจากวลี ‘ตักข้าวใส่บาตร’ เพราะเดิมทีเราใช้ทัพพีตักข้าวจากขัน
จากถ้วยจาน หรือจากโถ ใส่ลงในบาตรพระ จากกิริยาดังกล่าวจึงเรียกติดปากว่า ตักบาตร แต่สมัยปจจุบันั มี
ข้าวถุงแทน ไม่ต้องใช้ทัพพีตักเหมือนแต่ก่อนแล้วกระมัง จึงเรียกการตักบาตรว่า ใสบาตร่ คือการหยิบวาง
ใส่บาตรนันเอง แต่ถ้าเราจะใช้ทังคําว่า ตักบาตรและใส่บาตร ผู้เขียนคิดว่า คงไม่ผิดอะไร
อีกเหตุผลหนึงทีน่าสนใจและอาจเป็นไปได้ แสงจันทร์ แสนสุภา ได้เขียนไว้ในคอลัมน์ ‘องค์ความรู้
ภาษาไทย’ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ว่า คําว่า ตัก เทียบกับคําเขมรว่า ฎาก่ แปลว่า วางลง ดังนัน เป็นไปได้ที
เรายืมคํานีมาจากภาษาเขมร ส่วนคําว่า บาตร ก็มีคําแปลอย่างเดียวกันกับคําว่า ตัก นันหมายความว่า ตัก
บาตร เป็นคําเดียว ประเภทคําผสม คือลูกครึงระหว่างกัมพูชากับอินเดีย เพราะคําว่า ตัก เป็นคําเขมร และ
คําว่า บาตร เป็นคําสันสกฤต ทังสองคํามีความหมายไม่แตกต่างกัน
เมือมองคําว่า ตักบาตร ในฐานะคําผสม ก็จะเห็นคําว่า ใส่บาตร เป็นเพียงวลี คือกลุ่มคําทียังไม่เป็น
ประโยคทีสมบูรณ์ เพราะมีเฉพาะกิริยา (ใส่) และกรรม (บาตร)
ทําไมต้องเขียนตางกันระหวางคําวา บาตร กับบณฑบาต่ ่ ่ ิ
เพราะรากศัพท์เดิมของภาษาทีเรายืมมาใช้ต่างกัน คําว่า บาตร เป็นคํายืมมาจากภาษาสันสกฤตว่า
ปาตฺระ (pātra) ภาษาบาลีใช้คําว่า ปตตะั (ตัวอย่าง พระอธิฐานใช้บาตรว่า อิมัง ปตตัง อะธิฏฐามิั ) เราเลือก
เอาคําสันสกฤตมาใช้แบบเปลียนแปลงรูปคําใหม่ กลายเป็นคําว่า บาตร แปลว่า ตกหรือถึง โดยความหมาย
คือ วัตถุทีรองรับสิงทีตกถึง
ส่วนคําว่า บิณฑบาต ไม่มี ร สะกด เพราะเป็นคํายืมมาจากคําบาลีว่า ปิณฑปาตะ แยกศัพท์เป็น
ปิณฑะ=ก้อนข้าว, ปาตะ=ตก, ถึง และเปลียนแปลงรูปคําเป็นบิณฑบาต แปลว่า การตกของก้อนข้าว หรือ
ก้อนข้าวทีตกลง
เมือทังสองเป็นคํายืมทีมาจากคนละภาษา จึงเขียนไม่เหมือนกัน
บณฑบาตกับบณิ ิ ฑจารกิ
โดยทัวไป บิณฑบาต หมายถึง อาหารทีพระท่านได้มาขณะออกโปรดสัตว์ เราจึงเรียกว่า อาหาร
บิณฑบาต การออกโปรดสัตว์ก็คือการออกรับบิณฑบาต แต่จริงๆ แล้ว เวลาทีท่านออกรับบิณฑบาต ภาษา
พระจะเรียกว่า บิณฑจาริก แปลว่า เทียวไปเพือก้อนข้าว ซึงมีข้อปฏิบัติในการออกรับบิณฑบาตนีว่า บิณฑ
จาริกวัตร ดังนัน จึงมีคําพูดว่า เทียวบิณฑบาต เพราะคําว่า จาริก แปลว่า เทียวไป
สรุปง่ายๆ คือ บณฑบาติ = อาหารทีอยู่ในบาตร หรือทีเราเรียกรวมว่า อาหารบิณฑบาต
บณฑจารกิ ิ = กิริยาทีพระอุ้มหรือสะพายบาตร เพือรับอาหาร หรือเรียกว่า ออกบิณฑบาตบ้าง
เทียวบิณฑบาตบ้าง
ตักบาตร = การถวายอาหารแด่พระ โดยวางลงในบาตร หรือเรียกว่า ใส่บาตร ก็มี
การตักบาตรมีนัยมากกวาทานมัย่
ผู้ศึกษาพุทธประวัติจะทราบเรืองราวการตักบาตรหรือเทียวบิณฑบาตของพระอย่างดี ยกตัวอย่าง
๑. ได้พบสงมงคลิ และทําบุญอยางอืน่
อุปติสสะปริพาชก ต่อมาออกบวชมีนามว่า พระสารีบุตร ได้รับยกย่องว่าเลิศกว่าภิกษุรูปอืนๆ ใน
ด้านมีปญญามาก และเป็นอัครสาวกเบืองขวาของพระพุทธเจ้า ท่านเข้ามาสู่บวรพระพุทธศั าสนา ก็เพราะ
เหตุการณ์ตอนเทียวบิณฑบาตของพระอัสสชิ ซึงเป็นพระอรหันต์องค์หนึงในปญจวัคคีย์ั
ขณะทีอุปติสสะเข้าสอบถามธรรมะจากพระอัสสชิ ก็เกิดศรัทธาและซาบซึงในอริยสัจ ๔ ทีพระอัสสชิ
แสดงโดยย่อว่า
เย ธัมมา เหตุปปะภะวา เตสัง เหตุ ตะถาคะโต (อาห)
เตสัญจะ โย นิโรโธ เอวัง วาที มะหาสะมะโณต ฯิ
วิ.ม.๔/๖๕/๗๔ (บาลีฉบับสยามรัฐ)
แปลว่า ธรรมเหลาใดเกดแตเหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแหงธรรมเหลานัน และความดับ่ ่ ่ ่ิ
แหงธรรมเหลานัน พระมหาสมณะมีปกตตรัสอยางนี่ ่ ่ิ ”
คําพูดสันๆ แต่ลึกซึงกินใจ ทําให้อุปติสสะได้ดวงตาเห็นธรรมว่า ยังกิญจ สิ ะมุทะยะธัมมัง
สัพพันตัง นโิ รธะธัมมัง (วิ.ม.๔/๖๖/๗๔ (บาลีฉบับสยามรัฐ)) แปลว่า สงใดสงหนึงมีความเกดขึนเป็นิ ิ ิ
ธรรมดา สงนันทังหมดมีความดับไปเป็นธรรมดาิ ขณะนันท่านได้ดวงตาเห็นธรรมขันตํา คือบรรลุเป็
พระโสดาบัน (หากได้ดวงตาเห็นธรรมขันสูง หมายถึงการบรรลุเป็นพระอนาคามี ตัวอย่างเช่น ภัททวัคคีย์
๓๐ ซึงมีบางท่านได้ดวงตาเห็นธรรมขันสูงคือเป็นพระอนาคามี ขณะฟงธรรมอนุปุพพิกถาและอริยสัจั ๔ จาก
พระพุทธเจ้า) จึงตัดสินใจออกบวชเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนาในทีสุด
ผู้ตักบาตรจึงได้ประสพสิงอันเป็นมงคล พระพุทธศาสนากล่าวถึงสิงมงคลไว้ ๓๘ ประการ ในทีนีอุป
ติสสะได้รับมงคลข้อสําคัญทีนําไปสู่มงคลข้ออืนๆ ก็คือข้อ สมณานัญจ ทัสสะนัง คือการพบเห็นสมณะ
จากนันก็มีโอกาสฟงธรรม สนทนาธรรมจากท่าน ยังได้บุญข้อั ธัมมัสสวนมัย คือบุญเกิดจากการฟงธรรมั
อีกทอดหนึง รวมถึงบุญประเภทอปจายนมัย (ทําบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม) ปัตตทานมัยิ (ทําบุญ
ด้วยการเฉลียความดีให้คนอืน) ปัตตานุโมทนามัย (ทําบุญด้วยการยินดีในความดีของคนอืน)
๒. เข้าใจกฎแหง่ กรรม โดยเฉพาะกรรมดีคือบุญทันตาเห็น
หากทําบุญกับพระทีเพิงออกจากนิโรธสมาบัติ หรือเรียกว่า สัญญาเวทยิตนิโรธ พูดภาษาชาวบ้าน
คือเพิงออกจากสมาธิทีนังมาตลอด ๗ วัน โดยตัดความวุ่นวายทางโลก รวมถึงความสนใจใยดีต่อสังขาร
ร่างกายของตน เป็นการดับสัญญา (ไม่มีการจดจําโน้น นี นัน) และดับเวทนา (ไม่มีการเสวยอารมณ์ รับรู้
ความรู้สึกใดๆ ทังสิน) การเข้านิโรธสมาบัติเป็นการเสวยอารมณ์พระนิพพานในทิฐธรรมนี (ปจจุบันชาติั ) ไม่
มีความเป็นไปแห่งจิตและเจตสิก (ไม่มีการรับรู้ การปรุงแต่งทางทวารต่างๆ)
พระอนาคามีและพระอรหันต์ทีได้สมาบัติ ๘ เท่านัน สามารถเข้าสมาบัติขันนีได้ เพราะต้องอาศัย
กําลังของสมถะและวิปสสนา และเข้าได้นานถึงั ๗ วัน ผู้ทําบุญกับท่านคนแรกจะได้ผลบุญมหาศาล สามารถ
ส่งผลวิบากในภพภูมินี คือเห็นผลบุญทันตาทันที เพราะเป็นทิฐธัมมเวทนียกรรม ฝายกุศล คือกรรมดีทีให้ผล่
ในชาตินี เนืองจากพระทีท่านเพิงออกจากนิโรธสมาบัติ จัดเป็นสัมปทาคือข้อวัตถุสัมปทา และข้อคุณาติ
เรกสัมปทา อันเป็นเหตุอย่างหนึงทีให้บุญส่งผลทันตาเห็น และวิธีทําบุญกับพระทีเพิงออกจากนิโรธสมาบัติ
ก็มักจะเป็นการตักบาตรหรือถวายอาหารบิณฑบาตท่าน ดังเรืองราวปรากฏในคัมภีร์ทางศาสนามากมาย
เช่น สุขสามเณร นายตัมพทาฐิกโจรฆาตกะ (เพชฌฆาตเคราแดง) นายปุณณะ
ผู้ตักบาตรจึงได้ทําบุญกับปฏิคาหก (ผู้รับสิงของทีเขาให้) ชันยอด หากใครทําบุญกับท่านทีออกจาก
สมาธิขันนีใหม่ๆ ผลบุญสําเร็จทันทีได้ (ทังนี ผู้ทําบุญต้องมีครบสัมปทาทัง ๔ ผลบุญจึงจะเกิด) บางครังพระ
ท่านจะไปโปรดใคร ท่านก็เลือกเหมือนกัน เพราะอยู่ทีบารมีของผู้ทําบุญเองด้วยว่า จะเต็มเปียมหรือไม่ พระ
ท่านก็เพียงเติมเต็มบารมีด้วยการไปโปรดเท่านัน
๓. กจของพระ โดยเฉพาะพุทธกจิ ิ
พระพุทธเจ้าไปแสดงธรรมโปรดใคร ก็อาศัยวิธีเทียวบิณฑบาตด้วยอย่างหนึง โดยเฉพาะจะทรง
โปรดเวไนยสัตว์ (ผู้ทีมีปญญาสามารถจะเข้าใจธรรมะได้ั ) หลังจากทรงส่งข่ายพระญาณ ตรวจดูว่าใครจะรู้
ธรรมะได้บ้าง ก็เสด็จไปรับอาหารบิณฑบาตจากคนนันโดยตรง เป็นธรรมเนียมของพระพุทธเจ้าทีทรงเทียว
บิณฑบาต หากคนไม่เข้าใจก็จะคิดว่า พระมหาสมณะเทียวขออาหารเหมือนพวกยาจกวณิพกขอทาน
แม้กระทังพระเจ้าสุทโธทนะ พระบิดาของพระพุทธองค์ เห็นพระพุทธองค์เทียวบิณฑบาตในกรุงกบิลพัสดุ์ก็
ทรงดําริเช่นนัน ทรงเห็นว่าน่าอดสู เสือมเสียชือเสียงราชวงศ์
ผู้ตักบาตรต้องเข้าใจว่า นีคือธรรมเนียมของพระพุทธเจ้าและเหล่าพุทธสาวกทีต้องเทียวบิณฑบาต
เพือเป็นการโปรดชาวบ้าน ให้เขามีโอกาสทําบุญด้วย
ดังนัน การตักบาตรจึงไม่ได้มีความหมายแค่การทําบุญทําทานอย่างเดียว แต่สอดแทรกแนวคิดอีก
มากมายให้ขบคิด เช่น ได้รับสิงมงคล ฟงธรรมะ เข้าใจกฎแห่งกรรม รู้ตันติประเพณีของพระพุทธเจ้า ยิงั
วิเคราะห์ลึกๆ ก็จะเห็นหลักจิตวิทยาการสอนของพระพุทธเจ้า ธรรมเนียมปฏิบัติทางพระศาสนา และอะไร
อีกมากต่อมาก
พระมหาสุรชัย พุดชู

More Related Content

What's hot

แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมKamolthip Boonpo
 
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงkroojaja
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
การวัดความยาว
การวัดความยาวการวัดความยาว
การวัดความยาวt-surinrach
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็นKrukomnuan
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติพัน พัน
 
การใช้คำลักษณนาม
การใช้คำลักษณนามการใช้คำลักษณนาม
การใช้คำลักษณนามSup Mook
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับaoynattaya
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์nongyao9
 

What's hot (20)

แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
การวัดความยาว
การวัดความยาวการวัดความยาว
การวัดความยาว
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
 
การใช้คำลักษณนาม
การใช้คำลักษณนามการใช้คำลักษณนาม
การใช้คำลักษณนาม
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับ
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
 
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรมO-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
 
ฟังก์ชันลอการิทึม(สมบัติของลอการิทึม)
ฟังก์ชันลอการิทึม(สมบัติของลอการิทึม)ฟังก์ชันลอการิทึม(สมบัติของลอการิทึม)
ฟังก์ชันลอการิทึม(สมบัติของลอการิทึม)
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 

Similar to 06.ทำไม ต้องตักบาตร

หน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxหน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxpinglada1
 
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธหน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธleemeanshun minzstar
 
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชาวันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา25Sura
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammablcdhamma
 
Presentation1 keatwimc
Presentation1  keatwimcPresentation1  keatwimc
Presentation1 keatwimckeatwimc
 
Presentation1 keatwimc
Presentation1  keatwimcPresentation1  keatwimc
Presentation1 keatwimckeatwimc
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาTongsamut vorasan
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 

Similar to 06.ทำไม ต้องตักบาตร (13)

หน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxหน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docx
 
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธหน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธ
 
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชาวันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
 
บุญ
บุญบุญ
บุญ
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
 
Presentation1 keatwimc
Presentation1  keatwimcPresentation1  keatwimc
Presentation1 keatwimc
 
Presentation1 keatwimc
Presentation1  keatwimcPresentation1  keatwimc
Presentation1 keatwimc
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชา
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 

06.ทำไม ต้องตักบาตร

  • 1. ทําไม ต้องตักบาตร ตอบ เพราะเป็นการทําบุญอย่างหนึง ทีเรียกว่าทานมัย การตักบาตรจัดเป็นทานมัย คือบุญทีเกิดจากการให้ปนสิงของั เป็นวิธีทําบุญ ๑ ใน ๑๐ ซึงหากย่น ย่อวิธีทําบุญทัง ๑๐ ลง ก็จะมี ๓ วิธีใหญ่ๆ คือ ทาน ศีล ภาวนา ทานเป็นวิธีทําบุญทีสําคัญในระดับหนึง แต่ ต้องไม่ติดอยู่ในการให้อย่างเดียว ต้องฝึกทําบุญแบบศีลและภาวนาด้วย ทานเป็นบุญวิธีในเบืองต้นเท่านัน ต้องก้าวไปสู่ระดับทีสูงขึน คือศีลและภาวนา การตักบาตรมีมาตังแต่สมัยพุทธกาล มีพระวินัยหลายข้อทีกล่าวถึงชนิดของบาตร การใช้บาตร การ รักษาดูแล รวมถึงการบิณฑบาตอยู่ด้วย ปจจุบันพระท่านบิณฑบาตก็เพราะรักษาพระวินัยไว้ เป็นกิจวัตรั อย่างหนึงทีท่านต้องปฏิบัติ เนืองจากเป็นเครืองยังชีพให้อยู่รอด แม้พระพุทธเจ้าก็ทรงปฏิบัติ การบิณฑบาตเป็นกิจวัตร ๑ ใน ๕ ของพระพุทธองค์ และเป็นพุทธจริยาวัตรทีพระพุทธเจ้าทุก พระองค์ทรงปฏิบัติสืบมา พระสงฆ์ในฐานะเป็นพุทธบุตรต้องรักษากิจวัตรข้อนีอย่างเคร่งครัด พุทธศาสนิกชนทีตักบาตรก็ถือว่าช่วยท่านรักษาพระวินัยอีกโสดหนึง ในฐานะสนับสนุนหรือเอือเฟือพระวินัย ของท่าน ช่วยส่งเสริมวัตรปฏิบัตรของท่านให้สมบูรณ์ และทําหน้าทีทีพุทธบริษัท (อุบาสกอุบาสิกา) ควรทํา คือการบํารุงรักษาพระศาสนา ไม่ใช่ปล่อยให้เป็นหน้าทีของพระฝายเดียว อาจมีข้อยกเว้นในถินทีไม่สะดวก่ ในการบิณฑบาต เช่น ในต่างประเทศ พระไม่ต้องปฏิบัติกิจข้อนีเป็นประจําทุกวัน หากจะมีก็เฉพาะใน เทศกาลวันสําคัญทางศาสนาหรือวันสําคัญของชาติทีมีการตักบาตรในพิธีช่วงเช้า อาจมีผู้สงสัยวา คําทีถูกต้องควรเรียกวา ตักบาตร หรือใสบาตร่ ่ ่ ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของคําว่าตักบาตร ว่า เอาของใส่บาตรพระ และความหมายทีชาวพุทธรู้จัก ปฏิบัติเป็นประจํา ก็คือการตักข้าวสวยใส่ลงในบาตรพระ คํานีเป็นคําโบราณ ทีเราคุ้นเคยกัน เช่น สุภาษิตทีว่า ตักบาตรอย่าถามพระ ส่วนคําว่า ใส่บาตร สันนิษฐานว่าเป็นคําศัพท์ใหม่ทีวิวัฒนาการขึนตามยุคสมัย อาจกร่อนมาจากวลี ว่า ตักข้าวใสบาตร่ เพือให้ง่ายในการใช้ จึงกร่อนเป็นตักบาตร ไปในทีสุด คือเอาเฉพาะคําแรกกับคําท้าย ของวลี ‘ตักข้าวใส่บาตร’ มาใช้ เหมือนกับคําว่า ข้าวราดแกง ทีกร่อนมาจากวลี ‘ข้าวราดด้วยแกง’ เพราะ ตัดวิภัตติ (คําว่า ด้วย) ออก นีคือเหตุผลทีว่า ทําไมไม่ใช้คําว่า แกงราดข้าว ก็เพราะวัฒนธรรมการใช้ภาษา นันเอง ทีผู้เขียนสันนิษฐานว่าคํานีกร่อนมาจากวลี ‘ตักข้าวใส่บาตร’ เพราะเดิมทีเราใช้ทัพพีตักข้าวจากขัน จากถ้วยจาน หรือจากโถ ใส่ลงในบาตรพระ จากกิริยาดังกล่าวจึงเรียกติดปากว่า ตักบาตร แต่สมัยปจจุบันั มี ข้าวถุงแทน ไม่ต้องใช้ทัพพีตักเหมือนแต่ก่อนแล้วกระมัง จึงเรียกการตักบาตรว่า ใสบาตร่ คือการหยิบวาง ใส่บาตรนันเอง แต่ถ้าเราจะใช้ทังคําว่า ตักบาตรและใส่บาตร ผู้เขียนคิดว่า คงไม่ผิดอะไร
  • 2. อีกเหตุผลหนึงทีน่าสนใจและอาจเป็นไปได้ แสงจันทร์ แสนสุภา ได้เขียนไว้ในคอลัมน์ ‘องค์ความรู้ ภาษาไทย’ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ว่า คําว่า ตัก เทียบกับคําเขมรว่า ฎาก่ แปลว่า วางลง ดังนัน เป็นไปได้ที เรายืมคํานีมาจากภาษาเขมร ส่วนคําว่า บาตร ก็มีคําแปลอย่างเดียวกันกับคําว่า ตัก นันหมายความว่า ตัก บาตร เป็นคําเดียว ประเภทคําผสม คือลูกครึงระหว่างกัมพูชากับอินเดีย เพราะคําว่า ตัก เป็นคําเขมร และ คําว่า บาตร เป็นคําสันสกฤต ทังสองคํามีความหมายไม่แตกต่างกัน เมือมองคําว่า ตักบาตร ในฐานะคําผสม ก็จะเห็นคําว่า ใส่บาตร เป็นเพียงวลี คือกลุ่มคําทียังไม่เป็น ประโยคทีสมบูรณ์ เพราะมีเฉพาะกิริยา (ใส่) และกรรม (บาตร) ทําไมต้องเขียนตางกันระหวางคําวา บาตร กับบณฑบาต่ ่ ่ ิ เพราะรากศัพท์เดิมของภาษาทีเรายืมมาใช้ต่างกัน คําว่า บาตร เป็นคํายืมมาจากภาษาสันสกฤตว่า ปาตฺระ (pātra) ภาษาบาลีใช้คําว่า ปตตะั (ตัวอย่าง พระอธิฐานใช้บาตรว่า อิมัง ปตตัง อะธิฏฐามิั ) เราเลือก เอาคําสันสกฤตมาใช้แบบเปลียนแปลงรูปคําใหม่ กลายเป็นคําว่า บาตร แปลว่า ตกหรือถึง โดยความหมาย คือ วัตถุทีรองรับสิงทีตกถึง ส่วนคําว่า บิณฑบาต ไม่มี ร สะกด เพราะเป็นคํายืมมาจากคําบาลีว่า ปิณฑปาตะ แยกศัพท์เป็น ปิณฑะ=ก้อนข้าว, ปาตะ=ตก, ถึง และเปลียนแปลงรูปคําเป็นบิณฑบาต แปลว่า การตกของก้อนข้าว หรือ ก้อนข้าวทีตกลง เมือทังสองเป็นคํายืมทีมาจากคนละภาษา จึงเขียนไม่เหมือนกัน บณฑบาตกับบณิ ิ ฑจารกิ โดยทัวไป บิณฑบาต หมายถึง อาหารทีพระท่านได้มาขณะออกโปรดสัตว์ เราจึงเรียกว่า อาหาร บิณฑบาต การออกโปรดสัตว์ก็คือการออกรับบิณฑบาต แต่จริงๆ แล้ว เวลาทีท่านออกรับบิณฑบาต ภาษา พระจะเรียกว่า บิณฑจาริก แปลว่า เทียวไปเพือก้อนข้าว ซึงมีข้อปฏิบัติในการออกรับบิณฑบาตนีว่า บิณฑ จาริกวัตร ดังนัน จึงมีคําพูดว่า เทียวบิณฑบาต เพราะคําว่า จาริก แปลว่า เทียวไป สรุปง่ายๆ คือ บณฑบาติ = อาหารทีอยู่ในบาตร หรือทีเราเรียกรวมว่า อาหารบิณฑบาต บณฑจารกิ ิ = กิริยาทีพระอุ้มหรือสะพายบาตร เพือรับอาหาร หรือเรียกว่า ออกบิณฑบาตบ้าง เทียวบิณฑบาตบ้าง ตักบาตร = การถวายอาหารแด่พระ โดยวางลงในบาตร หรือเรียกว่า ใส่บาตร ก็มี การตักบาตรมีนัยมากกวาทานมัย่ ผู้ศึกษาพุทธประวัติจะทราบเรืองราวการตักบาตรหรือเทียวบิณฑบาตของพระอย่างดี ยกตัวอย่าง
  • 3. ๑. ได้พบสงมงคลิ และทําบุญอยางอืน่ อุปติสสะปริพาชก ต่อมาออกบวชมีนามว่า พระสารีบุตร ได้รับยกย่องว่าเลิศกว่าภิกษุรูปอืนๆ ใน ด้านมีปญญามาก และเป็นอัครสาวกเบืองขวาของพระพุทธเจ้า ท่านเข้ามาสู่บวรพระพุทธศั าสนา ก็เพราะ เหตุการณ์ตอนเทียวบิณฑบาตของพระอัสสชิ ซึงเป็นพระอรหันต์องค์หนึงในปญจวัคคีย์ั ขณะทีอุปติสสะเข้าสอบถามธรรมะจากพระอัสสชิ ก็เกิดศรัทธาและซาบซึงในอริยสัจ ๔ ทีพระอัสสชิ แสดงโดยย่อว่า เย ธัมมา เหตุปปะภะวา เตสัง เหตุ ตะถาคะโต (อาห) เตสัญจะ โย นิโรโธ เอวัง วาที มะหาสะมะโณต ฯิ วิ.ม.๔/๖๕/๗๔ (บาลีฉบับสยามรัฐ) แปลว่า ธรรมเหลาใดเกดแตเหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแหงธรรมเหลานัน และความดับ่ ่ ่ ่ิ แหงธรรมเหลานัน พระมหาสมณะมีปกตตรัสอยางนี่ ่ ่ิ ” คําพูดสันๆ แต่ลึกซึงกินใจ ทําให้อุปติสสะได้ดวงตาเห็นธรรมว่า ยังกิญจ สิ ะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นโิ รธะธัมมัง (วิ.ม.๔/๖๖/๗๔ (บาลีฉบับสยามรัฐ)) แปลว่า สงใดสงหนึงมีความเกดขึนเป็นิ ิ ิ ธรรมดา สงนันทังหมดมีความดับไปเป็นธรรมดาิ ขณะนันท่านได้ดวงตาเห็นธรรมขันตํา คือบรรลุเป็ พระโสดาบัน (หากได้ดวงตาเห็นธรรมขันสูง หมายถึงการบรรลุเป็นพระอนาคามี ตัวอย่างเช่น ภัททวัคคีย์ ๓๐ ซึงมีบางท่านได้ดวงตาเห็นธรรมขันสูงคือเป็นพระอนาคามี ขณะฟงธรรมอนุปุพพิกถาและอริยสัจั ๔ จาก พระพุทธเจ้า) จึงตัดสินใจออกบวชเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนาในทีสุด ผู้ตักบาตรจึงได้ประสพสิงอันเป็นมงคล พระพุทธศาสนากล่าวถึงสิงมงคลไว้ ๓๘ ประการ ในทีนีอุป ติสสะได้รับมงคลข้อสําคัญทีนําไปสู่มงคลข้ออืนๆ ก็คือข้อ สมณานัญจ ทัสสะนัง คือการพบเห็นสมณะ จากนันก็มีโอกาสฟงธรรม สนทนาธรรมจากท่าน ยังได้บุญข้อั ธัมมัสสวนมัย คือบุญเกิดจากการฟงธรรมั อีกทอดหนึง รวมถึงบุญประเภทอปจายนมัย (ทําบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม) ปัตตทานมัยิ (ทําบุญ ด้วยการเฉลียความดีให้คนอืน) ปัตตานุโมทนามัย (ทําบุญด้วยการยินดีในความดีของคนอืน) ๒. เข้าใจกฎแหง่ กรรม โดยเฉพาะกรรมดีคือบุญทันตาเห็น หากทําบุญกับพระทีเพิงออกจากนิโรธสมาบัติ หรือเรียกว่า สัญญาเวทยิตนิโรธ พูดภาษาชาวบ้าน คือเพิงออกจากสมาธิทีนังมาตลอด ๗ วัน โดยตัดความวุ่นวายทางโลก รวมถึงความสนใจใยดีต่อสังขาร ร่างกายของตน เป็นการดับสัญญา (ไม่มีการจดจําโน้น นี นัน) และดับเวทนา (ไม่มีการเสวยอารมณ์ รับรู้ ความรู้สึกใดๆ ทังสิน) การเข้านิโรธสมาบัติเป็นการเสวยอารมณ์พระนิพพานในทิฐธรรมนี (ปจจุบันชาติั ) ไม่ มีความเป็นไปแห่งจิตและเจตสิก (ไม่มีการรับรู้ การปรุงแต่งทางทวารต่างๆ) พระอนาคามีและพระอรหันต์ทีได้สมาบัติ ๘ เท่านัน สามารถเข้าสมาบัติขันนีได้ เพราะต้องอาศัย กําลังของสมถะและวิปสสนา และเข้าได้นานถึงั ๗ วัน ผู้ทําบุญกับท่านคนแรกจะได้ผลบุญมหาศาล สามารถ
  • 4. ส่งผลวิบากในภพภูมินี คือเห็นผลบุญทันตาทันที เพราะเป็นทิฐธัมมเวทนียกรรม ฝายกุศล คือกรรมดีทีให้ผล่ ในชาตินี เนืองจากพระทีท่านเพิงออกจากนิโรธสมาบัติ จัดเป็นสัมปทาคือข้อวัตถุสัมปทา และข้อคุณาติ เรกสัมปทา อันเป็นเหตุอย่างหนึงทีให้บุญส่งผลทันตาเห็น และวิธีทําบุญกับพระทีเพิงออกจากนิโรธสมาบัติ ก็มักจะเป็นการตักบาตรหรือถวายอาหารบิณฑบาตท่าน ดังเรืองราวปรากฏในคัมภีร์ทางศาสนามากมาย เช่น สุขสามเณร นายตัมพทาฐิกโจรฆาตกะ (เพชฌฆาตเคราแดง) นายปุณณะ ผู้ตักบาตรจึงได้ทําบุญกับปฏิคาหก (ผู้รับสิงของทีเขาให้) ชันยอด หากใครทําบุญกับท่านทีออกจาก สมาธิขันนีใหม่ๆ ผลบุญสําเร็จทันทีได้ (ทังนี ผู้ทําบุญต้องมีครบสัมปทาทัง ๔ ผลบุญจึงจะเกิด) บางครังพระ ท่านจะไปโปรดใคร ท่านก็เลือกเหมือนกัน เพราะอยู่ทีบารมีของผู้ทําบุญเองด้วยว่า จะเต็มเปียมหรือไม่ พระ ท่านก็เพียงเติมเต็มบารมีด้วยการไปโปรดเท่านัน ๓. กจของพระ โดยเฉพาะพุทธกจิ ิ พระพุทธเจ้าไปแสดงธรรมโปรดใคร ก็อาศัยวิธีเทียวบิณฑบาตด้วยอย่างหนึง โดยเฉพาะจะทรง โปรดเวไนยสัตว์ (ผู้ทีมีปญญาสามารถจะเข้าใจธรรมะได้ั ) หลังจากทรงส่งข่ายพระญาณ ตรวจดูว่าใครจะรู้ ธรรมะได้บ้าง ก็เสด็จไปรับอาหารบิณฑบาตจากคนนันโดยตรง เป็นธรรมเนียมของพระพุทธเจ้าทีทรงเทียว บิณฑบาต หากคนไม่เข้าใจก็จะคิดว่า พระมหาสมณะเทียวขออาหารเหมือนพวกยาจกวณิพกขอทาน แม้กระทังพระเจ้าสุทโธทนะ พระบิดาของพระพุทธองค์ เห็นพระพุทธองค์เทียวบิณฑบาตในกรุงกบิลพัสดุ์ก็ ทรงดําริเช่นนัน ทรงเห็นว่าน่าอดสู เสือมเสียชือเสียงราชวงศ์ ผู้ตักบาตรต้องเข้าใจว่า นีคือธรรมเนียมของพระพุทธเจ้าและเหล่าพุทธสาวกทีต้องเทียวบิณฑบาต เพือเป็นการโปรดชาวบ้าน ให้เขามีโอกาสทําบุญด้วย ดังนัน การตักบาตรจึงไม่ได้มีความหมายแค่การทําบุญทําทานอย่างเดียว แต่สอดแทรกแนวคิดอีก มากมายให้ขบคิด เช่น ได้รับสิงมงคล ฟงธรรมะ เข้าใจกฎแห่งกรรม รู้ตันติประเพณีของพระพุทธเจ้า ยิงั วิเคราะห์ลึกๆ ก็จะเห็นหลักจิตวิทยาการสอนของพระพุทธเจ้า ธรรมเนียมปฏิบัติทางพระศาสนา และอะไร อีกมากต่อมาก พระมหาสุรชัย พุดชู