SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
๑

ทางสู่ความอบอุ่น                             จากพระวินยปิ ฎก จุลวรรค เล่ม ๗ ภาค ๒ ข้อที่ ๔๑๔ หรื อเล่ มที่ ๙ ข้อที่ ๔๑๔ หน้า 337 ถึง ข้อที่ ๔๔๖ หน้า ๓๙๗
                                                      ั
ถ้านับจาก ชุด ๙๑ เล่ม วิธีหาเรื่ องวัตร ๑๔ ง่ ายๆ ก็ให้ ดูที่ วินย จุลวรรค ดูข้อที่ ๔๑๔ เป็ นหลัก คือ ชื่ อ วินย จุลวรรค และข้ อ ๔๑๔ จะตรงกัน ส่ วนเล่ ม อาจจะไม่ ตรงกัน
วิธีการ อุปัฏฐาก ต้อนรับ พระภิกษุสงฆ์ สามเณร ชี ปะขาว (นาค) ครูบาอาจารย์(พ่อ แม่ ผู้หลัก ผู้ใหญ่)
      ทางวัดป่ าดงใหญ่ ได้ทดลองทามาแล้ว ปรากฎว่าได้ผลดีมากเหนือความคาดหมาย ได้รับความสาเร็ จทั้งทางโลก และธรรม ได้ทาง
ความสุข บริ สุทธิ์ และได้ทางวัตถุ ทาให้ท้ งบรรพชิต และคฤหัสถ์ ได้บรรลุธรรม อดทน กล้าหาญ ฉลาด ประหยัด ละอายบาป และกลัว
                                                                    ั
บาป แต่จะไม่กลัวที่จะทาดี มีศีล สมาธิ ปั ญญา นิพพาน มีความรู ้ความเห็นเรื่ องนิพพาน มีความสุข สงบ สบาย สามัคคี มีพลังกาย
กาลังใจ ไม่หดหู่ สามารถสร้างพระว่าที่โสดาบัน โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อรหันต์ ได้มาแล้วหลายรู ป หลายองค์ มาแล้ว จึงขอเชิญ ชวน ทุกท่าน
ทุกคน จงมาร่ วมทา ปฏิบติตามวัตรทั้ง ๑๔ นี้ กันเถิด.. ( อาจจะดัดแปลงไปใช้ กับ บ้าน ที่อยู่ ครอบครัว บริ ษท ชุมชน โรมเรี ยน โรงพยาบาล ฯลฯ )
                                          ั                                                                                              ั
             สาหรับในเรื่ อง ๑๔ วัตร นี้ ภิกษุผไม่บาเพ็ญวัตร ชื่อว่าไม่บาเพ็ญศีล ผูมีศีลไม่บริ สุทธิ์ ทรามปั ญญา ย่อมไม่ประสบเอกัคคตาจิต
                                                                      ู้                                        ้
( เอกัคคตาจิตคือ จิตที่เป็ นอารมณ์เดียว คือได้สมาธิ ) ผูมีจิตฟุ้ งซ่าน มีอารมณ์มาก ย่อมไม่เห็นธรรมโดยชอบ เมื่อไม่เห็นพระสัทธรรม ย่อมไม่
                                                                          ้
พ้นจากทุกข์.. ส่วนภิกษุผที่บาเพ็ญวัตร ได้ชื่อว่าบาเพ็ญศีล ผูมีศีลบริ สุทธิ์ มีปัญญา ย่อมประสบเอกัคคตาจิต ผูมีจิตไม่ฟงซ่าน มีอารมณ์
                                       ู้                                         ้                                                                ้          ุ้
อย่างเดียว ย่อมเห็นธรรมโดยชอบ เมื่อเห็นพระสัทธรรม ย่อมพ้นจากทุกข์ได้ เพราะเหตุน้ น แล โอรสของพระชินเจ้า ผูมีปัญญาเห็น       ั                                    ้
ประจักษ์ พึงบาเพ็ญวัตร (๑๔) อันเป็ นพระโอวาทของพระพุทธเจ้าผูประเสริ ฐ แต่น้ นจักถึงพระนิพพาน ดังนี้แล.. เรื่ อง ๑๔ วัตรนี้ ก็ได้แก่
                                                                                                  ้                  ั
            ถ้ า.. เราทาได้ ทุกรายการในแต่ ละข้ อ และทาได้ ตลอด ทุก ๆ วัน ประมาณเต็ม ๑๐๐ ให้ เติม ก                                               ถ้ าทาได้ ๗๕ เติม ข
            ถ้ าทาได้ ๕๐ เติม ค                       ทาได้ ๒๕ เติม ง ไม่ ได้ ทาเลย เติม จ โดยให้ เติมลงในช่ อง ทาได้ ด้ านขวามือสุด
 ชื่ อ............. .......... ..........ชื่ อเล่ น.... .........ฉายา/นามสกุล......... .................. ...ของผู้บันทึ ก เกิด ว/ด/ป...................กรอก ว/ด/ป...................
            ภิกษุ สามเณร ปะขาว โยม ผู้ทบาเพ็ญวัตร ทั้ง ๑๔ ชื่อว่ า บาเพ็ญศีล ผู้มศีลบริสุทธิ์ เสริมสมาธิ มีปัญญา
                                                                 ี่                                                    ี                                                  ทา
        ถ้าไม่ทา ก็ถือว่า ศีลไม่ดี เป็ นอาบัติทุกกฎ (ทาชัว ทาไม่ดี) ในทุก ๆ ข้อที่วา ด้วยคาว่า อย่า ๆ ไม่ ๆ ดังนั้นเมื่อทาแล้วจะดีมาก ได้
                                                                            ่                              ่
        1. อาคันตุกวัตร ( หน้าที่ของผูที่จะมา ผูมาเยียม แขก ที่จะต้องรู ้? ว่า ควรจะทาตัวอย่างไรดี จะถาม จะอยู่ จะนัง ฯลฯ )
                                                          ้              ้ ่                                                                                ่
                                    ่
       2. อาวาสิกวัตร ( สาหรับที่อยูประจาวัด ประจาที่ เจ้าภาพ เจ้าถิ่น ว่าจะต้อนรับผูที่มาเยือนอย่างไรดี จัดที่นง น้ า อื่น ๆ )
                                                                                     ้                          ั่
       3. คมิกวัตร ( สาหรับผูที่เตรี ยมจะไป จะออกเดินทางไปจากที่อยูเ่ ดิม ควรจะทา เตรี ยม เก็บ คืนสิ่งของ บอกก่อน? )
                             ้
       4. ภัตตานุโมทนาวัตร ( วิธีการให้พร อนุโมทนา แนะนาธรรม ที่เหมาะกับเขา ขอบใจ ขอบคุณโยมที่มาทาบุญ )
       5. ภัตตัคควัตร ( วิธีปฏิบติตว ในโรงฉัน วิธีการเตรี ยมสถานที่ จัดที่นง ที่รับประทานอาหาร ทั้งในบ้าน และในวัด )
                                ั ั                                        ่ั
       6. ปิ ณฑจาริกวัตร ( วิธีการไปรับอาหารบิณฑบาตจากชาวบ้าน จะทาตัวอย่างไร วิธีรับ ไป กลับช้า เร็ ว ตามเวลา ?)
                                   ่        ่
       7. อารัญญิกวัตร ( วิธีการอยูป่า จะอยูแบบไหนจึงจะปลอดภัย จึงจะได้คุณธรรม บรรลุ ศีล สมาธิ ปั ญญาเร็ ว ๆ )
                                                 ่                                                             ่ ั่
       8. เสนาสนวัตร ( การรักษา ทาความสะอาดที่อยูอาศัย โบสถ์ ศาลา กุฎี ที่นงพัก โรงน้ าร้อน โรงครัว ซุ้ม ที่อยูทวๆไป ในวัด )
                                                                           ั่
       9. ชันตาฆรวัตร ( วิธีการอบไอน้ าจากต้นไม้ที่เป็ นยาสมุนไพร จะเตรี ยมห้อง ยา ก่อไฟ อบเร็ ว -ช้า จะ
       เก็บ ?)
       10. วัจจกุฏีวตร ( เรื่ องของส้วมว่าจะทาความสะอาด เตรี ยมน้ า จะล้าง ก่อนจะเข้า ต้องกระแอม จะออกอย่างไรดี?)
                    ั
       11. อุปัชฌายวัตร (หน้าที่ของสิทธิวหาริ กคือศิษย์ที่บวชกับอุปัชฌาย์น้ นแล้วอยูกบท่าน แล้วจะปฏิบติต่อพระอุปัชฌาย์ เช่น
                                          ิ                                 ั       ่ ั              ั
          ช่วยเหลืองานที่ไม่ผิดศีล ซักผ้า ล้างบาตร อาบน้ า มีเคารพท่าน ยอมรับคาแนะนาสังสอน เชื่อฟัง ดูแลเมื่อเจ็บป่ วย ฯ )
                                                                                           ่
                 ิ                                  ั
       12. สัทธิวหาริกวัตร ( หน้าที่ของพระอุปัชฌาย์กบศิษย์ที่ตวเองบวชให้ จะแนะนา สังสอนศิษย์ สอนกรรมฐาน นิพพานให้ ฯ )
                                                              ั                    ่
       13. อาจริยวัตร ( หน้าที่ศิษย์ ( อันเตวาสิ ก ) ที่ตองกระทากับอาจารย์ อุปัฏฐาก ศึกษาเล่าเรี ยนธรรม คอยรับใช้ ช่วยเหลือ)
                                                         ้
                                                                                                               ่
       14. อันเตวาสิกวัตร ( อาจารย์ ควรจะต้องกระทากับศิษย์ ที่มาขอศึกษาธรรมวินยด้วย เช่น สอนฝึ กกรรมฐาน วิธีอยูใน
                                                                              ั
           เพศสมณะให้มีความสุข รักษาศีล ฝึ กสมาธิ วิปัสสนา มรรค ผล การหาวิธีการพ้นทุกข์ เพื่อบรรลุนิพพานที่บรมสุข ฯ )
รายละเอียดเต็ม ๆ (๓๔ หน้ า) ขอได้ที่ วัดป่ าดงใหญ่ จงมีสุข พ้ นทุกข์ บรรลุนิพพานบรมสุข เร็ ว ๆ ไว ๆ เทอญ.. จากพระประสิ ทธิ์ ( แววศรี ) ฐานะธัมโม
จาก วัดป่ าดงใหญ่ ๑๓๕ หมู่ ๒ บ้านแดงหม้ อ ตาบลแดงหม้ อ อาเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ๓๔๑๕๐ อีเมล watpadongyai@hotmail.com
๒


เส้นทางสูความสุข ทีเ่ ราทุกคนควรจะทาคือ วัตร ๑๔ อธิบายทีมา เหตุทมี ผลทีจะได้
         ่                                              ่       ี่     ่
จะขอเริ่มอธิบาย วัตร ทั้ง ๑๔ ทีได้พยายาม คัด เรี ยบเรี ยงมาจาก วัตตขันธกะ ในพระไตรปิ ฎก เล่มที่ ๙ วินย จุลวรรค ข้อที่ ๔๑๔
                               ่                                                                     ั
หน้า ๓๓๗ ถึงข้ อ ๔๔๖ และ มี อรรถกถา ด้ วย จนถึงหน้ า ๓๙๗ จาก ชุด ๙๑ เล่ ม ถ้ าฉบับบาลี ๔๕ เล่ ม จะอยู่ในเล่ ม ๗
       ดังต่ อไปนี ้

                            เรื่องพระอาคันตุกะ ( คือ ผู้ทมาเยียม มาใหม่ มาเยือน แขก )
                                                         ี่ ่
         [๔๑๔] โดยสมัยนั้น พระผูมีพระภาคพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขต
                                         ้
พระนครสาวัตถี ครั้งนั้นพระอาคันตุกะ ( พระที่มาจากที่อื่น จากวัดอื่น ) สวมรองเท้าเข้าไปสู่ อารามก็มี กั้นร่ มเข้า
ไปสู่ อารามก็มี คลุมศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี พาดจีวรบนศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี ล้างเท้าด้วยน้ าฉัน ( น้ าดื่ม ) ก็มี ไม่
ไหว้ภิกษุเจ้าถิ่นผูแก่พรรษากว่าก็มี ไม่ถามเสนาสนะก็มี มีพระอาคันตุกะรู ปหนึ่ง ถอดลิ่มแล้วผลักบานประตูเข้าไปสู่
                       ้
                           ่
วิหารที่ไม่มีใครอยูโดยพลัน งูตกจากเบื้องบนลงมาที่คอของเธอ เธอกลัวร้องขึ้นสุ ดเสี ยง ภิกษุท้ งหลายรี บเข้าไปถามว่า
                                                                                                              ั
ท่านร้องสุ ดเสี ยงทาไม ? เธอจึงบอกเรื่ องนั้นแก่ภิกษุท้ งหลาย บรรดาภิกษุที่เป็ นผูมกน้อย สันโดษ มีความละอาย ( ต่อ
                                                                ั                           ้ ั
บาป แต่วา จะไม่ละอายที่จะทาความดี ) มีความรังเกียจ ภิกษุผใคร่ ต่อสิ กขาบท ( ตั้งใจจะรักษาศีล ที่จะเคารพในศีล กระทา
             ่                                                             ู้
ตามศีล ปฏิบติตามสิ กขาบท (ศีล) ในศีล ซึ่งเป็ นสิ่ งที่ดีมาก ) ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉน พระอาคันตุกะจึงสวม
                 ั                                        ี
รองเท้าเข้าไปสู่ อารามก็มี กั้นร่ มเข้าไปสู่ อารามก็มี คลุมศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี พาดจีวรบนศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี
ล้างเท้าด้วยน้ าฉันก็มี (จะต้องใช้ น้ าใช้ หรื อน้ าสาหรับใช้ลางเท้า จึงจะถูก) ไม่ไหว้ภิกษุเจ้าถิ่นผูแก่พรรษากว่าก็มี ไม่ถาม
                                                              ้                                      ้
เสนาสนะก็มีแล้วกราบทูลเรื่ องนั้น แด่พระผูมีพระภาคเจ้า.
                                                    ้
         พระผูมีพระภาคเจ้า . . . ทรงสอบถามว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ข่าวว่าภิกขุอาคันตุกะสวมรองเท้าเข้าไปสู่ อารามก็มี
                   ้                                                   ั
กั้นร่ มเข้าไปสู่ อารามก็มี คลุมศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี พาดจีวรบนศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี ล้างเท้าด้วยน้ าฉันก็มี ไม่
ไหว้ภิกษุเจ้าถิ่นผูแก่พรรษากว่าก็มี ไม่ถามเสนาสนะก็มี จริ งหรื อ?.
                         ้
                                                ภิกษุท้ งหลายกราบทูลว่า จริ ง พระพุทธเจ้าข้า.
                                                        ั
                             พระผูมีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ไฉนภิกษุอาคันตุกะจึงได้สวมรองเท้า
                                  ้                                                  ั
เข้าไปสู่ อารามก็มี กั้นร่ มเข้าไปสู่ อารามก็มีคลุมศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี พาดจีวรบนศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี ล้างเท้า
ด้วยน้ าฉันก็มี ไม่ไหว้ภิกษุเจ้าถิ่นผูแก่พรรษากว่าก็มี ไม่ถามเสนาสนะก็มี ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย การกระทาของภิกษุ
                                           ้                                                       ั
เหล่านั้น ไม่เป็ นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส . . .
                                                            ั
          พระผูมีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย
                     ้                                               ั              การกระทาของพวกภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนัน  ่
( ตามที่วาแล้ว ข้างบน ) ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทา ไฉน ภิกษุนน จึงไม่ทาตาม
           ่                                                                                                      ั่
อาคันตุกะวัตร เล่า การกระทาของพวกภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนัน ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควรไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้
                                                                              ่
ไม่ได้ ไม่ควรทา ไฉน ภิกษุโมฆบุรุษ จึงกระทาอย่างนั้น การกระทาของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนัน ไม่เป็ นไปเพื่อ    ่
ความเลื่อมใสของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส หรื อเพื่อความเลื่อมใสยิงของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้การกระทาของ
                                    ั                                           ่
ภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น นัน เป็ นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็ นอย่างอื่นของชนบาง
                                ่                                                 ั
พวกที่เลื่อมใสแล้ว
       พระผูมีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริ ยาย ดังนี้ แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็ นคนเลี้ยงยาก
               ้
ความเป็ นคนบารุ งยาก ความเป็ นคนมักมาก ความเป็ นคนไม่สนโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่ งความ
                                                                         ั
เป็ นคนเลี้ยงง่าย ความเป็ นคนบารุ งง่ายความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกาจัด อาการที่น่าเลื่อมใส
๓
การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริ ยายทรง กระทาธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่ องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่ อง
นั้น แก่ภิกษุท้ งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า
                   ั                        ั
      ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุท้ งหลาย อาศัยอานาจประโยชน์ ๑๐ ประการ
                     ั                 ั                                    ั
                                                                                              ่
คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสาราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผูเ้ ก้อยาก ๑ เพื่ออยูสาราญแห่งภิกษุผมีศีล
                                                                                                             ู้
เป็ นที่รัก ๑ เพื่อป้ องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปั จจุบน ๑ เพื่อกาจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใส
                                                     ั
ของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิงของชุ มชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมันแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ
               ั                                  ่                                        ่
ถือตามพระวินย ๑  ั
                       ครั้นแล้วทรงทาธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่าดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจัก
                                                              ั                     ั                 ั
บัญญัติวตรแก่ภิกษุอาคันตุกะทั้งหลาย โดยประการที่ภิกษุอาคันตุกะทั้งหลายจะพึงประพฤติเรี ยบร้อย.
           ั


                               อาคันตุกวัตร       (หน้าที่ของ สาหรับ ผูที่จะมา ผูมาเยียม แขก )
                                                                       ้         ้ ่

         [๔๑๕] ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ภิกษุอาคันตุกะคิดว่า จักเข้าไปสู่ อารามเดี๋ยวนี้พงถอดรองเท้าเคาะ แล้วถือไปต่า ๆ
                              ั                                                      ึ
ลดร่ ม เปิ ดศีรษะ ลดจีวรบนศีรษะลงไว้ที่บา ไม่ตองรี บร้อน พึงเข้าไปสู่ อารามตามปกติ เมื่อเข้าไปสู่ อารามพึง
                                                ่         ้
สังเกตว่า ภิกษุเจ้าถิ่นประชุมกันที่ไหน ภิกษุเจ้าถิ่นประชุมกันที่ใด คือ ที่โรงฉัน มณฑป หรื อโคนไม้ พึงไปที่น้ น       ั
                                                                                                               ่
วางบาตรไว้ที่แห่งหนึ่งวางจีวรไว้ที่แห่งหนึ่ง พึงถืออาสนะที่สมควรนัง พึงถามถึงน้ าฉัน พึงถามถึง น้ าใช้วา ไหนน้ า
                                                                         ่
ฉัน ไหนน้ าใช้ ถ้าต้องการน้ าฉัน พึงตักน้ าฉันมาดื่ม ถ้าต้องการน้ าใช้ พึงตักน้ าใช้มาล้างเท้า เมื่อล้างเท้า พึงรด
น้ าด้วยมือข้างหนึ่งพึงล้างเท้าด้วยมือข้างหนึ่ง รดน้ าด้วยมือใด ไม่พึงล้างเท้าด้วยมือนั้น พึงถามถึงผ้าเช็ดรองเท้าแล้วจึง
เช็ดรองเท้า เมื่อจะเช็ดรองเท้า พึงใช้ผาแห้งเช็ดก่อนใช้ผาเปี ยกเช็ดทีหลัง พึงซักผ้าเช็ดรองเท้าบิดแล้วผึ่งไว้ที่ควรแห่ง
                                          ้                    ้
หนึ่ง ถ้าภิกษุเจ้าถิ่นแก่พรรษากว่า พึงอภิวาท ถ้าอ่อนพรรษกว่า พึงให้เธออภิวาท พึงถามถึงเสนาสนะว่า เสนาสนะ
ไหนถึงแก่ผม พึงถามถึงเสนาสนะที่มีภิกษุอยู่ หรื อที่ไม่มีภิกษุอยู่ พึงถามถึงโคจรคาม พึงถามถึงอโคจรคาม ( คือ
สถานที่ ที่พระไม่ควรไป เช่น มีชาง เสื อ งู สัตว์ร้าย หมา ดุ มีเหว หนาม ที่เป็ นอันตราย มีแหล่งการพนัน ค้ายาบ้า
                                   ้
ที่กินเหล้า ที่ซ่องสุ มของโจร โรงมหรสพ โรงแรม ที่มวสุ มอบายมุข หรื อที่ท่ีอาจจะไม่เหมาะสม และเป็ นอันตรายกับ
                                                            ั่
                                                  ่
พระ ) พึงถามถึงสกุลทั้งหลายที่ได้รับสมมติวาเป็ นเสกขะ ( ตระกูล หรื อบ้าน หรื อเรื อน หรื อครอบครัว หรื อโยมคนที่
ชอบทาบุญจนเกือบหมดตัว ) พึงถามถึงที่ถ่ายอุจจาระ พึงถามถึงที่ถ่ายปัสสาวะ พึงถามถึงน้ าฉัน พึงถามถึงน้ าใช้ พึง
ถามถึงไม้เท้า พึงถามถึงกติกาสงฆ์ที่ต้ งไว้วา ควรเข้าเวลาเท่าไร ควรออกเวลาเท่าไร ถ้าวิหารไม่มีภิกษุอยู่ พึงเคาะประตู
                                        ั ่
รออยูสักครู่ หนึ่งแล้วถอดลิ่มผลักบานประตู ยืนอยูขางนอกแลดูให้ทว ถ้าวิหารรก หรื อเตียงซ้อนอยูบนเตียงหรื อตัง
       ่                                              ่ ้             ั่                               ่               ่
ซ้อนอยูบนตัง เสนาสนะมีละอองจับอยูเ่ บื้องบน ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงชาระเสี ย เมื่อจะชาระวิหาร พึงขนเครื่ องลาดพื้น
          ่ ่
ออกไปวางไว้ที่ควรแห่งหนึ่งก่อน พึงขนเขียงรองเท้าเตียงออกไปวางไว้ท่ีควรแห่งหนึ่ ง พึงขนฟูกและหมอนออกไปวาง
ไว้ที่ควรแห่งหนึ่ง พึงขนผ้านิสีทนะและผ้าปูนอนออกไปวางไว้ท่ีควรแห่งหนึ่ง เตียง ตัง อันภิกษุพึงยกต่า ๆ ทาให้
                                                                                         ่
เรี ยบร้อย อย่าให้ครู ดสี กระทบบานและกรอบประตู ขนไปวางไว้ท่ีควรแห่งหนึ่ง กระโถนพึงขนออกไปวางไว้ที่ควร
แห่งหนึ่ง พนักอิงพึงขนออกไปวางไว้ที่ควรแห่งหนึ่งถ้าในวิหารมีหยากเยือ พึงกวาดแต่เพดานลงมาก่อน พึงเช็ดกรอบ
                                                                           ่
หน้าต่าง ประตูและมุมห้อง ถ้าฝาทาน้ ามันขึ้นรา พึงเอาผ้าชุบน้ าบิดแล้วเช็ด ถ้าพื้นทาสี ดาขึ้นรา พึงเอาผ้าชุบน้ าบิดแล้วเช็ด
ถ้าพื้นไม่ได้ทา พึงเอาน้ าพรมแล้วกวาด ด้วยคิดว่าอย่าให้ฝนกลบวิหาร พึงเก็บกวาดหยากเยือไปทิ้งเสี ย ณ ที่ควรแห่ง
                                                                 ุ่                           ่
หนึ่ง เครื่ องลาดพื้น พึงผึ่งแดดชาระเคาะปั ด แล้วขนกลับไปปูไว้ตามเดิม เขียงรองเท้าเตียง พึงผึ่งแดด ขัด เช็ดแล้ว
ขนกลับตั้งไว้ตามเดิม เตียง ตัง พึงผึ่งแดด ขัดสี เคาะ ยกต่า ๆ ทาให้ดี อย่าให้ครู ดสี กระทบบานและกรอบประตู
                                ่
๔
ขนกลับตั้งไว้ตามเดิม ฟูกและหมอนตากแห้งแล้ว สลัดปัด ให้สะอาด ขนกลับวางไว้ตามเดิม ผ้าปูนงและผ้าปูนอน        ั่
ตากแห้งแล้ว สลัดให้สะอาด ขนกลับปูไว้ตามเดิม กระโถน พนักอิง ตากแล้ว พึงเช็ด ขนกลับไปทั้งไว้ตามเดิม พึง
เก็บบาตร จีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่ง จับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลาใต้เตียงหรื อใต้ตง แล้วเก็บบาตร แต่
                                                                                                      ั่
อย่าเก็บบาตรบนพื้นที่ปราศจากเครื่ องรอง เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวรเอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรื อสาย
ระเดียง พึงทาชายไว้ขางนอก ขนดไว้ขางในเก็บจีวร ถ้ามีลมเจือด้วยผงคลีพดมาทางทิศตะวันออก พึงปิ ดหน้าต่าง
                        ้                 ้                                        ั
ด้านตะวันออก ถ้ามีลมเจือด้วยผงคลีพดมาทางทิศตะวันตก พึงปิ ดหน้าต่างด้านตะวันตก ถ้ามีลมเจือด้วยผงคลีพดมา
                                       ั                                                                            ั
ทางทิศเหนื อ พึงปิ ดหน้าต่างด้านเหนือถ้ามีลมเจือด้วยผงคลีพดมาทางทิศใต้ พึงปิ ดหน้าต่างด้านใต้ ถ้าฤดูหนาว
                                                                ั
กลางวันพึงเปิ ดหน้าต่าง กลางคืนพึงปิ ด ถ้าฤดูร้อน กลางวันพึงปิ ดหน้าต่างกลางคืนพึงเปิ ด ถ้าบริ เวณ ซุ มน้ า โรงฉัน
                                                                                                             ้
โรงไฟ วัจจกุฎีรก พึงปั ดกวาด เสี ย ถ้าน้ าฉัน น้ าใช้ไม่มี พึงจัดตั้งไว้ ถ้าน้ าในหม้อชาระไม่มี พึงตักน้ ามาไว้ในหม้อ ใน
ตุ่มน้ าสาหรับชาระ.
    ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย นี้แล เป็ นวัตรของภิกษุอาคันตุกะทั้งหลายซึ่ งภิกษุอาคันตุกะทั้งหลายพึงประพฤติเรี ยบร้อย.
                  ั

                                 อรรถกถาที่ อธิบาย [ อาคันตุกวัตร ]
         พระผูมีพระภาคเจ้าทรงแสดงที่ใกล้อุปจารสี มา ด้วยพระพุทธพจน์น้ ีวา บัดนี้ เราจักเข้าสู่ อาราม; เพราะฉะนั้น
                ้                                                           ่
                                                                              ่
ภิกษุถึงอุปจารสี มาแล้ว พึงทาคารวกิจทั้งปวง มีถอดรองเท้าเป็ นต้น. บทที่วา คเหตฺวา ได้แก่ ใช้ไม้เท้าคอนรองเท้าไป.
              ่                                            ่
   ในบทที่วา ปฏิกฺกมนฺติ ได้แก่ ประชุมกัน. หลายบทที่วา อุปาหนปุญฺฉนโจฬน ปุจฺฉิตฺวา อุปาหนา ปุญฺฉิตพฺพา มี
                                                             ่
ความว่า พึงถามภิกษุท้ งหลายผูเ้ จ้าถิ่นว่า ผ้าเช็ดรองเท้าอยูที่ไหน?.
                         ั
         บทว่า วิสชฺ เชตพฺพ คือ พึงผึ่งไว้.
                                                                                   ่                ่
         ข้อว่า โคจโร ปุจฺฉิตพฺโพ มีความว่า พึงถามถึงที่เที่ยว เพื่อภิกษาอย่างนี้วา โคจรคามอยูใกล้หรื อไกล. ภิกษุ
พึงเที่ยวบิณฑบาตแต่เช้าหรื อสาย ? ดังนี้ . บ้านของพวกมิจฉาทิฏฐิก็ดี บ้านที่มีภิกษาเขาจากัดไว้กดี ชื่ อว่า อโคจร.
                                                                                                      ็
         ภิกษาในบ้านใด เขาถวายแก่ภิกษุรูปเดียวหรื อ ๒ รู ป บ้านแม้น้ น ก็ควรถาม.
                                                                          ั
                                                                                                  ่
         หลายบทว่า ปานีย ปุจฺฉิตพฺพ, ปริโภชนีย ปุจฺฉิตพฺพ มีความว่า พึงถามถึงน้ าใช้อย่างนี้วา ภิกษุท้ งหลาย ย่อม
                                                                                                            ั
ดื่มน้ าที่ควรดื่มแห่งสระนี้ ทั้งทาการใช้สอย มีอาบ เป็ นต้นด้วยหรื อ ? สัตว์ร้ายหรื อเหล่าอมนุษย์ ย่อมมีในสถานบาง
ตาบล, เพราะฉะนั้น จึงควรถามว่า ควรเข้าไปเวลา (เท่า) ไร ?                        ควรออกมาเวลา (เท่า) ไร ?
         สองบทว่า พหิ ิิเตน มีความว่า เห็นทางของงูหรื อของอมนุษย์กาลังออกไป พึงยืนดูอยูขางนอก.   ่ ้
         หลายบทว่า สเจ อุสฺสหติ โสเธตพฺโพ มีความว่า ถ้าว่าตนสามารถ, พึงชาระสานักทั้งหมดให้สะอาด, เมื่อไม่
                                     ่
สามารถ พึงจัดแจงโอกาสเป็ นที่อยูของตน.
    ก็แลในธรรมเนียมแห่งการชาระสานักให้สะอาด ที่พระผูมีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้ว สาหรับภิกษุผสามารถชาระ
                                                                ้                                        ู้
สานักทั้งหมดให้สะอาด พึงทราบวินิจฉัย ตามนัยที่กล่าวแล้วในมหาขันธกะนันแล. จบ อรรถกถาที่ อธิบาย [ อาคันตุกวัตร ]
                                                                                 ่

             อาวาสิกวัตร (หน้ าทีของ สาหรับผู้ทอยู่ประจาวัด ประจาที่ ประจาถิน เจ้ าถิน )
                                 ่             ี่                           ่        ่

        [๔๑๖] สมัยนั้น ภิกษุเจ้าถิ่นเห็นพระอาคันตุกะแล้ว ไม่ปูอาสนะไม่ต้ งน้ าล้างเท้า ไม่ต้ งตังรองเท้า ไม่ต้ ง
                                                                            ั                ั ่               ั
กระเบื้องเช็ดเท้าไว้ ไม่ลุกรับบาตร จีวร ไม่ถามด้วยน้ าฉัน ไม่ถามด้วยน้ าใช้ ไม่ไหว้พระอาคันตุกะแม้ผแก่กว่าไม่จด
                                                                                                      ู้         ั
                                                                              ่
เสนาสนะให้ บรรดาภิกษุที่เป็ นผูมกน้อย สันโดษ มีความละอาย ( ต่อบาป แต่วา จะไม่ละอายที่จะทาความดี ) มีความ
                                  ้ ั
รังเกียจ ภิกษุผใคร่ ต่อสิ กขาบท ( ตั้งใจจะรักษาศีล ที่จะเคารพศีล กระทาตามศีล ปฏิบติตามสิ กขาบท (ศีล) ตามศีล )
                ู้                                                                 ั
๕
ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉน ภิกษุเจ้าถิ่น เห็นพระอาคันตุกะแล้ว จึงไม่ปูอาสนะไม่ต้ งน้ าล้างเท้า         ั
ไม่ต้ งตังรองเท้า ไม่ต้ งกระเบื้องเช็ดเท้า ไม่ลุกรับบาตร รับจีวร ไม่ถามด้วยน้ าฉัน ไม่ถามด้วยน้ าใช้ ไม่ไหว้พระ
       ั ่                       ั
อาคันตุกะผูแก่กว่า ไม่จดเสนาสนะให้ จึงกราบทูลเรื่ องนั้นแด่พระผูมีพระภาคเจ้า.
                  ้                  ั                                          ้
             พระผูมีพระภาคเจ้า ... ทรงสอบถามว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ข่าวว่า. ( ตามที่วาแล้ว ข้างบน ) . .จริ งหรื อ ?.
                        ้                                              ั                          ่
                          ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า จริ ง พระพุทธเจ้าข้า.
พระผูมีพระภาคเจ้าทรงติเตียน ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย การกระทาของพวกภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนัน ไม่เหมาะ ไม่สม
         ้                                             ั                                                    ่
ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทา ไฉน ภิกษุนน จึงไม่ทาตาม อาว่าสิ วตร เล่า โดยที่แท้การกระทาของ
                                                                    ่ั                          ั
ภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น นัน เป็ นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็ นอย่างอื่นของชนบาง
                                       ่                                          ั
พวกที่เลื่อมใสแล้ว
        พระผูมีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริ ยาย ดังนี้ แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็ นคนเลี้ยงยาก
                ้
ความเป็ นคนบารุ งยาก ความเป็ นคนมักมาก ความเป็ นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่ งความ
เป็ นคนเลี้ยงง่าย ความเป็ นคนบารุ งง่ายความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกาจัด อาการที่น่าเลื่อมใส
การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริ ยายทรงกระทาธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่ องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่ องนั้น
แก่ภิกษุท้ งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า
              ั                                ั
        ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุท้ งหลาย อาศัยอานาจประโยชน์ ๑๐ ประการ
                           ั                     ั                                      ั
                                                                                                          ่
คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสาราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผูเ้ ก้อยาก ๑ เพื่ออยูสาราญแห่งภิกษุผมีศีล          ู้
เป็ นที่รัก ๑ เพื่อป้ องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปั จจุบน ๑ เพื่อกาจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใส
                                                              ั
ของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิงของชุ มชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมันแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ
                    ั                                     ่                                           ่
ถือตามพระวินย ๑       ั
             ครั้นแล้วทรงทาธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติวตร
                                                            ั                       ั                   ั                    ั
แก่ภิกษุเจ้าถิ่นทั้งหลาย โดยประการที่ภิกษุเจ้าถิ่นทั้งหลายจะพึงประพฤติ
           [๔๑๗] ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ภิกษุเจ้าถิ่นเห็นภิกษุอาคันตุกะผูแก่กว่าแล้วพึงปูอาสนะ พึงตั้งน้ าล้างเท้า ตัง
                                         ั                                    ้                                         ่
รองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า พึงลุกรับบาตร จีวร พึงถามด้วยน้ าฉัน พึงถามด้วยน้ าใช้ ถ้าอุตสาหะ พึงเช็ดรองเท้าเมื่อจะ
เช็ดรองเท้า พึงใช้ผาแห้งเช็ดก่อนใช้ผาเปี ยกเช็ดทีหลัง พึงซักผ้าเช็ดรองเท้าบิดแล้วผึ่งไว้ ณ ที่ควรแห่งหนึ่ง พึง
                               ้                   ้
อภิวาทภิกษุอาคันตุกะผูแก่กว่าพึงจัดเสนาสนะถวายว่า เสนาสนะนันถึงแก่ท่าน พึงบอกเสนาสนะที่มีภิกษุอยูหรื อไม่มี
                                   ้                                        ่                                       ่
ภิกษุอยู่ พึงบอกโคจรคาม พึงบอกอโคจรคาม พึงบอกสกุลที่เป็ นเสกขสมมติ พึงบอกที่ถ่ายอุจจาระ พึงบอกที่ถ่าย
ปั สสาวะ พึงบอกน้ าฉันพึงบอกน้ าใช้ พึงบอกไม้เท้า พึงบอกกติกาสงฆ์ท่ีต้ งใจว่า เวลานี้ควรเข้า เวลานี้ควรออก ถ้า
                                                                                      ั
ภิกษุอาคันตุกะอ่อนพรรษากว่า พึงนังบอกว่า ท่านจงวางบาตรที่นน จงวางจีวรที่นน จงนังอาสนะนี้ พึงบอกน้ าฉัน
                                             ่                           ั่                  ั่     ่
พึงบอกน้ าใช้ พึงบอกผ้าเช็ดรองเท้า พึงแนะนาภิกษุอาคันตุกะให้ อภิวาท พึงบอกเสนาสนะว่าเสนาสนะนันถึงแก่                  ่
ท่าน พึงบอกเสนาสนะที่มีภิกษุอยู่ หรื อไม่มีภิกษุอยู่ พึงบอกโคจรคาม พึงบอกอโคจรคาม พึงบอกสกุลที่เป็ นเสก
ขสมมติ พึงบอกที่ถ่ายอุจจาระ พึงบอกที่ถ่ายปั สสาวะ พึงบอกน้ าฉัน พึงบอกน้ าใช้ พึงบอกไม้เท้า พึงบอกกติกาสงฆ์
      ั ่
ที่ต้ งไว้วา เวลานี้ควรเข้า เวลานี้ควรออก
            ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย นี้แล เป็ นวัตรของภิกษุเจ้าถิ่นทั้งหลายซึ่ งภิกษุเจ้าถิ่นทั้งหลายพึงพระพฤติเรี ยบร้อย.
                             ั

                อรรถกถาที่ อธิบาย [อาวาสิ กวัตร]
       วินิจฉัยในอาวาสิ กวัตร พึงทราบดังนี้:-
๖
        เมื่ออาคันตุกะผูแก่กว่ามา พึงงดจีวรกรรมหรื อน วกรรมเสี ย ทากิจทั้งปวง มีอาทิอย่างนี้วา พึงแต่งตั้ง
                          ้                                                                                  ่
อาสนะ ดังนี้ กาลังกวาดลานเจดีย ์ พึงเก็บไม้กวาดเสี ย เริ่ มทาวัตรแก่เธอ. หากว่า อาคันตุกะเป็ นผูฉลาด. เธอจัก
                                                                                                           ้
กล่าวว่า จงกวาดลานเจดียเ์ สี ยก่อนเถิด ผูมีอายุ ( อาวุโส ).
                                              ้
        อนึ่ง กาลังทายาเพื่อคนไข้อยู่ ถ้าว่า คนไข้ไม่ทุรนทุรายนัก, พึงงดทาไว้ ทาวัตรเสี ยก่อน, แต่สาหรับ ไข้หนัก
ต้องทายาก่อน ถ้าอาคันตุกะเป็ นผูฉลาด, เธอจักกล่าวว่า จงทายาเสี ยก่อน. เมื่อถามถึงน้ าฉัน ถ้าว่า อาคันตุกะดื่มน้ า
                                   ้
ที่นามาแล้วครั้งเดียวหมด, พึงถามท่านว่า ผมจักต้องนามาอีกไหม ?
               อนึ่ง พึงพัดท่านด้วยพัด. เมื่อพัด พึงพัดที่หลังเท้าครั้งหนึ่งกลางตัวครั้งหนึ่ง ศีรษะครั้งหนึ่ง. เธออันท่าน
กล่าวว่า พอหยุดเถิดพึงพัดให้อ่อนลง.เธออันท่านกล่าวว่า พอละ พึงพัดให้อ่อนลงกว่านั้น. ท่านกล่าวถึงครั้งที่ ๓ พึง
วางพัดเสี ย. พึงล้างเท้าของท่าน. ครั้นล้างแล้ว ถ้าน้ ามันของตนมี, พึงทาด้วยน้ ามัน. ถ้าไม่มี, พึงทาด้วยน้ ามันของ
ท่าน. ส่ วนการเช็ดรองเท้า พึงทาตามความชอบใจของตน. ด้วยเหตุน้ นแล พระผูมีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า สเจ
                                                                               ั            ้
อุสฺสหติ. เพราะเหตุน้ น จึงไม่เป็ นอาบัติ แม้แก่ภิกษุผไม่เช็ดรองเท้า.เธออันท่านถามว่า เสนาสนะถึงแก่เราที่ไหน ? พึง
                        ั                               ู้
จัดแจง เสนาสนะ อธิ บายว่า พึงบอกอย่างนี้วา เสนาสนะที่ถึงแก่ท่าน ดังนี้. แลสมควรแท้ ที่จะตบเสี ยก่อน (ไล่ฝน ไล่
                                                 ่                                                                       ุ่
คะขาย แมงป่ อง จิ้งจก มด แมลง สิ่ งของ ต่าง ๆ ) จึงปูลาด.
       วินิจฉัยในวัตรของอาคันตุกะผูนวกะ พึงทราบดังนี้:-
                                      ้                                 ข้อว่า ปานีย อาจิกฺขิตพฺพ มีความว่า ภิกษุผเู ้ จ้าถิ่น
พึงบอกว่า ท่านจงถือเอาน้ านั้นดื่ม ดังนี้. แม้ในน้ าใช้ ก็มีนยนี้เหมือนกัน. คาที่เหลือเหมือนคาก่อนนันแล. จริ งอยู่
                                                               ั                                         ่
ภิกษุเจ้าถิ่นจะไม่ทาวัตรแก่อาคันตุกะ ผูมาถึงสานักของตนแม้ในอาวาสใหญ่ ย่อมไม่ได้. จบ อรรถกถาที่ อธิบาย
                                            ้


                คมิกวัตร          ( หน้าที่ของ สาหรับผู้ทเี่ ตรียมจะไป จะออกเดินทางไปจากทีอยู่เดิม )
                                                                                          ่

          [๔๑๘] สมัยนั้น ภิกษุผเู ้ ตรี ยมจะไปไม่เก็บเครื่ องไม้ เครื่ องดินเปิ ดประตูหน้าต่างทิ้งไว้ ไม่มอบหมาย
เสนาสนะ แล้วหลีกไป เครื่ องไม้ เครื่ องดิน เสี ยหาย เสนาสนะไม่มีใครรักษา บรรดาภิกษุที่เป็ นผูมกน้อย...ต่างก็
                                                                                                        ้ ั
เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุผเู ้ ตรี ยมจะไป จึงไม่เก็บเครื่ องไม้ เครื่ องดิน เปิ ดประตูหน้าต่างทิงไว้ ไม่
                                                                                                               ้
มอบหมายเสนาสนะ แล้วหลีกไป เครื่ องไม้ เครื่ องดินเสี ยหาย เสนาสนะไม่มีใครรักษา จึงกราบทูล เรื่ องนั้น แด่
พระผูมีพระภาคเจ้า.
        ้
                 พระผูมีพระภาคเจ้าทรงสอบถามว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ข่าวว่า. . .จริ งหรื อ?.
                      ้                                           ั
                         ภิกษุท้ งหลายกราบทูลว่า จริ งพระพุทธเจ้าข้า.
                                  ั
                         พระผูมีพระภาคเจ้าทรงติเตียน ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย การกระทาของพวกภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น
                                ้                                   ั
นัน ( ตามที่วามาแล้วข้างบน) ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทา
  ่            ่                                                                                         ไฉน ภิกษุนน จึง
                                                                                                                   ั่
ไม่ทาตาม คมิกวัตร เล่า โดยที่แท้การกระทาของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น นัน เป็ นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยง
                                                                            ่                                         ั
ไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็ นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว
                        พระผูมีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริ ยาย ดังนี้ แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็ น
                              ้
คนเลี้ยงยาก ความเป็ นคนบารุ งยาก ความเป็ นคนมักมาก ความเป็ นคนไม่สนโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน
                                                                                ั
ตรัสคุณแห่งความเป็ นคนเลี้ยงง่าย ความเป็ นคนบารุ งง่ายความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกาจัด
อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียรโดยอเนกปริ ยายทรงกระทาธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่ องนั้น ที่
เหมาะสมแก่เรื่ องนั้น แก่ภิกษุท้ งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุท้งหลายว่า
                                    ั                       ั
     ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุท้ งหลาย อาศัยอานาจประโยชน์ ๑๐ ประการ
                   ั                    ั                                     ั
๗
                                                                                                       ่
คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสาราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผูเ้ ก้อยาก ๑ เพื่ออยูสาราญแห่งภิกษุผมีศีล         ู้
เป็ นที่รัก ๑ เพื่อป้ องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปั จจุบน ๑ เพื่อกาจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใส
                                                           ั
ของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิงของชุ มชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมันแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ
                   ั                                  ่                                              ่
ถือตามพระวินย ๑      ั
        ครั้นแล้วทรงทาธรรมีกถารับสังกะภิกษุท้ งหลายว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติวตรแก่
                                        ่        ั                         ั                      ั                    ั
ภิกษุผเู้ ตรี ยมจะไป โดยประการที่ภิกษุเตรี ยมจะไปพึงประพฤติเรี ยบร้อย.
          [๔๑๙] ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ภิกษุผเู ้ ตรี ยมจะไปพึงเก็บเครื่ องไม้เครื่ องดิน ปิ ดประตูหน้าต่าง มอบหมาย
                              ั
เสนาสนะ ถ้าภิกษุไม่มี พึงมอบหมายสามเณร ถ้าสามเณรไม่มี พึงมอบหมายคนวัด ถ้าคนวัดไม่มี พึงมอบหมายอุบาสก
ถ้าไม่มีภิกษุสามเณร คนวัดหรื ออุบาสก พึงยกเตียงขึ้น วางไว้บนศิลา ๔ แผ่น แล้วพึงยกเตียงซ้อนเตียง ยกตังซ้อนตัง         ่      ่
แล้วกองเครื่ องเสนาสนะไว้ขางบน เก็บเครื่ องไม้ เครื่ องดิน ปิ ดประตูหน้าต่าง แล้วจึงหลีกไป ถ้า วิหารฝนรั่ว ถ้า
                                ้
                 ่
อุตสาหะอยูพึงมุง หรื อพึงทาความขวนขวายว่า จะมุงวิหารได้อย่างไร ถ้าได้ตามความขวนขวายอย่างนี้ นันเป็ นความดี        ่
ถ้ าไม่ ได้ ทีใดฝนไม่ รั่ว พึงยกเตียงขึนวางบนศิลา ๔ แผ่ น ในที่น้ัน แล้วพึงยกเตียงซ้ อนเตียงยกตั่งซ้ อนตั่ง แล้ วกอง
               ่                          ้
เครื่องเสนาสนะไว้ ข้างบน เก็บเครื่องไม้ เครื่องดิน ปิ ดประตูหน้ าต่ างแล้ วจึงหลีกไป ถ้าวิหารฝนรั่วทุกแห่ง ถ้า
อุตสาหะอยู่ พึงขนเครื่ องเสนาสนะเข้าบ้าน หรื อพึงทาความขวนขวายว่า จะขนเครื่ องเสนาสนะเข้าบ้านอย่างไร ถ้า
ได้ตามความขวนขวายอย่างนี้ นันเป็ นความดี ถ้าไม่ได้พึงยกเตียงขึ้นวางบนก้อนศิลา ๔ แผ่นในที่แจ้ง แล้วพึงยกเตียง
                                     ่
ซ้อนเตียง ยกตังซ้อนตัง กองเครื่ องเสนาสนะไว้ขางบน เก็บเครื่ องไม้ เครื่ องดิน แล้วคลุมด้วยหญ้าหรื อใบไม้ แล้ว
                       ่   ่                            ้
จึงหลีกไปด้วยคิดว่า อย่างไรเสี ย ส่ วนของเตียงตังคงเหลืออยูบาง.
                                                    ่              ่ ้
          ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย นี้แล เป็ นวัตรของภิกษุผเู ้ ตรี ยมจะไป ซึ่ งภิกษุ ผูเ้ ตรี ยมจะไปพึงพระพฤติเรี ยบร้อย.
                         ั

                              อรรถกถาที่ อธิบาย [ คมิกวัตร]
          วินิจฉัยในคมิกวัตร พึงทราบดังนี้ :-
          บทว่า ทารุ ภณฺฑ ได้แก่ เตียงและตังเป็ นต้น ที่กล่าวแล้วในเสนาสันกขันธกะ. แม้ภณฑะดิน ก็ได้แก่ภาชนะ
                                                ่                                             ั
สาหรับย้อมเป็ นต้น ภัณฑะทั้งปวงมีประเภทดังกล่าวแล้วในเสนาสนักขันธกะนันแล. ภัณฑะทั้งปวงนั้น อันภิกษุผเู้ ตรี ยม
                                                                                ่
จะไป พึงเก็บไว้ที่โรงไฟหรื อในที่อื่นซึ่ งคุมได้แล้วจึงไป. จะเก็บไว้ในเงื้อมที่ฝนไม่รั่วก็ควร.
                                              ้
          วินิจฉัยในคาว่า เสนาสน อาปุจฺฉิตพฺพ นี้ พึงทราบดังนี้:-
          เสนาสนะใด สร้างไว้บนศิลาดาดหรื อบนเสาศิลา, ปลวกทั้งหลายขึ้นไม่ได้ในเสนาสนะใด, ไม่เป็ นอาบัติ แม้แก่
ภิกษุผไม่บอกมอบเสนาสนะนั้น.
       ู้
    คาว่า จตูสุ ปาสาณเกสุ เป็ นอาทิ พระผูมีพระภาคเจ้าตรัสเพื่อแสดงอาการที่จะพึงกระทา ในเสนาสนะมี
                                                    ้
บรรณศาลาเป็ นต้น อันเป็ นสถานที่เกิดแห่งปลวกทั้งหลาย. ข้อนี้วา บางที แม้ส่วนทั้งหลาย จะพึงเหลืออยูบาง
                                                                     ่                                        ่ ้
ดังนี้ เป็ นอานิสงส์ในเสนาสนะที่ต้ งไว้กลางแจ้ง. ส่ วนในเรื อนที่ฝนรั่วได้ เมื่อหญ้าและก้อนดินตกลงข้างบน (แห่ง
                                     ั
เตียงและตัง) แม้ส่วนทั้งหลายแห่งเตียงและตัง ย่อมฉิ บหายไป
              ่                                   ่                             จบ อรรถกถาที่ อธิบาย [ คมิกวัตร]


          ภัตตานุโมทนา วัตร                ( วิธีการให้ พร อนุโมทนา แนะนาธรรม ให้ กาลังใจ ขอบคุณโยม )

    [๔๒๐] สมัยนั้น ภิกษุท้ งหลายไม่อนุโมทนาในโรงฉัน คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระ
                           ั
สมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้ไม่อนุ โมทนาในโรงฉัน ภิกษุท้ งหลาย ฯลฯ ได้ยนคนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน
                                                          ั             ิ
๘
โพนทะนาอยู่ จึงกราบทูลเรื่ องนั้นแด่พระผูมีพระภาคเจ้า
                                            ้
         ลาดับนั้น พระผูมีพระภาคเจ้าทรงทาธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็ นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้ว
                            ้
รับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า ดูก่อน ภิกษุท้ งหลาย เราอนุ ญาตให้อนุ โมทนาในโรงฉัน.
                  ั                       ั
 [๔๒๑] ครั้งนั้น ภิกษุท้ งหลายคิดว่า ใครหนอพึงอนุโมทนาในโรงฉัน แล้วจึงกราบทูลเรื่ องนั้นแด่พระผูมีพระภาคเจ้า.
                          ั                                                                     ้
         ลาดับนั้น พระผูมีพระภาคเจ้าทรงทาธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็ นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้ว
                              ้
รับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เราอนุ ญาตให้ภิกษุผเู ้ ถระอนุโมทนาโนโรงฉัน.
                    ั                   ั
         [๔๒๒] สมัยนั้น ประชาชนหมู่หนึ่งถวายภัตรแก่พระสงฆ์ ท่านพระสารี บุตรเป็ นสังฆเถระ ภิกษุท้ งหลายคิดว่า
                                                                                                  ั
พระผูมีพระภาคเจ้าทรงอนุญาต ให้ภิกษุผเู้ ถระอนุโมทนาในโรงฉัน จึงเหลือท่านพระสารี บุตรไว้รูปเดียว แล้วพากัน
       ้
กลับไป.          ลาดับนั้น ท่านพระสารี บุตรแสดงความยินดีกะคนเหล่านั้น แล้วได้ไปทีหลังรู ปเดียว.

               พระผูมีพระภาคเจ้าได้ทอดพระเนตรเห็นท่านพระสารี บุตรเดินมาแต่ไกลรู ปเดียว จึงรับสั่งถามว่า ดูก่อน
                    ้
สารี บุตร ภัตรมีมากมายกระมัง? ( มาช้า เพราะจะต้องรับอาหารมาก ๆ ).

 ท่านพระสารี บุตรทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ภัตรมีมากมาย แต่ภิกษุท้ งหลายละข้าพระพุทธเจ้าไว้ผเู ้ ดียว แล้วพากันกลับไป.
                                                                    ั
        ลาดับนั้น พระผูมีพระภาคเจ้าทรงทาธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็ นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้ว
                         ้
รับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เราอนุ ญาตให้ภิกษุเถรานุเถระ ๔ - ๕ รู ป รออยูในโรงฉัน.
                 ั                      ั                                                    ่
                                                          ่                             ่
 [๘๒๓] สมัยต่อมา พระเถระรู ปหนึ่งปวดอุจจาระรออยูในโรงฉันเธอกลั้นอุจจาระอยูจนสลบล้มลง ภิกษุท้ งหลาย          ั
กราบทูลเรื่ องนั้นแด่พระผูมีพระภาคเจ้า ๆ รับสั่งว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เมื่อมีกรณี ยกิจ เราอนุ ญาตให้บอกลาภิกษุผนง
                           ้                                      ั                                              ู ้ ั่
   ่
อยูในลาดับ แล้วไปได้.



                             อรรถกถาที่ อธิบาย       [ เรื่องอนุโมทนา ]
        วินิจฉัยในเรื่ องอนุ โมทนา พึงทราบดังนี้ :- ในสองบทว่า อิทธ อโหสิ มีความว่า ภัตได้เป็ นของถึงพร้อมแล้ว.
        ข้อว่า จตูหิ ปญฺจหิ มีความว่า เมื่อพระสังฆเถระนังแล้วเพื่อต้องการจะอนุโมทนา ภิกษุ ๔ รู ปพึงนังตามลาดับ
                                                             ่                                           ่
ข้างท้าย. เมื่อพระอนุเถระนังแล้ว พระมหาเถระพึงนัง และภิกษุ ๓ รู ปพึงนังข้างท้าย. เมื่อภิกษุรูปที่ ๕ นังแล้ว ภิกษุ
                                ่                        ่                     ่                           ่
๔ รู ปพึงนังข้างบน. เมื่อภิกษุหนุ่มข้างท้าย อันพระสังฆเถระแม้เชิญแล้ว ภิกษุ ๔ รู ป พึงนังตั้งแต่พระสังฆเถระลงมา
               ่                                                                           ่
ทีเดียว. ก็ถาว่า ภิกษุผอนุ โมทนากล่าวว่า ไปเถิด ท่านผูเ้ จริ ญ ไม่มีกิจที่จะต้องคอย ดังนี้ ควรไป. เมื่อพระมหาเถระ
                 ้        ู้
กล่าวว่า ผูมีอายุ พวกเราจะไปละเธอกล่าวว่า นิมนต์ไปเถิด, แม้อย่างนี้ ก็ควรไป.
             ้
                                                               ่
        พระมหาเถระแม้ทาความผูกใจว่า พวกเราจักคอยอยูนอกบ้านดังนี้ ไปถึงนอกบ้านแล้ว แม้จะสั่งนิสิตของตนว่า
เธอทั้งหลายจงคอยความมาของภิกษุน้ น ดังนี้ แล้วไปเสี ย ควรเหมือนกัน.
                                         ั

            ้                                                                          ั ้             ่
        แต่ถาชาวบ้านให้ภิกษุรูปหนึ่ง ซึ่ งตนพอใจ ทาการอนุโมทนา หาเป็ นอาบัติแก่ภิกษุน้ น ผูอนุ โมทนาอยูไม่, ไม่
เป็ นภาระแก่พระมหาเถระ. จริ งอยู่ เพราะในอุปนิสินนกถา ต้องเรี ยนพระเถระก่อนในเมื่อชนทั้งหลายให้กล่าว. ส่ วน
ภิกษุที่พระมหาเถระเชิ ญเพื่ออนุโมทนาแทน ภิกษุท้ งหลายต้องคอย. นี้ เป็ นลักษณะในเรื่ องอนุ โมทนานี้.
                                                  ั
 บทว่า วจฺจิโต มีความว่า พระเถระเกิดปวดอุจจาระ, อธิ บายว่าผูอนอุจจาระบีบคั้นแล้ว ( สุ ดวิสัย ทนไม่ไหว ) .
                                                               ้ั
                     จบอรรถกถาที่ อธิบาย [ เรื่องอนุโมทนา ]
๙


                       ภัตตัคควัตร ( วิธีปฏิบัติตัว ในโรงฉัน ทังในบ้ าน และในวัด ก็พอจะอนุโลมกันได้ )
                                                               ้

          [๔๒๔] สมัยนั้น พระฉัพพัคคียนุ่งห่มไม่เรี ยบร้อย ไม่มีมรรยาทไปสู่ โรงฉัน เดินแซงไปข้างหน้าพระเถระ
                                                             ์
ทั้งหลายบ้าง นังเบียดเสี ยดพระเถระบ้าง เกียดกันพวกภิกษุใหม่ดวยอาสนะบ้าง นังทับสังฆาฏิในละแวกบ้านบ้าง
                              ่                                                  ้                     ่
                   ู้                ้ ั                                             ่
บรรดาภิกษุผที่เป็ นผูมกน้อย สันโดษ มีความละอาย ( ต่อบาป แต่วา จะไม่ละอายที่จะทาความดี เช่นการรักษาศีล ฝึ ก
สมาธิ ปัญญา ถือธุดงค์ ขยัน อดทน ประหยัด สารวม ฯลฯ ) มีความรังเกียจ ภิกษุผใคร่ ต่อสิ กขาบท ( ตั้งใจจะรักษา ที่
                                                                                                           ู้
จะเคาระ กระทาตาม ปฏิบติตามสิ กขาบท ศีล ) ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคียจึงได้นุ่งห่ม
                                                 ั                                                                         ์
ไม่เรี ยบร้อย ไม่มีมรรยาทไปสู่ โรงฉัน เดินแซงไปข้างหน้าพระเถระทั้งหลายบ้าง นังเบียดเสี ยดพระเถระบ้าง เกียดกัน
                                                                                                         ่
พวกภิกษุใหม่ดวยอาสนะบ้าง นังทับสังฆาฏิในละแวกบ้านบ้าง จึงกราบทูลเรื่ อง นั้นแด่พระผูมีพระภาคเจ้า.
                            ้                      ่                                                              ้
          พระผูมีพระภาคเจ้า . . .ทรงสอบถามว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ข่าวว่าภิกษุฉพพัคคียนุ่งห่มไม่เรี ยบร้อย ไม่มี
                 ้                                                            ั                      ั        ์
มรรยาทไปสู่ โรงฉัน เดินแซงไปข้างหน้าพระเถระทั้งหลายบ้าง นังเบียดเสี ยดพระเถระบ้าง เกียดกันพวกภิกษุใหม่ดวย
                                                                                   ่                                                ้
อาสนะบ้าง นังทับสังฆาฏิในละแวกบ้านบ้าง จริ งหรื อ?.
                        ่
                                                               ภิกษุท้ งหลายกราบทูลว่า จริ ง พระพุทธเจ้าข้า.
                                                                          ั
                                พระผูมีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย
                                           ้                                           ั               การกระทาของพวกภิกษุโมฆบุรุษ
เหล่านั้นนัน ( ตามที่วาแล้ว ข้างบน ) ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทา ไฉน ภิกษุนน
              ่                                ่                                                                                        ั่
จึงไม่ทาตาม ภัตตัคควัตร เล่า การกระทาของพวกภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนัน ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควรไม่ใช่กิจของ
                                                                                             ่
สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทา ไฉน ภิกษุโมฆบุรุษ จึงกระทาอย่างนั้น การกระทาของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนัน ไม่                         ่
เป็ นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส หรื อเพื่อความเลื่อมใสยิงของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้การ
                                                         ั                                       ่
กระทาของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น นัน เป็ นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็ นอย่างอื่น
                                                     ่                                             ั
ของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว
                                พระผูมีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริ ยาย ดังนี้ แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็ นคน
                                         ้
เลี้ยงยาก ความเป็ นคนบารุ งยาก ความเป็ นคนมักมาก ความเป็ นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัส
คุณแห่งความเป็ นคนเลี้ยงง่าย ความเป็ นคนบารุ งง่ายความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกาจัด อาการที่น่า
เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริ ยายทรงกระทาธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่ องนั้น ที่เหมาะสม
แก่เรื่ องนั้น แก่ภิกษุท้ งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า
                                             ั                          ั
        ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุท้ งหลาย อาศัยอานาจประโยชน์ ๑๐ ประการ
                                 ั                     ั                                       ั
คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสาราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผูเ้ ก้อยาก ๑ เพื่ออยูสาราญแห่งภิกษุผมีศีล      ่          ู้
เป็ นที่รัก ๑ เพื่อป้ องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปั จจุบน ๑ เพื่อกาจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใส
                                                                            ั
ของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิงของชุ มชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมันแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ
                      ั                                             ่                                           ่
ถือตามพระวินย ๑           ั
            ครั้นแล้วทรงทาธรรมีกถารับสังกะภิกษุท้ งหลายว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติวตร
                                                           ่          ั                    ั                        ั                 ั
ในโรงฉันแก่ภิกษุท้ งหลาย โดยประการที่ภิกษุท้ งหลาย พึงประพฤติเรี ยบร้อยในโรงฉัน.
                                   ั                              ั
          [๔๒๕] ถ้าภัตตุเทสก์บอกภัตกาลในอาราม ภิกษุเมื่อปกปิ ดมณฑล ๓ พึงนุ่งให้เป็ นปริ มณฑล คาดประคดเอว ห่ม
ผ้าซ้อน ๒ ชั้นกลัดลูกดุม ล้างบาตรแล้วถือเข้าบ้านโดยเรี ยบร้อย ไม่ตองรี บร้อน ไม่พึงเดินแซงไปข้างหน้าพระ-เถระ
                                                                                         ้
ทั้งหลาย พึงปกปิ ดกายด้วยดีไปในละแวกบ้าน พึงสารวมด้วยดีไปในละแวกบ้าน พึงมีตาทอดลงไปในละแวกบ้าน
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า

More Related Content

What's hot

อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
Wataustin Austin
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
Onpa Akaradech
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
Nhui Srr
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
Oppo Optioniez
 

What's hot (20)

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์
 
บทสวดมนต์
บทสวดมนต์บทสวดมนต์
บทสวดมนต์
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 

Similar to ๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า

1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
Carzanova
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
Tongsamut vorasan
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
dentyomaraj
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
Tongsamut vorasan
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
New Nan
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
Tongsamut vorasan
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
Taweedham Dhamtawee
 
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนาอุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
Songsarid Ruecha
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
Tongsamut vorasan
 

Similar to ๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า (20)

1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนาอุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
 
Immortality Thama.Pps
Immortality Thama.PpsImmortality Thama.Pps
Immortality Thama.Pps
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 

๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า

  • 1. ๑ ทางสู่ความอบอุ่น จากพระวินยปิ ฎก จุลวรรค เล่ม ๗ ภาค ๒ ข้อที่ ๔๑๔ หรื อเล่ มที่ ๙ ข้อที่ ๔๑๔ หน้า 337 ถึง ข้อที่ ๔๔๖ หน้า ๓๙๗ ั ถ้านับจาก ชุด ๙๑ เล่ม วิธีหาเรื่ องวัตร ๑๔ ง่ ายๆ ก็ให้ ดูที่ วินย จุลวรรค ดูข้อที่ ๔๑๔ เป็ นหลัก คือ ชื่ อ วินย จุลวรรค และข้ อ ๔๑๔ จะตรงกัน ส่ วนเล่ ม อาจจะไม่ ตรงกัน วิธีการ อุปัฏฐาก ต้อนรับ พระภิกษุสงฆ์ สามเณร ชี ปะขาว (นาค) ครูบาอาจารย์(พ่อ แม่ ผู้หลัก ผู้ใหญ่) ทางวัดป่ าดงใหญ่ ได้ทดลองทามาแล้ว ปรากฎว่าได้ผลดีมากเหนือความคาดหมาย ได้รับความสาเร็ จทั้งทางโลก และธรรม ได้ทาง ความสุข บริ สุทธิ์ และได้ทางวัตถุ ทาให้ท้ งบรรพชิต และคฤหัสถ์ ได้บรรลุธรรม อดทน กล้าหาญ ฉลาด ประหยัด ละอายบาป และกลัว ั บาป แต่จะไม่กลัวที่จะทาดี มีศีล สมาธิ ปั ญญา นิพพาน มีความรู ้ความเห็นเรื่ องนิพพาน มีความสุข สงบ สบาย สามัคคี มีพลังกาย กาลังใจ ไม่หดหู่ สามารถสร้างพระว่าที่โสดาบัน โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อรหันต์ ได้มาแล้วหลายรู ป หลายองค์ มาแล้ว จึงขอเชิญ ชวน ทุกท่าน ทุกคน จงมาร่ วมทา ปฏิบติตามวัตรทั้ง ๑๔ นี้ กันเถิด.. ( อาจจะดัดแปลงไปใช้ กับ บ้าน ที่อยู่ ครอบครัว บริ ษท ชุมชน โรมเรี ยน โรงพยาบาล ฯลฯ ) ั ั สาหรับในเรื่ อง ๑๔ วัตร นี้ ภิกษุผไม่บาเพ็ญวัตร ชื่อว่าไม่บาเพ็ญศีล ผูมีศีลไม่บริ สุทธิ์ ทรามปั ญญา ย่อมไม่ประสบเอกัคคตาจิต ู้ ้ ( เอกัคคตาจิตคือ จิตที่เป็ นอารมณ์เดียว คือได้สมาธิ ) ผูมีจิตฟุ้ งซ่าน มีอารมณ์มาก ย่อมไม่เห็นธรรมโดยชอบ เมื่อไม่เห็นพระสัทธรรม ย่อมไม่ ้ พ้นจากทุกข์.. ส่วนภิกษุผที่บาเพ็ญวัตร ได้ชื่อว่าบาเพ็ญศีล ผูมีศีลบริ สุทธิ์ มีปัญญา ย่อมประสบเอกัคคตาจิต ผูมีจิตไม่ฟงซ่าน มีอารมณ์ ู้ ้ ้ ุ้ อย่างเดียว ย่อมเห็นธรรมโดยชอบ เมื่อเห็นพระสัทธรรม ย่อมพ้นจากทุกข์ได้ เพราะเหตุน้ น แล โอรสของพระชินเจ้า ผูมีปัญญาเห็น ั ้ ประจักษ์ พึงบาเพ็ญวัตร (๑๔) อันเป็ นพระโอวาทของพระพุทธเจ้าผูประเสริ ฐ แต่น้ นจักถึงพระนิพพาน ดังนี้แล.. เรื่ อง ๑๔ วัตรนี้ ก็ได้แก่ ้ ั ถ้ า.. เราทาได้ ทุกรายการในแต่ ละข้ อ และทาได้ ตลอด ทุก ๆ วัน ประมาณเต็ม ๑๐๐ ให้ เติม ก ถ้ าทาได้ ๗๕ เติม ข ถ้ าทาได้ ๕๐ เติม ค ทาได้ ๒๕ เติม ง ไม่ ได้ ทาเลย เติม จ โดยให้ เติมลงในช่ อง ทาได้ ด้ านขวามือสุด ชื่ อ............. .......... ..........ชื่ อเล่ น.... .........ฉายา/นามสกุล......... .................. ...ของผู้บันทึ ก เกิด ว/ด/ป...................กรอก ว/ด/ป................... ภิกษุ สามเณร ปะขาว โยม ผู้ทบาเพ็ญวัตร ทั้ง ๑๔ ชื่อว่ า บาเพ็ญศีล ผู้มศีลบริสุทธิ์ เสริมสมาธิ มีปัญญา ี่ ี ทา ถ้าไม่ทา ก็ถือว่า ศีลไม่ดี เป็ นอาบัติทุกกฎ (ทาชัว ทาไม่ดี) ในทุก ๆ ข้อที่วา ด้วยคาว่า อย่า ๆ ไม่ ๆ ดังนั้นเมื่อทาแล้วจะดีมาก ได้ ่ ่ 1. อาคันตุกวัตร ( หน้าที่ของผูที่จะมา ผูมาเยียม แขก ที่จะต้องรู ้? ว่า ควรจะทาตัวอย่างไรดี จะถาม จะอยู่ จะนัง ฯลฯ ) ้ ้ ่ ่ ่ 2. อาวาสิกวัตร ( สาหรับที่อยูประจาวัด ประจาที่ เจ้าภาพ เจ้าถิ่น ว่าจะต้อนรับผูที่มาเยือนอย่างไรดี จัดที่นง น้ า อื่น ๆ ) ้ ั่ 3. คมิกวัตร ( สาหรับผูที่เตรี ยมจะไป จะออกเดินทางไปจากที่อยูเ่ ดิม ควรจะทา เตรี ยม เก็บ คืนสิ่งของ บอกก่อน? ) ้ 4. ภัตตานุโมทนาวัตร ( วิธีการให้พร อนุโมทนา แนะนาธรรม ที่เหมาะกับเขา ขอบใจ ขอบคุณโยมที่มาทาบุญ ) 5. ภัตตัคควัตร ( วิธีปฏิบติตว ในโรงฉัน วิธีการเตรี ยมสถานที่ จัดที่นง ที่รับประทานอาหาร ทั้งในบ้าน และในวัด ) ั ั ่ั 6. ปิ ณฑจาริกวัตร ( วิธีการไปรับอาหารบิณฑบาตจากชาวบ้าน จะทาตัวอย่างไร วิธีรับ ไป กลับช้า เร็ ว ตามเวลา ?) ่ ่ 7. อารัญญิกวัตร ( วิธีการอยูป่า จะอยูแบบไหนจึงจะปลอดภัย จึงจะได้คุณธรรม บรรลุ ศีล สมาธิ ปั ญญาเร็ ว ๆ ) ่ ่ ั่ 8. เสนาสนวัตร ( การรักษา ทาความสะอาดที่อยูอาศัย โบสถ์ ศาลา กุฎี ที่นงพัก โรงน้ าร้อน โรงครัว ซุ้ม ที่อยูทวๆไป ในวัด ) ั่ 9. ชันตาฆรวัตร ( วิธีการอบไอน้ าจากต้นไม้ที่เป็ นยาสมุนไพร จะเตรี ยมห้อง ยา ก่อไฟ อบเร็ ว -ช้า จะ เก็บ ?) 10. วัจจกุฏีวตร ( เรื่ องของส้วมว่าจะทาความสะอาด เตรี ยมน้ า จะล้าง ก่อนจะเข้า ต้องกระแอม จะออกอย่างไรดี?) ั 11. อุปัชฌายวัตร (หน้าที่ของสิทธิวหาริ กคือศิษย์ที่บวชกับอุปัชฌาย์น้ นแล้วอยูกบท่าน แล้วจะปฏิบติต่อพระอุปัชฌาย์ เช่น ิ ั ่ ั ั ช่วยเหลืองานที่ไม่ผิดศีล ซักผ้า ล้างบาตร อาบน้ า มีเคารพท่าน ยอมรับคาแนะนาสังสอน เชื่อฟัง ดูแลเมื่อเจ็บป่ วย ฯ ) ่ ิ ั 12. สัทธิวหาริกวัตร ( หน้าที่ของพระอุปัชฌาย์กบศิษย์ที่ตวเองบวชให้ จะแนะนา สังสอนศิษย์ สอนกรรมฐาน นิพพานให้ ฯ ) ั ่ 13. อาจริยวัตร ( หน้าที่ศิษย์ ( อันเตวาสิ ก ) ที่ตองกระทากับอาจารย์ อุปัฏฐาก ศึกษาเล่าเรี ยนธรรม คอยรับใช้ ช่วยเหลือ) ้ ่ 14. อันเตวาสิกวัตร ( อาจารย์ ควรจะต้องกระทากับศิษย์ ที่มาขอศึกษาธรรมวินยด้วย เช่น สอนฝึ กกรรมฐาน วิธีอยูใน ั เพศสมณะให้มีความสุข รักษาศีล ฝึ กสมาธิ วิปัสสนา มรรค ผล การหาวิธีการพ้นทุกข์ เพื่อบรรลุนิพพานที่บรมสุข ฯ ) รายละเอียดเต็ม ๆ (๓๔ หน้ า) ขอได้ที่ วัดป่ าดงใหญ่ จงมีสุข พ้ นทุกข์ บรรลุนิพพานบรมสุข เร็ ว ๆ ไว ๆ เทอญ.. จากพระประสิ ทธิ์ ( แววศรี ) ฐานะธัมโม จาก วัดป่ าดงใหญ่ ๑๓๕ หมู่ ๒ บ้านแดงหม้ อ ตาบลแดงหม้ อ อาเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ๓๔๑๕๐ อีเมล watpadongyai@hotmail.com
  • 2. ๒ เส้นทางสูความสุข ทีเ่ ราทุกคนควรจะทาคือ วัตร ๑๔ อธิบายทีมา เหตุทมี ผลทีจะได้ ่ ่ ี่ ่ จะขอเริ่มอธิบาย วัตร ทั้ง ๑๔ ทีได้พยายาม คัด เรี ยบเรี ยงมาจาก วัตตขันธกะ ในพระไตรปิ ฎก เล่มที่ ๙ วินย จุลวรรค ข้อที่ ๔๑๔ ่ ั หน้า ๓๓๗ ถึงข้ อ ๔๔๖ และ มี อรรถกถา ด้ วย จนถึงหน้ า ๓๙๗ จาก ชุด ๙๑ เล่ ม ถ้ าฉบับบาลี ๔๕ เล่ ม จะอยู่ในเล่ ม ๗ ดังต่ อไปนี ้ เรื่องพระอาคันตุกะ ( คือ ผู้ทมาเยียม มาใหม่ มาเยือน แขก ) ี่ ่ [๔๑๔] โดยสมัยนั้น พระผูมีพระภาคพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขต ้ พระนครสาวัตถี ครั้งนั้นพระอาคันตุกะ ( พระที่มาจากที่อื่น จากวัดอื่น ) สวมรองเท้าเข้าไปสู่ อารามก็มี กั้นร่ มเข้า ไปสู่ อารามก็มี คลุมศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี พาดจีวรบนศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี ล้างเท้าด้วยน้ าฉัน ( น้ าดื่ม ) ก็มี ไม่ ไหว้ภิกษุเจ้าถิ่นผูแก่พรรษากว่าก็มี ไม่ถามเสนาสนะก็มี มีพระอาคันตุกะรู ปหนึ่ง ถอดลิ่มแล้วผลักบานประตูเข้าไปสู่ ้ ่ วิหารที่ไม่มีใครอยูโดยพลัน งูตกจากเบื้องบนลงมาที่คอของเธอ เธอกลัวร้องขึ้นสุ ดเสี ยง ภิกษุท้ งหลายรี บเข้าไปถามว่า ั ท่านร้องสุ ดเสี ยงทาไม ? เธอจึงบอกเรื่ องนั้นแก่ภิกษุท้ งหลาย บรรดาภิกษุที่เป็ นผูมกน้อย สันโดษ มีความละอาย ( ต่อ ั ้ ั บาป แต่วา จะไม่ละอายที่จะทาความดี ) มีความรังเกียจ ภิกษุผใคร่ ต่อสิ กขาบท ( ตั้งใจจะรักษาศีล ที่จะเคารพในศีล กระทา ่ ู้ ตามศีล ปฏิบติตามสิ กขาบท (ศีล) ในศีล ซึ่งเป็ นสิ่ งที่ดีมาก ) ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉน พระอาคันตุกะจึงสวม ั ี รองเท้าเข้าไปสู่ อารามก็มี กั้นร่ มเข้าไปสู่ อารามก็มี คลุมศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี พาดจีวรบนศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี ล้างเท้าด้วยน้ าฉันก็มี (จะต้องใช้ น้ าใช้ หรื อน้ าสาหรับใช้ลางเท้า จึงจะถูก) ไม่ไหว้ภิกษุเจ้าถิ่นผูแก่พรรษากว่าก็มี ไม่ถาม ้ ้ เสนาสนะก็มีแล้วกราบทูลเรื่ องนั้น แด่พระผูมีพระภาคเจ้า. ้ พระผูมีพระภาคเจ้า . . . ทรงสอบถามว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ข่าวว่าภิกขุอาคันตุกะสวมรองเท้าเข้าไปสู่ อารามก็มี ้ ั กั้นร่ มเข้าไปสู่ อารามก็มี คลุมศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี พาดจีวรบนศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี ล้างเท้าด้วยน้ าฉันก็มี ไม่ ไหว้ภิกษุเจ้าถิ่นผูแก่พรรษากว่าก็มี ไม่ถามเสนาสนะก็มี จริ งหรื อ?. ้ ภิกษุท้ งหลายกราบทูลว่า จริ ง พระพุทธเจ้าข้า. ั พระผูมีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ไฉนภิกษุอาคันตุกะจึงได้สวมรองเท้า ้ ั เข้าไปสู่ อารามก็มี กั้นร่ มเข้าไปสู่ อารามก็มีคลุมศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี พาดจีวรบนศีรษะเข้าไปสู่ อารามก็มี ล้างเท้า ด้วยน้ าฉันก็มี ไม่ไหว้ภิกษุเจ้าถิ่นผูแก่พรรษากว่าก็มี ไม่ถามเสนาสนะก็มี ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย การกระทาของภิกษุ ้ ั เหล่านั้น ไม่เป็ นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส . . . ั พระผูมีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ้ ั การกระทาของพวกภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนัน ่ ( ตามที่วาแล้ว ข้างบน ) ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทา ไฉน ภิกษุนน จึงไม่ทาตาม ่ ั่ อาคันตุกะวัตร เล่า การกระทาของพวกภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนัน ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควรไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ ่ ไม่ได้ ไม่ควรทา ไฉน ภิกษุโมฆบุรุษ จึงกระทาอย่างนั้น การกระทาของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนัน ไม่เป็ นไปเพื่อ ่ ความเลื่อมใสของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส หรื อเพื่อความเลื่อมใสยิงของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้การกระทาของ ั ่ ภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น นัน เป็ นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็ นอย่างอื่นของชนบาง ่ ั พวกที่เลื่อมใสแล้ว พระผูมีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริ ยาย ดังนี้ แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็ นคนเลี้ยงยาก ้ ความเป็ นคนบารุ งยาก ความเป็ นคนมักมาก ความเป็ นคนไม่สนโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่ งความ ั เป็ นคนเลี้ยงง่าย ความเป็ นคนบารุ งง่ายความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกาจัด อาการที่น่าเลื่อมใส
  • 3. ๓ การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริ ยายทรง กระทาธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่ องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่ อง นั้น แก่ภิกษุท้ งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า ั ั ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุท้ งหลาย อาศัยอานาจประโยชน์ ๑๐ ประการ ั ั ั ่ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสาราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผูเ้ ก้อยาก ๑ เพื่ออยูสาราญแห่งภิกษุผมีศีล ู้ เป็ นที่รัก ๑ เพื่อป้ องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปั จจุบน ๑ เพื่อกาจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใส ั ของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิงของชุ มชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมันแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ ั ่ ่ ถือตามพระวินย ๑ ั ครั้นแล้วทรงทาธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่าดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจัก ั ั ั บัญญัติวตรแก่ภิกษุอาคันตุกะทั้งหลาย โดยประการที่ภิกษุอาคันตุกะทั้งหลายจะพึงประพฤติเรี ยบร้อย. ั อาคันตุกวัตร (หน้าที่ของ สาหรับ ผูที่จะมา ผูมาเยียม แขก ) ้ ้ ่ [๔๑๕] ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ภิกษุอาคันตุกะคิดว่า จักเข้าไปสู่ อารามเดี๋ยวนี้พงถอดรองเท้าเคาะ แล้วถือไปต่า ๆ ั ึ ลดร่ ม เปิ ดศีรษะ ลดจีวรบนศีรษะลงไว้ที่บา ไม่ตองรี บร้อน พึงเข้าไปสู่ อารามตามปกติ เมื่อเข้าไปสู่ อารามพึง ่ ้ สังเกตว่า ภิกษุเจ้าถิ่นประชุมกันที่ไหน ภิกษุเจ้าถิ่นประชุมกันที่ใด คือ ที่โรงฉัน มณฑป หรื อโคนไม้ พึงไปที่น้ น ั ่ วางบาตรไว้ที่แห่งหนึ่งวางจีวรไว้ที่แห่งหนึ่ง พึงถืออาสนะที่สมควรนัง พึงถามถึงน้ าฉัน พึงถามถึง น้ าใช้วา ไหนน้ า ่ ฉัน ไหนน้ าใช้ ถ้าต้องการน้ าฉัน พึงตักน้ าฉันมาดื่ม ถ้าต้องการน้ าใช้ พึงตักน้ าใช้มาล้างเท้า เมื่อล้างเท้า พึงรด น้ าด้วยมือข้างหนึ่งพึงล้างเท้าด้วยมือข้างหนึ่ง รดน้ าด้วยมือใด ไม่พึงล้างเท้าด้วยมือนั้น พึงถามถึงผ้าเช็ดรองเท้าแล้วจึง เช็ดรองเท้า เมื่อจะเช็ดรองเท้า พึงใช้ผาแห้งเช็ดก่อนใช้ผาเปี ยกเช็ดทีหลัง พึงซักผ้าเช็ดรองเท้าบิดแล้วผึ่งไว้ที่ควรแห่ง ้ ้ หนึ่ง ถ้าภิกษุเจ้าถิ่นแก่พรรษากว่า พึงอภิวาท ถ้าอ่อนพรรษกว่า พึงให้เธออภิวาท พึงถามถึงเสนาสนะว่า เสนาสนะ ไหนถึงแก่ผม พึงถามถึงเสนาสนะที่มีภิกษุอยู่ หรื อที่ไม่มีภิกษุอยู่ พึงถามถึงโคจรคาม พึงถามถึงอโคจรคาม ( คือ สถานที่ ที่พระไม่ควรไป เช่น มีชาง เสื อ งู สัตว์ร้าย หมา ดุ มีเหว หนาม ที่เป็ นอันตราย มีแหล่งการพนัน ค้ายาบ้า ้ ที่กินเหล้า ที่ซ่องสุ มของโจร โรงมหรสพ โรงแรม ที่มวสุ มอบายมุข หรื อที่ท่ีอาจจะไม่เหมาะสม และเป็ นอันตรายกับ ั่ ่ พระ ) พึงถามถึงสกุลทั้งหลายที่ได้รับสมมติวาเป็ นเสกขะ ( ตระกูล หรื อบ้าน หรื อเรื อน หรื อครอบครัว หรื อโยมคนที่ ชอบทาบุญจนเกือบหมดตัว ) พึงถามถึงที่ถ่ายอุจจาระ พึงถามถึงที่ถ่ายปัสสาวะ พึงถามถึงน้ าฉัน พึงถามถึงน้ าใช้ พึง ถามถึงไม้เท้า พึงถามถึงกติกาสงฆ์ที่ต้ งไว้วา ควรเข้าเวลาเท่าไร ควรออกเวลาเท่าไร ถ้าวิหารไม่มีภิกษุอยู่ พึงเคาะประตู ั ่ รออยูสักครู่ หนึ่งแล้วถอดลิ่มผลักบานประตู ยืนอยูขางนอกแลดูให้ทว ถ้าวิหารรก หรื อเตียงซ้อนอยูบนเตียงหรื อตัง ่ ่ ้ ั่ ่ ่ ซ้อนอยูบนตัง เสนาสนะมีละอองจับอยูเ่ บื้องบน ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงชาระเสี ย เมื่อจะชาระวิหาร พึงขนเครื่ องลาดพื้น ่ ่ ออกไปวางไว้ที่ควรแห่งหนึ่งก่อน พึงขนเขียงรองเท้าเตียงออกไปวางไว้ท่ีควรแห่งหนึ่ ง พึงขนฟูกและหมอนออกไปวาง ไว้ที่ควรแห่งหนึ่ง พึงขนผ้านิสีทนะและผ้าปูนอนออกไปวางไว้ท่ีควรแห่งหนึ่ง เตียง ตัง อันภิกษุพึงยกต่า ๆ ทาให้ ่ เรี ยบร้อย อย่าให้ครู ดสี กระทบบานและกรอบประตู ขนไปวางไว้ท่ีควรแห่งหนึ่ง กระโถนพึงขนออกไปวางไว้ที่ควร แห่งหนึ่ง พนักอิงพึงขนออกไปวางไว้ที่ควรแห่งหนึ่งถ้าในวิหารมีหยากเยือ พึงกวาดแต่เพดานลงมาก่อน พึงเช็ดกรอบ ่ หน้าต่าง ประตูและมุมห้อง ถ้าฝาทาน้ ามันขึ้นรา พึงเอาผ้าชุบน้ าบิดแล้วเช็ด ถ้าพื้นทาสี ดาขึ้นรา พึงเอาผ้าชุบน้ าบิดแล้วเช็ด ถ้าพื้นไม่ได้ทา พึงเอาน้ าพรมแล้วกวาด ด้วยคิดว่าอย่าให้ฝนกลบวิหาร พึงเก็บกวาดหยากเยือไปทิ้งเสี ย ณ ที่ควรแห่ง ุ่ ่ หนึ่ง เครื่ องลาดพื้น พึงผึ่งแดดชาระเคาะปั ด แล้วขนกลับไปปูไว้ตามเดิม เขียงรองเท้าเตียง พึงผึ่งแดด ขัด เช็ดแล้ว ขนกลับตั้งไว้ตามเดิม เตียง ตัง พึงผึ่งแดด ขัดสี เคาะ ยกต่า ๆ ทาให้ดี อย่าให้ครู ดสี กระทบบานและกรอบประตู ่
  • 4. ๔ ขนกลับตั้งไว้ตามเดิม ฟูกและหมอนตากแห้งแล้ว สลัดปัด ให้สะอาด ขนกลับวางไว้ตามเดิม ผ้าปูนงและผ้าปูนอน ั่ ตากแห้งแล้ว สลัดให้สะอาด ขนกลับปูไว้ตามเดิม กระโถน พนักอิง ตากแล้ว พึงเช็ด ขนกลับไปทั้งไว้ตามเดิม พึง เก็บบาตร จีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่ง จับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลาใต้เตียงหรื อใต้ตง แล้วเก็บบาตร แต่ ั่ อย่าเก็บบาตรบนพื้นที่ปราศจากเครื่ องรอง เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวรเอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรื อสาย ระเดียง พึงทาชายไว้ขางนอก ขนดไว้ขางในเก็บจีวร ถ้ามีลมเจือด้วยผงคลีพดมาทางทิศตะวันออก พึงปิ ดหน้าต่าง ้ ้ ั ด้านตะวันออก ถ้ามีลมเจือด้วยผงคลีพดมาทางทิศตะวันตก พึงปิ ดหน้าต่างด้านตะวันตก ถ้ามีลมเจือด้วยผงคลีพดมา ั ั ทางทิศเหนื อ พึงปิ ดหน้าต่างด้านเหนือถ้ามีลมเจือด้วยผงคลีพดมาทางทิศใต้ พึงปิ ดหน้าต่างด้านใต้ ถ้าฤดูหนาว ั กลางวันพึงเปิ ดหน้าต่าง กลางคืนพึงปิ ด ถ้าฤดูร้อน กลางวันพึงปิ ดหน้าต่างกลางคืนพึงเปิ ด ถ้าบริ เวณ ซุ มน้ า โรงฉัน ้ โรงไฟ วัจจกุฎีรก พึงปั ดกวาด เสี ย ถ้าน้ าฉัน น้ าใช้ไม่มี พึงจัดตั้งไว้ ถ้าน้ าในหม้อชาระไม่มี พึงตักน้ ามาไว้ในหม้อ ใน ตุ่มน้ าสาหรับชาระ. ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย นี้แล เป็ นวัตรของภิกษุอาคันตุกะทั้งหลายซึ่ งภิกษุอาคันตุกะทั้งหลายพึงประพฤติเรี ยบร้อย. ั อรรถกถาที่ อธิบาย [ อาคันตุกวัตร ] พระผูมีพระภาคเจ้าทรงแสดงที่ใกล้อุปจารสี มา ด้วยพระพุทธพจน์น้ ีวา บัดนี้ เราจักเข้าสู่ อาราม; เพราะฉะนั้น ้ ่ ่ ภิกษุถึงอุปจารสี มาแล้ว พึงทาคารวกิจทั้งปวง มีถอดรองเท้าเป็ นต้น. บทที่วา คเหตฺวา ได้แก่ ใช้ไม้เท้าคอนรองเท้าไป. ่ ่ ในบทที่วา ปฏิกฺกมนฺติ ได้แก่ ประชุมกัน. หลายบทที่วา อุปาหนปุญฺฉนโจฬน ปุจฺฉิตฺวา อุปาหนา ปุญฺฉิตพฺพา มี ่ ความว่า พึงถามภิกษุท้ งหลายผูเ้ จ้าถิ่นว่า ผ้าเช็ดรองเท้าอยูที่ไหน?. ั บทว่า วิสชฺ เชตพฺพ คือ พึงผึ่งไว้. ่ ่ ข้อว่า โคจโร ปุจฺฉิตพฺโพ มีความว่า พึงถามถึงที่เที่ยว เพื่อภิกษาอย่างนี้วา โคจรคามอยูใกล้หรื อไกล. ภิกษุ พึงเที่ยวบิณฑบาตแต่เช้าหรื อสาย ? ดังนี้ . บ้านของพวกมิจฉาทิฏฐิก็ดี บ้านที่มีภิกษาเขาจากัดไว้กดี ชื่ อว่า อโคจร. ็ ภิกษาในบ้านใด เขาถวายแก่ภิกษุรูปเดียวหรื อ ๒ รู ป บ้านแม้น้ น ก็ควรถาม. ั ่ หลายบทว่า ปานีย ปุจฺฉิตพฺพ, ปริโภชนีย ปุจฺฉิตพฺพ มีความว่า พึงถามถึงน้ าใช้อย่างนี้วา ภิกษุท้ งหลาย ย่อม ั ดื่มน้ าที่ควรดื่มแห่งสระนี้ ทั้งทาการใช้สอย มีอาบ เป็ นต้นด้วยหรื อ ? สัตว์ร้ายหรื อเหล่าอมนุษย์ ย่อมมีในสถานบาง ตาบล, เพราะฉะนั้น จึงควรถามว่า ควรเข้าไปเวลา (เท่า) ไร ? ควรออกมาเวลา (เท่า) ไร ? สองบทว่า พหิ ิิเตน มีความว่า เห็นทางของงูหรื อของอมนุษย์กาลังออกไป พึงยืนดูอยูขางนอก. ่ ้ หลายบทว่า สเจ อุสฺสหติ โสเธตพฺโพ มีความว่า ถ้าว่าตนสามารถ, พึงชาระสานักทั้งหมดให้สะอาด, เมื่อไม่ ่ สามารถ พึงจัดแจงโอกาสเป็ นที่อยูของตน. ก็แลในธรรมเนียมแห่งการชาระสานักให้สะอาด ที่พระผูมีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้ว สาหรับภิกษุผสามารถชาระ ้ ู้ สานักทั้งหมดให้สะอาด พึงทราบวินิจฉัย ตามนัยที่กล่าวแล้วในมหาขันธกะนันแล. จบ อรรถกถาที่ อธิบาย [ อาคันตุกวัตร ] ่ อาวาสิกวัตร (หน้ าทีของ สาหรับผู้ทอยู่ประจาวัด ประจาที่ ประจาถิน เจ้ าถิน ) ่ ี่ ่ ่ [๔๑๖] สมัยนั้น ภิกษุเจ้าถิ่นเห็นพระอาคันตุกะแล้ว ไม่ปูอาสนะไม่ต้ งน้ าล้างเท้า ไม่ต้ งตังรองเท้า ไม่ต้ ง ั ั ่ ั กระเบื้องเช็ดเท้าไว้ ไม่ลุกรับบาตร จีวร ไม่ถามด้วยน้ าฉัน ไม่ถามด้วยน้ าใช้ ไม่ไหว้พระอาคันตุกะแม้ผแก่กว่าไม่จด ู้ ั ่ เสนาสนะให้ บรรดาภิกษุที่เป็ นผูมกน้อย สันโดษ มีความละอาย ( ต่อบาป แต่วา จะไม่ละอายที่จะทาความดี ) มีความ ้ ั รังเกียจ ภิกษุผใคร่ ต่อสิ กขาบท ( ตั้งใจจะรักษาศีล ที่จะเคารพศีล กระทาตามศีล ปฏิบติตามสิ กขาบท (ศีล) ตามศีล ) ู้ ั
  • 5. ๕ ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉน ภิกษุเจ้าถิ่น เห็นพระอาคันตุกะแล้ว จึงไม่ปูอาสนะไม่ต้ งน้ าล้างเท้า ั ไม่ต้ งตังรองเท้า ไม่ต้ งกระเบื้องเช็ดเท้า ไม่ลุกรับบาตร รับจีวร ไม่ถามด้วยน้ าฉัน ไม่ถามด้วยน้ าใช้ ไม่ไหว้พระ ั ่ ั อาคันตุกะผูแก่กว่า ไม่จดเสนาสนะให้ จึงกราบทูลเรื่ องนั้นแด่พระผูมีพระภาคเจ้า. ้ ั ้ พระผูมีพระภาคเจ้า ... ทรงสอบถามว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ข่าวว่า. ( ตามที่วาแล้ว ข้างบน ) . .จริ งหรื อ ?. ้ ั ่ ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า จริ ง พระพุทธเจ้าข้า. พระผูมีพระภาคเจ้าทรงติเตียน ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย การกระทาของพวกภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนัน ไม่เหมาะ ไม่สม ้ ั ่ ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทา ไฉน ภิกษุนน จึงไม่ทาตาม อาว่าสิ วตร เล่า โดยที่แท้การกระทาของ ่ั ั ภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น นัน เป็ นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็ นอย่างอื่นของชนบาง ่ ั พวกที่เลื่อมใสแล้ว พระผูมีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริ ยาย ดังนี้ แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็ นคนเลี้ยงยาก ้ ความเป็ นคนบารุ งยาก ความเป็ นคนมักมาก ความเป็ นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่ งความ เป็ นคนเลี้ยงง่าย ความเป็ นคนบารุ งง่ายความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกาจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริ ยายทรงกระทาธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่ องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่ องนั้น แก่ภิกษุท้ งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า ั ั ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุท้ งหลาย อาศัยอานาจประโยชน์ ๑๐ ประการ ั ั ั ่ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสาราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผูเ้ ก้อยาก ๑ เพื่ออยูสาราญแห่งภิกษุผมีศีล ู้ เป็ นที่รัก ๑ เพื่อป้ องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปั จจุบน ๑ เพื่อกาจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใส ั ของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิงของชุ มชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมันแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ ั ่ ่ ถือตามพระวินย ๑ ั ครั้นแล้วทรงทาธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติวตร ั ั ั ั แก่ภิกษุเจ้าถิ่นทั้งหลาย โดยประการที่ภิกษุเจ้าถิ่นทั้งหลายจะพึงประพฤติ [๔๑๗] ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ภิกษุเจ้าถิ่นเห็นภิกษุอาคันตุกะผูแก่กว่าแล้วพึงปูอาสนะ พึงตั้งน้ าล้างเท้า ตัง ั ้ ่ รองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า พึงลุกรับบาตร จีวร พึงถามด้วยน้ าฉัน พึงถามด้วยน้ าใช้ ถ้าอุตสาหะ พึงเช็ดรองเท้าเมื่อจะ เช็ดรองเท้า พึงใช้ผาแห้งเช็ดก่อนใช้ผาเปี ยกเช็ดทีหลัง พึงซักผ้าเช็ดรองเท้าบิดแล้วผึ่งไว้ ณ ที่ควรแห่งหนึ่ง พึง ้ ้ อภิวาทภิกษุอาคันตุกะผูแก่กว่าพึงจัดเสนาสนะถวายว่า เสนาสนะนันถึงแก่ท่าน พึงบอกเสนาสนะที่มีภิกษุอยูหรื อไม่มี ้ ่ ่ ภิกษุอยู่ พึงบอกโคจรคาม พึงบอกอโคจรคาม พึงบอกสกุลที่เป็ นเสกขสมมติ พึงบอกที่ถ่ายอุจจาระ พึงบอกที่ถ่าย ปั สสาวะ พึงบอกน้ าฉันพึงบอกน้ าใช้ พึงบอกไม้เท้า พึงบอกกติกาสงฆ์ท่ีต้ งใจว่า เวลานี้ควรเข้า เวลานี้ควรออก ถ้า ั ภิกษุอาคันตุกะอ่อนพรรษากว่า พึงนังบอกว่า ท่านจงวางบาตรที่นน จงวางจีวรที่นน จงนังอาสนะนี้ พึงบอกน้ าฉัน ่ ั่ ั่ ่ พึงบอกน้ าใช้ พึงบอกผ้าเช็ดรองเท้า พึงแนะนาภิกษุอาคันตุกะให้ อภิวาท พึงบอกเสนาสนะว่าเสนาสนะนันถึงแก่ ่ ท่าน พึงบอกเสนาสนะที่มีภิกษุอยู่ หรื อไม่มีภิกษุอยู่ พึงบอกโคจรคาม พึงบอกอโคจรคาม พึงบอกสกุลที่เป็ นเสก ขสมมติ พึงบอกที่ถ่ายอุจจาระ พึงบอกที่ถ่ายปั สสาวะ พึงบอกน้ าฉัน พึงบอกน้ าใช้ พึงบอกไม้เท้า พึงบอกกติกาสงฆ์ ั ่ ที่ต้ งไว้วา เวลานี้ควรเข้า เวลานี้ควรออก ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย นี้แล เป็ นวัตรของภิกษุเจ้าถิ่นทั้งหลายซึ่ งภิกษุเจ้าถิ่นทั้งหลายพึงพระพฤติเรี ยบร้อย. ั อรรถกถาที่ อธิบาย [อาวาสิ กวัตร] วินิจฉัยในอาวาสิ กวัตร พึงทราบดังนี้:-
  • 6. เมื่ออาคันตุกะผูแก่กว่ามา พึงงดจีวรกรรมหรื อน วกรรมเสี ย ทากิจทั้งปวง มีอาทิอย่างนี้วา พึงแต่งตั้ง ้ ่ อาสนะ ดังนี้ กาลังกวาดลานเจดีย ์ พึงเก็บไม้กวาดเสี ย เริ่ มทาวัตรแก่เธอ. หากว่า อาคันตุกะเป็ นผูฉลาด. เธอจัก ้ กล่าวว่า จงกวาดลานเจดียเ์ สี ยก่อนเถิด ผูมีอายุ ( อาวุโส ). ้ อนึ่ง กาลังทายาเพื่อคนไข้อยู่ ถ้าว่า คนไข้ไม่ทุรนทุรายนัก, พึงงดทาไว้ ทาวัตรเสี ยก่อน, แต่สาหรับ ไข้หนัก ต้องทายาก่อน ถ้าอาคันตุกะเป็ นผูฉลาด, เธอจักกล่าวว่า จงทายาเสี ยก่อน. เมื่อถามถึงน้ าฉัน ถ้าว่า อาคันตุกะดื่มน้ า ้ ที่นามาแล้วครั้งเดียวหมด, พึงถามท่านว่า ผมจักต้องนามาอีกไหม ? อนึ่ง พึงพัดท่านด้วยพัด. เมื่อพัด พึงพัดที่หลังเท้าครั้งหนึ่งกลางตัวครั้งหนึ่ง ศีรษะครั้งหนึ่ง. เธออันท่าน กล่าวว่า พอหยุดเถิดพึงพัดให้อ่อนลง.เธออันท่านกล่าวว่า พอละ พึงพัดให้อ่อนลงกว่านั้น. ท่านกล่าวถึงครั้งที่ ๓ พึง วางพัดเสี ย. พึงล้างเท้าของท่าน. ครั้นล้างแล้ว ถ้าน้ ามันของตนมี, พึงทาด้วยน้ ามัน. ถ้าไม่มี, พึงทาด้วยน้ ามันของ ท่าน. ส่ วนการเช็ดรองเท้า พึงทาตามความชอบใจของตน. ด้วยเหตุน้ นแล พระผูมีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า สเจ ั ้ อุสฺสหติ. เพราะเหตุน้ น จึงไม่เป็ นอาบัติ แม้แก่ภิกษุผไม่เช็ดรองเท้า.เธออันท่านถามว่า เสนาสนะถึงแก่เราที่ไหน ? พึง ั ู้ จัดแจง เสนาสนะ อธิ บายว่า พึงบอกอย่างนี้วา เสนาสนะที่ถึงแก่ท่าน ดังนี้. แลสมควรแท้ ที่จะตบเสี ยก่อน (ไล่ฝน ไล่ ่ ุ่ คะขาย แมงป่ อง จิ้งจก มด แมลง สิ่ งของ ต่าง ๆ ) จึงปูลาด. วินิจฉัยในวัตรของอาคันตุกะผูนวกะ พึงทราบดังนี้:- ้ ข้อว่า ปานีย อาจิกฺขิตพฺพ มีความว่า ภิกษุผเู ้ จ้าถิ่น พึงบอกว่า ท่านจงถือเอาน้ านั้นดื่ม ดังนี้. แม้ในน้ าใช้ ก็มีนยนี้เหมือนกัน. คาที่เหลือเหมือนคาก่อนนันแล. จริ งอยู่ ั ่ ภิกษุเจ้าถิ่นจะไม่ทาวัตรแก่อาคันตุกะ ผูมาถึงสานักของตนแม้ในอาวาสใหญ่ ย่อมไม่ได้. จบ อรรถกถาที่ อธิบาย ้ คมิกวัตร ( หน้าที่ของ สาหรับผู้ทเี่ ตรียมจะไป จะออกเดินทางไปจากทีอยู่เดิม ) ่ [๔๑๘] สมัยนั้น ภิกษุผเู ้ ตรี ยมจะไปไม่เก็บเครื่ องไม้ เครื่ องดินเปิ ดประตูหน้าต่างทิ้งไว้ ไม่มอบหมาย เสนาสนะ แล้วหลีกไป เครื่ องไม้ เครื่ องดิน เสี ยหาย เสนาสนะไม่มีใครรักษา บรรดาภิกษุที่เป็ นผูมกน้อย...ต่างก็ ้ ั เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุผเู ้ ตรี ยมจะไป จึงไม่เก็บเครื่ องไม้ เครื่ องดิน เปิ ดประตูหน้าต่างทิงไว้ ไม่ ้ มอบหมายเสนาสนะ แล้วหลีกไป เครื่ องไม้ เครื่ องดินเสี ยหาย เสนาสนะไม่มีใครรักษา จึงกราบทูล เรื่ องนั้น แด่ พระผูมีพระภาคเจ้า. ้ พระผูมีพระภาคเจ้าทรงสอบถามว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ข่าวว่า. . .จริ งหรื อ?. ้ ั ภิกษุท้ งหลายกราบทูลว่า จริ งพระพุทธเจ้าข้า. ั พระผูมีพระภาคเจ้าทรงติเตียน ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย การกระทาของพวกภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น ้ ั นัน ( ตามที่วามาแล้วข้างบน) ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทา ่ ่ ไฉน ภิกษุนน จึง ั่ ไม่ทาตาม คมิกวัตร เล่า โดยที่แท้การกระทาของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น นัน เป็ นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยง ่ ั ไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็ นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว พระผูมีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริ ยาย ดังนี้ แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็ น ้ คนเลี้ยงยาก ความเป็ นคนบารุ งยาก ความเป็ นคนมักมาก ความเป็ นคนไม่สนโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ั ตรัสคุณแห่งความเป็ นคนเลี้ยงง่าย ความเป็ นคนบารุ งง่ายความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกาจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียรโดยอเนกปริ ยายทรงกระทาธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่ องนั้น ที่ เหมาะสมแก่เรื่ องนั้น แก่ภิกษุท้ งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุท้งหลายว่า ั ั ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุท้ งหลาย อาศัยอานาจประโยชน์ ๑๐ ประการ ั ั ั
  • 7. ่ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสาราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผูเ้ ก้อยาก ๑ เพื่ออยูสาราญแห่งภิกษุผมีศีล ู้ เป็ นที่รัก ๑ เพื่อป้ องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปั จจุบน ๑ เพื่อกาจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใส ั ของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิงของชุ มชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมันแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ ั ่ ่ ถือตามพระวินย ๑ ั ครั้นแล้วทรงทาธรรมีกถารับสังกะภิกษุท้ งหลายว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติวตรแก่ ่ ั ั ั ั ภิกษุผเู้ ตรี ยมจะไป โดยประการที่ภิกษุเตรี ยมจะไปพึงประพฤติเรี ยบร้อย. [๔๑๙] ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ภิกษุผเู ้ ตรี ยมจะไปพึงเก็บเครื่ องไม้เครื่ องดิน ปิ ดประตูหน้าต่าง มอบหมาย ั เสนาสนะ ถ้าภิกษุไม่มี พึงมอบหมายสามเณร ถ้าสามเณรไม่มี พึงมอบหมายคนวัด ถ้าคนวัดไม่มี พึงมอบหมายอุบาสก ถ้าไม่มีภิกษุสามเณร คนวัดหรื ออุบาสก พึงยกเตียงขึ้น วางไว้บนศิลา ๔ แผ่น แล้วพึงยกเตียงซ้อนเตียง ยกตังซ้อนตัง ่ ่ แล้วกองเครื่ องเสนาสนะไว้ขางบน เก็บเครื่ องไม้ เครื่ องดิน ปิ ดประตูหน้าต่าง แล้วจึงหลีกไป ถ้า วิหารฝนรั่ว ถ้า ้ ่ อุตสาหะอยูพึงมุง หรื อพึงทาความขวนขวายว่า จะมุงวิหารได้อย่างไร ถ้าได้ตามความขวนขวายอย่างนี้ นันเป็ นความดี ่ ถ้ าไม่ ได้ ทีใดฝนไม่ รั่ว พึงยกเตียงขึนวางบนศิลา ๔ แผ่ น ในที่น้ัน แล้วพึงยกเตียงซ้ อนเตียงยกตั่งซ้ อนตั่ง แล้ วกอง ่ ้ เครื่องเสนาสนะไว้ ข้างบน เก็บเครื่องไม้ เครื่องดิน ปิ ดประตูหน้ าต่ างแล้ วจึงหลีกไป ถ้าวิหารฝนรั่วทุกแห่ง ถ้า อุตสาหะอยู่ พึงขนเครื่ องเสนาสนะเข้าบ้าน หรื อพึงทาความขวนขวายว่า จะขนเครื่ องเสนาสนะเข้าบ้านอย่างไร ถ้า ได้ตามความขวนขวายอย่างนี้ นันเป็ นความดี ถ้าไม่ได้พึงยกเตียงขึ้นวางบนก้อนศิลา ๔ แผ่นในที่แจ้ง แล้วพึงยกเตียง ่ ซ้อนเตียง ยกตังซ้อนตัง กองเครื่ องเสนาสนะไว้ขางบน เก็บเครื่ องไม้ เครื่ องดิน แล้วคลุมด้วยหญ้าหรื อใบไม้ แล้ว ่ ่ ้ จึงหลีกไปด้วยคิดว่า อย่างไรเสี ย ส่ วนของเตียงตังคงเหลืออยูบาง. ่ ่ ้ ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย นี้แล เป็ นวัตรของภิกษุผเู ้ ตรี ยมจะไป ซึ่ งภิกษุ ผูเ้ ตรี ยมจะไปพึงพระพฤติเรี ยบร้อย. ั อรรถกถาที่ อธิบาย [ คมิกวัตร] วินิจฉัยในคมิกวัตร พึงทราบดังนี้ :- บทว่า ทารุ ภณฺฑ ได้แก่ เตียงและตังเป็ นต้น ที่กล่าวแล้วในเสนาสันกขันธกะ. แม้ภณฑะดิน ก็ได้แก่ภาชนะ ่ ั สาหรับย้อมเป็ นต้น ภัณฑะทั้งปวงมีประเภทดังกล่าวแล้วในเสนาสนักขันธกะนันแล. ภัณฑะทั้งปวงนั้น อันภิกษุผเู้ ตรี ยม ่ จะไป พึงเก็บไว้ที่โรงไฟหรื อในที่อื่นซึ่ งคุมได้แล้วจึงไป. จะเก็บไว้ในเงื้อมที่ฝนไม่รั่วก็ควร. ้ วินิจฉัยในคาว่า เสนาสน อาปุจฺฉิตพฺพ นี้ พึงทราบดังนี้:- เสนาสนะใด สร้างไว้บนศิลาดาดหรื อบนเสาศิลา, ปลวกทั้งหลายขึ้นไม่ได้ในเสนาสนะใด, ไม่เป็ นอาบัติ แม้แก่ ภิกษุผไม่บอกมอบเสนาสนะนั้น. ู้ คาว่า จตูสุ ปาสาณเกสุ เป็ นอาทิ พระผูมีพระภาคเจ้าตรัสเพื่อแสดงอาการที่จะพึงกระทา ในเสนาสนะมี ้ บรรณศาลาเป็ นต้น อันเป็ นสถานที่เกิดแห่งปลวกทั้งหลาย. ข้อนี้วา บางที แม้ส่วนทั้งหลาย จะพึงเหลืออยูบาง ่ ่ ้ ดังนี้ เป็ นอานิสงส์ในเสนาสนะที่ต้ งไว้กลางแจ้ง. ส่ วนในเรื อนที่ฝนรั่วได้ เมื่อหญ้าและก้อนดินตกลงข้างบน (แห่ง ั เตียงและตัง) แม้ส่วนทั้งหลายแห่งเตียงและตัง ย่อมฉิ บหายไป ่ ่ จบ อรรถกถาที่ อธิบาย [ คมิกวัตร] ภัตตานุโมทนา วัตร ( วิธีการให้ พร อนุโมทนา แนะนาธรรม ให้ กาลังใจ ขอบคุณโยม ) [๔๒๐] สมัยนั้น ภิกษุท้ งหลายไม่อนุโมทนาในโรงฉัน คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระ ั สมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้ไม่อนุ โมทนาในโรงฉัน ภิกษุท้ งหลาย ฯลฯ ได้ยนคนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน ั ิ
  • 8. ๘ โพนทะนาอยู่ จึงกราบทูลเรื่ องนั้นแด่พระผูมีพระภาคเจ้า ้ ลาดับนั้น พระผูมีพระภาคเจ้าทรงทาธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็ นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้ว ้ รับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า ดูก่อน ภิกษุท้ งหลาย เราอนุ ญาตให้อนุ โมทนาในโรงฉัน. ั ั [๔๒๑] ครั้งนั้น ภิกษุท้ งหลายคิดว่า ใครหนอพึงอนุโมทนาในโรงฉัน แล้วจึงกราบทูลเรื่ องนั้นแด่พระผูมีพระภาคเจ้า. ั ้ ลาดับนั้น พระผูมีพระภาคเจ้าทรงทาธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็ นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้ว ้ รับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เราอนุ ญาตให้ภิกษุผเู ้ ถระอนุโมทนาโนโรงฉัน. ั ั [๔๒๒] สมัยนั้น ประชาชนหมู่หนึ่งถวายภัตรแก่พระสงฆ์ ท่านพระสารี บุตรเป็ นสังฆเถระ ภิกษุท้ งหลายคิดว่า ั พระผูมีพระภาคเจ้าทรงอนุญาต ให้ภิกษุผเู้ ถระอนุโมทนาในโรงฉัน จึงเหลือท่านพระสารี บุตรไว้รูปเดียว แล้วพากัน ้ กลับไป. ลาดับนั้น ท่านพระสารี บุตรแสดงความยินดีกะคนเหล่านั้น แล้วได้ไปทีหลังรู ปเดียว. พระผูมีพระภาคเจ้าได้ทอดพระเนตรเห็นท่านพระสารี บุตรเดินมาแต่ไกลรู ปเดียว จึงรับสั่งถามว่า ดูก่อน ้ สารี บุตร ภัตรมีมากมายกระมัง? ( มาช้า เพราะจะต้องรับอาหารมาก ๆ ). ท่านพระสารี บุตรทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ภัตรมีมากมาย แต่ภิกษุท้ งหลายละข้าพระพุทธเจ้าไว้ผเู ้ ดียว แล้วพากันกลับไป. ั ลาดับนั้น พระผูมีพระภาคเจ้าทรงทาธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็ นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้ว ้ รับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เราอนุ ญาตให้ภิกษุเถรานุเถระ ๔ - ๕ รู ป รออยูในโรงฉัน. ั ั ่ ่ ่ [๘๒๓] สมัยต่อมา พระเถระรู ปหนึ่งปวดอุจจาระรออยูในโรงฉันเธอกลั้นอุจจาระอยูจนสลบล้มลง ภิกษุท้ งหลาย ั กราบทูลเรื่ องนั้นแด่พระผูมีพระภาคเจ้า ๆ รับสั่งว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เมื่อมีกรณี ยกิจ เราอนุ ญาตให้บอกลาภิกษุผนง ้ ั ู ้ ั่ ่ อยูในลาดับ แล้วไปได้. อรรถกถาที่ อธิบาย [ เรื่องอนุโมทนา ] วินิจฉัยในเรื่ องอนุ โมทนา พึงทราบดังนี้ :- ในสองบทว่า อิทธ อโหสิ มีความว่า ภัตได้เป็ นของถึงพร้อมแล้ว. ข้อว่า จตูหิ ปญฺจหิ มีความว่า เมื่อพระสังฆเถระนังแล้วเพื่อต้องการจะอนุโมทนา ภิกษุ ๔ รู ปพึงนังตามลาดับ ่ ่ ข้างท้าย. เมื่อพระอนุเถระนังแล้ว พระมหาเถระพึงนัง และภิกษุ ๓ รู ปพึงนังข้างท้าย. เมื่อภิกษุรูปที่ ๕ นังแล้ว ภิกษุ ่ ่ ่ ่ ๔ รู ปพึงนังข้างบน. เมื่อภิกษุหนุ่มข้างท้าย อันพระสังฆเถระแม้เชิญแล้ว ภิกษุ ๔ รู ป พึงนังตั้งแต่พระสังฆเถระลงมา ่ ่ ทีเดียว. ก็ถาว่า ภิกษุผอนุ โมทนากล่าวว่า ไปเถิด ท่านผูเ้ จริ ญ ไม่มีกิจที่จะต้องคอย ดังนี้ ควรไป. เมื่อพระมหาเถระ ้ ู้ กล่าวว่า ผูมีอายุ พวกเราจะไปละเธอกล่าวว่า นิมนต์ไปเถิด, แม้อย่างนี้ ก็ควรไป. ้ ่ พระมหาเถระแม้ทาความผูกใจว่า พวกเราจักคอยอยูนอกบ้านดังนี้ ไปถึงนอกบ้านแล้ว แม้จะสั่งนิสิตของตนว่า เธอทั้งหลายจงคอยความมาของภิกษุน้ น ดังนี้ แล้วไปเสี ย ควรเหมือนกัน. ั ้ ั ้ ่ แต่ถาชาวบ้านให้ภิกษุรูปหนึ่ง ซึ่ งตนพอใจ ทาการอนุโมทนา หาเป็ นอาบัติแก่ภิกษุน้ น ผูอนุ โมทนาอยูไม่, ไม่ เป็ นภาระแก่พระมหาเถระ. จริ งอยู่ เพราะในอุปนิสินนกถา ต้องเรี ยนพระเถระก่อนในเมื่อชนทั้งหลายให้กล่าว. ส่ วน ภิกษุที่พระมหาเถระเชิ ญเพื่ออนุโมทนาแทน ภิกษุท้ งหลายต้องคอย. นี้ เป็ นลักษณะในเรื่ องอนุ โมทนานี้. ั บทว่า วจฺจิโต มีความว่า พระเถระเกิดปวดอุจจาระ, อธิ บายว่าผูอนอุจจาระบีบคั้นแล้ว ( สุ ดวิสัย ทนไม่ไหว ) . ้ั จบอรรถกถาที่ อธิบาย [ เรื่องอนุโมทนา ]
  • 9. ภัตตัคควัตร ( วิธีปฏิบัติตัว ในโรงฉัน ทังในบ้ าน และในวัด ก็พอจะอนุโลมกันได้ ) ้ [๔๒๔] สมัยนั้น พระฉัพพัคคียนุ่งห่มไม่เรี ยบร้อย ไม่มีมรรยาทไปสู่ โรงฉัน เดินแซงไปข้างหน้าพระเถระ ์ ทั้งหลายบ้าง นังเบียดเสี ยดพระเถระบ้าง เกียดกันพวกภิกษุใหม่ดวยอาสนะบ้าง นังทับสังฆาฏิในละแวกบ้านบ้าง ่ ้ ่ ู้ ้ ั ่ บรรดาภิกษุผที่เป็ นผูมกน้อย สันโดษ มีความละอาย ( ต่อบาป แต่วา จะไม่ละอายที่จะทาความดี เช่นการรักษาศีล ฝึ ก สมาธิ ปัญญา ถือธุดงค์ ขยัน อดทน ประหยัด สารวม ฯลฯ ) มีความรังเกียจ ภิกษุผใคร่ ต่อสิ กขาบท ( ตั้งใจจะรักษา ที่ ู้ จะเคาระ กระทาตาม ปฏิบติตามสิ กขาบท ศีล ) ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคียจึงได้นุ่งห่ม ั ์ ไม่เรี ยบร้อย ไม่มีมรรยาทไปสู่ โรงฉัน เดินแซงไปข้างหน้าพระเถระทั้งหลายบ้าง นังเบียดเสี ยดพระเถระบ้าง เกียดกัน ่ พวกภิกษุใหม่ดวยอาสนะบ้าง นังทับสังฆาฏิในละแวกบ้านบ้าง จึงกราบทูลเรื่ อง นั้นแด่พระผูมีพระภาคเจ้า. ้ ่ ้ พระผูมีพระภาคเจ้า . . .ทรงสอบถามว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ข่าวว่าภิกษุฉพพัคคียนุ่งห่มไม่เรี ยบร้อย ไม่มี ้ ั ั ์ มรรยาทไปสู่ โรงฉัน เดินแซงไปข้างหน้าพระเถระทั้งหลายบ้าง นังเบียดเสี ยดพระเถระบ้าง เกียดกันพวกภิกษุใหม่ดวย ่ ้ อาสนะบ้าง นังทับสังฆาฏิในละแวกบ้านบ้าง จริ งหรื อ?. ่ ภิกษุท้ งหลายกราบทูลว่า จริ ง พระพุทธเจ้าข้า. ั พระผูมีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย ้ ั การกระทาของพวกภิกษุโมฆบุรุษ เหล่านั้นนัน ( ตามที่วาแล้ว ข้างบน ) ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทา ไฉน ภิกษุนน ่ ่ ั่ จึงไม่ทาตาม ภัตตัคควัตร เล่า การกระทาของพวกภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนัน ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควรไม่ใช่กิจของ ่ สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทา ไฉน ภิกษุโมฆบุรุษ จึงกระทาอย่างนั้น การกระทาของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนัน ไม่ ่ เป็ นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส หรื อเพื่อความเลื่อมใสยิงของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้การ ั ่ กระทาของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น นัน เป็ นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็ นอย่างอื่น ่ ั ของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว พระผูมีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริ ยาย ดังนี้ แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็ นคน ้ เลี้ยงยาก ความเป็ นคนบารุ งยาก ความเป็ นคนมักมาก ความเป็ นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัส คุณแห่งความเป็ นคนเลี้ยงง่าย ความเป็ นคนบารุ งง่ายความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกาจัด อาการที่น่า เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริ ยายทรงกระทาธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่ องนั้น ที่เหมาะสม แก่เรื่ องนั้น แก่ภิกษุท้ งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุท้ งหลายว่า ั ั ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุท้ งหลาย อาศัยอานาจประโยชน์ ๑๐ ประการ ั ั ั คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสาราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผูเ้ ก้อยาก ๑ เพื่ออยูสาราญแห่งภิกษุผมีศีล ่ ู้ เป็ นที่รัก ๑ เพื่อป้ องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปั จจุบน ๑ เพื่อกาจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใส ั ของชุมชนที่ยงไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิงของชุ มชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมันแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ ั ่ ่ ถือตามพระวินย ๑ ั ครั้นแล้วทรงทาธรรมีกถารับสังกะภิกษุท้ งหลายว่า ดูก่อนภิกษุท้ งหลาย เพราะเหตุน้ นแล เราจักบัญญัติวตร ่ ั ั ั ั ในโรงฉันแก่ภิกษุท้ งหลาย โดยประการที่ภิกษุท้ งหลาย พึงประพฤติเรี ยบร้อยในโรงฉัน. ั ั [๔๒๕] ถ้าภัตตุเทสก์บอกภัตกาลในอาราม ภิกษุเมื่อปกปิ ดมณฑล ๓ พึงนุ่งให้เป็ นปริ มณฑล คาดประคดเอว ห่ม ผ้าซ้อน ๒ ชั้นกลัดลูกดุม ล้างบาตรแล้วถือเข้าบ้านโดยเรี ยบร้อย ไม่ตองรี บร้อน ไม่พึงเดินแซงไปข้างหน้าพระ-เถระ ้ ทั้งหลาย พึงปกปิ ดกายด้วยดีไปในละแวกบ้าน พึงสารวมด้วยดีไปในละแวกบ้าน พึงมีตาทอดลงไปในละแวกบ้าน