SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
รายละเอีย ดเค้า โครงย่อ โครงงานวิท ยาศาสตร์
      โรงเรีย น ................................................................................

ชื่อ โครงงาน
........................................................................................
...................................................
ชื่อนักเรียนผู้ทำาโครงงาน
........................................................................................
................................
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
1. ....................................................................................
...................................

2. ....................................................................................
...................................

1. แนวคิด ที่มา และความสำาคัญของโครงงาน
           ให้ระบุที่มาของปัญหา และเหตุผลที่เลือกทำาโครงงานนี้
2. จุดมุ่งหมายของการศึกษา
           เขียนสั้นๆ ประมาณ 2-3 บรรทัด แต่ตองให้ชัดเจนว่า
                                                  ้
โครงงานจะก่อให้เกิดผลงานอย่างไร
จะนำาไปแก้ปัญหาอะไร หรือตอบปัญหาอะไร ถ้ามีวัตถุประสงค์หลายข้อ
ให้ระบุมาเป็นข้อๆ ให้ชัดเจน
3. สมมติฐาน
4. ขอบเขตของการศึกษา (ถ้ามี)
           ระบุขอบเขตของการวิจัยที่จะทำาให้ชัดเจนว่าจะครอบคลุมถึง
อะไรบ้าง
5. เอกสาร หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
          กล่าวถึงความสัมพันธ์ของโครงงานที่นำาเสนอกับผลงานวิจัย
อื่นๆ เพื่อให้เห็นว่าโครงงานที่เสนอเป็นการวิจัยเพื่อหาองค์ความรู้ใหม่
6. วิธีการดำาเนินงาน
          ส่วนนี้เป็นส่วนที่สำาคัญที่สุดของโครงการ ให้เขียนให้ชัดเจน
และละเอียดเท่าที่จะเป็นไปได้
          ก. อุปกรณ์
          ข. แนวทางในการศึกษา
2

          ระบุกิจกรรมในแต่ละขั้นตอน โดยระบุตามระเบียบวิธีวิจัย
ทุกขั้นตอนอย่างละเอียดและชัดเจน เช่น วิธีการเก็บข้อมูล จำานวน
และขนาดของตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
7. แผนการปฏิบัติงาน
         แสดงตารางเวลาตามแผนดำาเนินงานอย่างชัดเจน
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
         ระบุผลผลิตที่ได้จากโครงงาน เช่น สังเคราะห์อะไรก็จะได้สิ่ง
นั้นมา
9. เอกสารอ้างอิง




           การเขีย นรายงานโครงงานวิท ยาศาสตร์

      การเขียนรายงานเป็นการนำาเสนอผลงานจากการทำากิจกรรม
อย่างเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อสื่อสารให้ผู้อื่นสนใจ เป็นการนำาเสนอ
ผลงานของการศึกษาค้นคว้าเป็นเอกสารเพื่อให้ผู้อื่นทราบปัญหาที่
ศึกษา วิธีการดำาเนินการศึกษา ข้อมูลที่ได้ และประโยชน์ที่ได้จากการ
ทำากิจกรรม โดยมีแบบฟอร์ม ดังนี้


                 แบบฟอร์ม การจัด ทำา รายงาน

ชื่อ กิจ กรรม / ชื่อ เรื่อ ง
………………………………………………………………………
…………..
ชื่อ ผู้ท ำา กิจ กรรม
………………………………………………………………………
………………..
ชื่อ ที่ป รึก ษากิจ กรรม
………………………………………………………………………
…………..
บทนำา          ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ ดังนี้
                 1. ที่มาและความสำาคัญของกิจกรรม
…………………………………………………………
                 2. ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้อง
…………………………………………………………………
                 3. แรงบันดาลใจ
3

………………………………………………………………………
……..
จุด ประสงค์
                สมมติฐานการทำากิจกรรม(ถ้ามี)
……………………………………………………………..
                ตัวแปรต้น(ถ้ามี)
………………………………………………………………………
……...
                ตัวแปรตาม(ถ้ามี)
………………………………………………………………………
…….
                ตัวแปรควบคุม(ถ้า
มี) ...................................................................................
.............................
วิธ ีด ำา เนิน งาน
                วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้
……………………………………………………………………….
..
                แผนการดำาเนินงาน
………………………………………………………………………
…..
                วิธีดำาเนินการทดลอง/สำารวจ และรวบรวมข้อมูล
…………………………………………….
ผลการดำา เนิน งาน /ผลของการศึก ษาค้น คว้า
                (จัดกระทำาข้อมูล แปลความหมาย และรายงานผลการ
ทดลอง/สำารวจ)
สรุป ผลการดำา เนิน งาน
………………………………………………………………………
………….
วิจ ารณ์ผ ลการดำา เนิน งาน
………………………………………………………………………
……….
เอกสารอ้า งอิง
………………………………………………………………………
…………………..



  การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์
4



      รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์เป็นรายงานเชิง
วิชาการอย่างหนึ่งโดยทั่วไป การเขียน
รายงานเชิงวิชาการมีรูปแบบในการเขียนที่แน่นอนตามสากลนิยม
แต่ละสถาบันหรือสาขาวิชาอาจมีข้อปลีกย่อยของรูปแบบในการเขียนที่
แตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ตามหลักการสำาคัญในการเขียนก็ยังคง
เหมือนกัน คือ ต้องเขียนไปตามข้อเท็จจริงตามข้อมูลที่ได้มามีการ
แปลผลภายใต้ขอบเขตของข้อมูลไม่เพิ่มเติมความคิดเห็นส่วนตัวลงไป
ใช้ภาษาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย ไม่ใช้ภาษาพูด และภาษานวนิยาย
      เอกสารการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์นี้
จัดทำาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการเขียนรายงานการทำาโครงงาน
วิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์ของนักเรียนทุน พสวท. ให้เป็นแบบแผน
อันเดียวกัน และสะดวกกับการประเมินโครงงานของนักเรียนทุน
พสวท. ที่เรียนโปรแกรมเสริมวิชา
ว 40291 โครงงานวิทยาศาสตร์ 2 และวิชา ค 40299 โครงงาน
วิทยาศาสตร์ 2 สสวท. จึงกำาหนดโครงสร้างและรูปแบบการเขียน
โครงงานให้เป็นหลักปฏิบัติแบบเดียวกัน
      ต่อไปนี้ข้อความใดที่กล่าวถึงโครงงานวิทยาศาสตร์และวิชา ว
40291 โครงงานวิทยาศาสตร์ 2 ให้ใช้แทนโครงงานคณิตสาสตร์
และวิชา ค 40299 โครงงานคณิตศาสตร์ 2 ได้

     โครงสร้างของรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ กำาหนดไว้เป็น 3
ส่วน คือ ส่วนนำา ส่วนเนื้อเรื่องและส่วนอ้างอิง

1. ส่ว นนำา ประกอบด้วย
   1.1 ปกนอก
   1.2 ใบรองปก (กระดาษเปล่า 1 แผ่น)
   1.3 ปกใน
   1.4 บทคัดย่อ
   1.5 กิตติกรรมประกาศ
   1.6 สารบัญ
        1.6.1 สารบัญตาราง(ถ้ามี)
        1.6.2 สารบัญภาพ(ถ้ามี)
5

ปกนอก


             โรงเรียน......................................

                        โครงงานวิทยาศาสตร์
                  เรื่อง..................................

                                   โดย
            ....................................................


           รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ว 40291
                  โครงงานวิทยาศาสตร์ 2
             ตารมหลักสูตรโปรแกรมเสริม พสวท.
            สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
                           เทคโนโลยี

     ปกนอกเป็นส่ยนที่ ่ค1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ นพิปีการโดยทั่วไป
          ภาคเรี วนที วรเน้นความสวยงามเป็ 6 เศษ
นิยมใช้กระดาษแข็งหรือค่อนข้างแข็งพิมพ์ด้วยสีต่างๆ หรือใช้กระดาษ
ข้อความบนปกนอกประกอบด้วยข้อความเรียงตามลำาดับ ดังนี้

       - ชื่อโรงเรียน
       - โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง
       - ชื่อนักเรียนผู้ทำาโครงงาน ระบุคำานำาหน้านาม ชื่อ นามสกุล
ในกรณีที่มีผู้ทำาโครงงานหลายคนต้องลงชื่อทั้งหมด และใส่คำาว่า โดย
ก่อนพิมพ์ชื่อผู้ทำาโครงงาน
       - ข้อความที่บอกให้ทราบถึงโอกาสในการทำาโครงงาน
วิทยาศาสตร์ คือ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ว 40291 โครง
งานวิทยาสาสตร์ 2 ตามหลักสูตรโปรแกรมเสริม พสวท. ของ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 25.....
       ข้อความทั้งหมดบนปกนอกควรจัดเรียงให้กระจายอยู่บนปก ได้
ระยะที่สวยงาม ใช้ขนาดตัวอักษรที่พอเหมาะ ดึงดูดความสนใจ และ
เว้นระยะห่างให้สมดุล
6

ปกใน


                  โรงเรียน......................................

        โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง..................................

                                       โดย
                ....................................................

               อาจารย์ที่ปรึกษาจากโรงเรียน
                     .........................................................
       ...............
                     .........................................................
       ...............

            อาจารย์ที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน/ที่
       ปรึกษาพิเศษ

              ……………………………………………….


          รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ว 40291 โครงงาน
                               วิทยาศาสตร์ 2
                   ตารมหลักสูตรโปรแกรมเสริม พสวท.
           สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
      ข้อความบนปกในควรจัดให้สวยงามเช่นเดียวกับปกนอก
ข้อความที่เพิ่มเติมจากปกนอกธยมศึกษาปีที่ ที่ปรึปีการศึก้งอาจารย์ที่
         ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมั คือ อาจารย์ 6 กษา ทั ษา 25..
ปรึกษาจากศูนย์โรงเรียนและศูนย์มหาวิทยาลัย แต่ไม่จำาเป็นต้องใช้คำา
ว่า ศูนย์หน้าชื่อโรงเรียนและมาหาวิทยาลัย ในกรณีที่มีที่ปรึกษาจาก
หน่วยงาน หรือ ที่ปรึกษาพิเศษ ซึ่งอาจมาจากมหาวิทยาลัย หรือ
หน่วยงาน หรือเป็นผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ หรือนักวิชาการอิสระ ก็อาจ
เขียนหัวข้อที่ปรึกษาพิเศษ หรือเขียนให้สอดคล้องกับสถานะของที่
ปรึกษานั้นๆ อย่างไรก็ดีนักเรียนต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษาจากศูนย์
โรงเรียนของนักเรียนอยู่ด้วย



บทคัด ย่อ
7


      บทคัดย่อ เป็นข้อความโดยสรุปของรายงานโครงงาน
วิทยาศาสตร์ที่สั้นได้ใจความชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาสำาคัญ
บทคัดย่อที่เป็นส่วนหนึ่งในรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ไม่ต้องเขียน
ส่วนนำาของบทคัดย่อถ้าเป็นบทคัดย่อที่จัดทำาขึ้นมาเพื่อการเผยแพร่
โครงงานที่แยกออกไปจากรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ฉบับสมบูรณ์
ต้องมีทั้งส่วนนำา และส่วนเนื้อเรื่อง ดังนั้น

      ส่วนนำา ประกอบด้วย

      - ชื่อเรื่อง
      - ชื่อผู้ทำาโครงงานวิทยาศาสตร์ ใช้หลักการเดียวกับการเขียนปก
นอก
    - e-mail address ………….. โทรศัพท์.........................
    - ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา และชื่อหน่วยงานของอาจารย์ที่ปรึกษา
    - วัน เดือน ปี ที่ทำา (ระบุภาคการศึกษา และปีการศึกษาที่ทำา)
    - ผูสนับสนุนการทำาโครงงาน ซึ่งได้แก่โครงการ พสวท.
        ้
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และศูนย์โรงเรียน

      ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วยจุดประสงค์ วิธีดำาเนินงาน ผลการ
ดำาเนินงาน และอาจมีข้อเสนอแนะด้วย

       การเขียนเนื้อเรื่อง เขียนเป็นความเรียงต่อเนื่อง ระบุจุดประสงค์
วิธีดำาเนินงาน ผลการดำาเนินงาน (และข้อเสนอแนะ) ต่อเนื่องกันไป
ถ้าโครงงานนั้นมีจุดประสงค์หลายข้อก็อาจย่อหน้าและใส่เลขกำากับ
แต่ละจุดประสงค์ ในส่วนของวิธีการดำาเนินงานควรระบุขนาดของกลุ่ม
ตัวอย่าง วิธีการรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำาดับของ
จุดประสงค์ แล้วนำาเสนอผลการดำาเนินงานตามลำาดับของวิธีการดำาเนิน
งานโดยนำาเสนอเฉพาะประเด็นสำาคัญในลักษณะการสรุปเท่านั้น

กิตติกรรมประกาศ

      โดยทั่วไปกิตติกรรมประกาศเป็นส่วนที่ผู้ทำาโครงงานวิทยาศาสตร์
ชี้แจงเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายสิ่งสำาคัญที่ค้นพบ ประโยชน์ที่จะนำาไปใช้
ข้อจำากัดของการทำางาน คำาขอบคุณผู้ที่มีส่วนช่วยเหลือ สนับสนุนทั้ง
ด้านการเงิน กำาลังใจ แรงงาน และให้ข้อเสนอแนะ รวมทั้งระบุชื่อผู้
วิจัย และวัน เดือน ปีที่พิมพ์
      ในกรณีของการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
ทุน พสวท. กำาหนดให้เขียนกิตติกรรมประกาศโดยกล่าวถึงคำาขอบคุณ
8

โครงการ พสวท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนให้ทุนกาศึกษา รวมทั้งหน่วยงา
นอื่นๆ และผู้ที่มีส่วนช่วยเหลือ แล้วลงชื่อนักเรียนผู้ทำาโครงงาน และวัน
เดือน ปีที่พิมพ์

สารบัญ

      สารบัญเป็นส่วนหนึ่งที่แสดงเลขหน้าที่เป็นหน้าแรกของบท หรือ
หัวข้อของรายงาน การเลือกเลขหน้าของหน้าแรกของบท หรือหัวข้อ
มาลงสารบัญไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน ควรเลือกเฉพาะหัวข้อใหญ่ๆ
และหัวข้อรองลงไปที่สำาคัญ
      ในส่วนของรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีการแสดงผลเป็น
ตาราง และหรือภาพเป็นจำานวนมากในหัวข้อสารบัญต้องมีหัวข้อ
สารบัญตาราง และหรือสารบัญภาพเป็นหัวข้อหัวข้อย่อย ถ้ามีตาราง
หรือภาพจำานวนน้อย ก็ไม่จำาเป็นต้องมีหัวข้อสารบัญตาราง และหรือ
สารบัญภาพ

2. ส่ว นเนื้อ เรื่อ ง

   ส่วนนี้กำาหนดให้ทำาแบบบทเป็นบท จำานวน 5 บท ประกอบด้วย
   2.1 บทที่ 1 บทนำา
   2.2 บทที่ 2 เอกสารและรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง
   2.3 บทที่ 3 วิธีการดำาเนินงาน
   2.4 บทที่ 4 ผลการดำาเนินงาน
   2.5 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลการดำาเนินงาน และข้อเสนอแนะ

บทที่ 1 บทนำา

      เป็นบทที่กล่าวถึง
      - ความเป็นมา และความสำาคัญของโครงงาน
      - จุดประสงค์
      - ขอบเขตของการดำาเนินงาน
      - สมมุตฐาน (ถ้ามี)
             ิ
      - นิยามศัพท์ที่ใช้ในการทำาโครงงาน
      - ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม
      - แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
      - ความรู้พื้นฐานของเรื่องที่ทำา
9

       ในส่วนของแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
เรื่องที่ทำา ควรเลือกลงในประเด็นสำาคัญที่เกี่ยวกับเรื่องที่ทำา ตัวอย่าง
เช่น นักเรียนทำาเรื่อง “การใช้กาบมะพร้าวทำาสีผสมขนมเปียกปูน”
นักเรียนควรลงความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกาบมะพร้าว อาจนิยามคำาศัพท์
“กาบมะพร้าว” คำาอธิบายเกี่ยวกับสารเคมีในกาบมะพร้าว การ
เปลี่ยนแปลงทางเคมีเมื่อนำากาบมะพร้าวมาเผาให้เป็นสีดำาเพื่อใช้ทำาสี
ขนม วิธีการทำาขนมเปียกปูน และประโยชน์ของขนมเปียกปูน นักเรียน
ไม่ควรนำาเรื่องราวที่ไม่ตรงประเด็นมาลงไว้ เช่น เรื่อง “เกี่ยวกับมะพำา
ร้าว” อย่างละเอียด โดยกล่าวถึงมะพร้าวเป็นพืชดอก ใบเลี้ยงเดี่ยว
ลักษณะราก ลำาต้น ใบ ดอก ผล ระยะเวลาการเก็บเกี่ยว ฯลฯ ถือว่าเกน
ความจำาเป็น

       การเขียนความเป็นมา ความสำาคัญ และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
เรื่องที่ทำา อาจมีการอ้างอิงในการอ้างอิงความรู้และทำาเชิงอรรถให้เลือก
ใช้ระบบใดระบบหนึ่งให้เหมือนกันกับที่ใช้ ในบทอื่นๆ ของรายงาน

บทที่ 2 เอกสารและรายงานงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

      ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับการทบทวนผลงานจากเอกสาร งาน
วิจัย และโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีผู้ศึกษาทดลองมาก่อน นักเรียนควร
ค้นคว้ารวบรวมผลจากงานวิจัย หนังสืออ้างอิง รวมทั้งโครงงาน
วิทยาศาสตร์ย้อนหลังไปในปีก่อนๆ ให้มากที่สุด โครงงานวิทยาศาสตร์
ในระดับมัธยมศึกษานั้น ไม่จำาเป็น ต้องทบทวนงานวิจัย และเอกสาร
อ้างอิงจนครบถ้วน แต่ให้พยายามค้นคว้าเท่าที่จะทำาได้ โครงงาน
วิทยาศาสตร์บางเรื่องอาจไม่สามารถค้นหางานวิจัยหรือเอกสารอ้างอิง
ได้ นักเรียนอาจกล่าวอ้างอิงถึงผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นบุคคล หรือหน่วย
งานก็ได้
      การอ้างอิงเอกสารและรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้องต้องอ้างอิงและทำา
เชิงอรรถโดยใช้ระบบเดียวกันกับที่ใช้บทที่ 1 บทนำา

      เพื่อความสะดวกในการเขียนรายงาน เมื่อสำารวจ ค้นคว้า ทบทวน
ผลงานจากหนังสือ ตำารา วารสาร หนังสือพิมพ์ เอกสารเผยแพร่หรือ
เว็บไซต์แล้ว นักเรียนควรรวบรวมรายชื่อเอกสารเหล่านั้นในรูปแบบที่
จะนำาไปเขียนในหัวข้อเอกสารอ้างอิงได้เลย
      การเรียบเรียงเขียนเรื่องราวที่ค้นคว้ารวบรวมมาได้ ถ้ามีเนื้อหาไม่
มากนัก เช่น รวบรวมได้ครึ่งหน้ากระดาษ A 4 หรือเพียง 4-5 บรรทัด
อาจนำาไปรวบรวมไว้ในบทที่ 1 บทนำา โดยนำาไปเขียนต่อท้ายความรู้
พื้นฐานของเรื่องที่ทำา
บทที่ 3 วิธีดำาเนินงาน
10


     เป็นบทที่กล่าวถึง
     - วัสดุ
     - อุปกรณ์
     - สารเคมี
     - พืช/สัตว์ทดลอง
     - เครื่องมือ (กรณีที่ใช้เครื่องมือพิเศษ)
     - วิธีการดำาเนินงาน

     ในส่วนของวิธีการดำาเนินงาน นักเรียนต้องเขียนให้สอดคล้องกับ
จุกประสงค์ มีวิธีการดำาเนินงานครบถ้วนตามที่ตั้งจุดประสงค์ไว้ ในการ
กล่าวถึงสิ่งเดียวกันต้องใช้สำานวนเดียวกัน ในทุกบท เรียงลำาดับหัวข้อ
ตามกันตั้งแต่จุดประสงค์ไปจนจบรายงาน

     เนื้อหาของการเขียนวิธีการดำาเนินงาน ควรกล่าวถึงการออกแบบ
การสำารวจ/ประดิษฐ์/ทดลอง ที่มีการควบคุมตัวแปรอย่างถูกต้องเหมาะ
สม อธิบายวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสำารวจ/ประดิษฐ์/ทดลอง
และการวิเคราะห์ข้อมูลไว้อย่างชัดเจน

บทที่ 4 ผลการดำาเนินงาน

      เป็นการนำาเสนอผลการสำารวจ/ประดิษฐ์/ทดลอง รวมทั้งเสนอผล
การวิเคราะห์ข้อมูลที่วิเคราะห์ได้ ในการนำาเสนอผลการดำาเนินงานนี้
ต้องนำาเสนอตามลำาดับหัวข้อในจุดประสงค์ และวิธีการดำาเนินงานอาจมี
การจัดกระทำาข้อมูลและนำาเสนอในรูปตาราง ภาพ แผนภาพ กราฟ
ฯลฯ ประกอบการนำาเสนอด้วย โดยก่อนจะนำาเสนอด้วยตาราง ภาพ
แผนภาพ หรือกราฟ นักเรียนต้องเขียนข้อความบรรยายถึงผลการ
ดำาเนินงานที่ได้ให้ครบถ้วน แล้วแสดงตาราง ภาพ แผนภาพ หรือกราฟ
นั้นๆ

      ตาราง ภาพ แผนภาพ หรือกราฟ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
หมายเลขของตาราง ภาพ แผนภาพ หรือกราฟ และชื่อของตาราง
ภาพ แผนภาพ หรือกราฟ เช่น
      ตารางที่ 1 แสดงค่าความเข้มของสีดำาในขนมเปียกปูน เมื่อใส่นำ้า
สีดำาจากาบมะพร้าวที่เผานาน 10 และ 12 นาที โดยแปรผันปริมาณ
กาบมะพร้าว 5 10 และ 15 กรัม ต่อขนมเปียกปูน 100 กรัม

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลการดำาเนินงาน และข้อเสนอแนะ
11

      การสรุปผลที่ได้จากการทำาโครงงาน ถ้ามีการตั้งสมมุติฐานควร
ระบุว่าผลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมุติฐาน แล้วผลเรียงลำาดับตาม
จุดประสงค์และผลการดำาเนินงานที่ได้

      การอภิปรายผลการดำาเนินงาน เป็นการอธิบายเหตุผลทาง
วิทยาศาสตร์ที่ทำาให้ได้ผลการสำารวจ/ประดิษฐ์/ทดลองนั้นๆ จัดเป็น
ส่วนที่แสดงถึงพื้นความรู้และความเอาใจใส่ในศึกษาค้นคว้าในเรื่องที่
ทำาของผู้ทำาโครงงาน นักเรียนควรสืบค้นความรู้ต่างๆ มาอ้างอิง เพื่อ
ยืนยันผลการดำาเนินงานว่ามีคุณค่า และเชื่อถือได้ ผลหารดำาเนินงาน
และการอ้างอิงความรู้ต่างๆ ให้ใช้ระบบเดียวกันกับที่ใช้ในบทที่ 1
บทนำา และบทที่2 เอกสารและรายงานงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
      ในส่วนของข้อเสนอแนะนั้นให้เขียนถึงประโยชน์ที่ได้จากการทำา
โครงงานวิทยาศาสตร์นั้นๆ และเสนอข้อควรปรับปรุงหากจะมีผู้ต้องการ
ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทำานองนี้ต่อไปในอนาคต และทั้งหมดจะต้องเป็น
เนื้อหาสาระที่ได้จากผลการทำาโครงงานมิใช่จากข้อคิดเห็นส่วนตัว

3. ส่ว นอ้า งอิง

     ประกอบด้วย
     3.1 เอกสารอ้างอิง
     3.2 ภาคผนวก

เอกสารอ้างอิง

       เอกสารอ้างอิงเป็นส่วนท้ายของรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
เอกสารอ้างอิงที่จะนำามาลงในส่วนท้ายของรายงานนี้จะต้องเป็นเอกสาร
ที่ได้เคยอ้างอิงและทำาเชิงอรรถไว้ในบทที่ 1 บทนำา หรือบทที่ 2
เอกสารและรายงานงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ภาคผนวก

      ภาคผนวกเป็นส่วนท้ายของรายงานเชิงวิชาการ ไม่ใช่ส่วนที่เป็น
เนื้อหาอย่างแท้จริง เป็นเพียงส่วนประกอบที่จะสนับสนุนการค้นคว้า
วิจัยของผู้ทำาโครงงานวิทยาศาสตร์ ในกรณีของการเขียนรายงานโครง
งานวิทยาศาสตร์ของนักเรียน นักเรียนอาจลง
      - ข้อมูลการสำารวจ/ประดิษฐ์/ทดลองที่ยังไม่จัดกระทำา
      - ตาราง รูปภาพ กราฟ และแผนภาพที่ละเอียดมากๆ ซึ่งถ้าใส่ไว้
ในส่วนเนื้อเรื่องจะทำาให้เนื้อเรื่องยาวไม่กระชับ
      - ข้อมูลของผลการทดลองเบื้องต้น
12

       - ข้อความซึ่งเป็นรายละเอียดของเทคนิควิธีการต่างๆ ที่ตองการ
                                                            ้
ให้ผู้สนใจได้ศึกษา
       -ฯลฯ




                  ข้อ เสนอแนะการเสนอผลงาน


      ผลงานที่ได้จาการทำากิจกรรมถือเป็นหลักฐาน ร่องรอยที่สำาคัญ
แสดงถึงความรู้ความสามารถหรือผลการเรียนรู้ของผู้เรียน การเสนอ
ผลงานต่างๆ ที่ได้ศึกษาค้นคว้ามา เป็นการนำาเสนออาจเป็นตาราง
แผนภูมิแท่ง แผนภูมิรูปวงกลม สร้างแบบจำาลอง การคำานวณหาค่า
เฉลี่ย รายงานด้วยปากเปล่า และเขียนรายงานบางกิจกรรมอาจนำา
เสนอโดยการจัดนิทรรศการ ซึ่งการนำาเสนอจะต้องจัดให้เหมาะสมกับ
ลักษณะของกิจกรรมนั้นๆ
      เมื่อนักเรียนดำาเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นแล้ว ควรนำาเสนอผลงานเพื่อ
เป็นการเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้รับรู้การเผยแพร่ผลงานสามารถทำาได้หลาย
ระดับ ดังนี้
      1. การเผยแพร่ผลงานต่อเพื่อนในชั้นเรียน เป็นสิ่งจำาเป็นขั้นพื้น
ฐาน นักเรียนควรจัดวางผลงานพร้อมรายงานจัดแสดงหรือติดประกาศ
ในห้องเรียน หรือที่อาจารย์ที่ปรึกษากำาหนด
      2. การเผยแพร่ผลงานระดับโรงเรียน นักเรียนควรเตรียมแสดง
ผลงานเมื่อโรงเรียนจัดงานแสดงผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ หรือสิ่ง
ประดิษฐ์ หรืองานนิทรรศการ หรืองานอื่นๆ
      3. การเผยแพร่ผลงานระดับกลุ่มโรงเรียน/เขต/ประเทศ/
นานาชาติ
      4. การประกวดผลงานด้านวิทยาศาสตร์
      ในกรณีของข้อที่ 3 และ 4 นักเรียนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้
ถ้านักเรียนเอาใจใส่ มีผลงานที่มีคุณภาพ เตรียมเอกสารละชิ้นงานไดดี
อาจารย์ที่ปรึกษาเห็นว่าเป็นฯผลงานที่สามารถนำาออกแสดงหรือ
ประกวดได้
13




                แบบประเมิน การปฏิบ ัต ิก ารทำา กิจ กรรม

ชื่อนักเรียน..........................................................................
             ชั้น...................... เลขที่.......................

                                                      การให้ค ะแนน หมายเ
            ประเด็น การประเมิน
                                                                   หตุ
                                                       1   2    3
1. การสืบค้นข้อมูล
2. การนำาเสนอข้อมูลที่สืบค้น
3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
4. การกำาหนดปัญหาและตั้งสมมติฐาน
5. การออกแบบการทดลอง
6. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ทดลอง
7. การดำาเนินการทดลอง
8. การบันทึกข้อมูล
10. การนำาเสนอผลการทดลอง
11. การสรุปข้อมูล
การเขียนรายงาน
14




              แบบประเมิน เจตคติท าววิท ยาศาสตร์

คำา ชี้แ จง จงทำาเครื่องหมาย/ลงในช่องตรงกับคุณลักษณะที่ผู้เรียน
แสดงออก โดยจำาแนกระดับพฤติกรรม
        การแสดงออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้
             มาก (3)          หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการ
แสดงออกอย่างสมำ่าเสมอตลอดเวลา
             ปานกลาง (2)      หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการ
แสดงออกเป็นครั้งคราว
             น้อย (1)         หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการ
แสดงออกน้อยครั้ง
             ไม่แสดงออก (0)          หมายถึง ผู้เรียนไม่มีพฤติกรรม
การแสดงออกเลย
        สถานะของผู้ประเมิน       ผู้สอน             ผู้เรียน

                                              พฤติก รรมการ
                                               แสดงออก
                                          มา ปาน น้อ ไม่ม ีก าร
              คุณ ลัก ษณะ
                                          ก กลาง ย แสดงออ
                                          (3) (2)       ก (0)
                                                   (1)
1. ความสนใจใฝ่ร ู้ห รือ ความยากรู้
อยากเห็น
     - มีความใฝ่ใจและพอใจใคร่จะสืบเสาะ
แสวงหาความรู้
       ในสถานการณ์และปัญหาใหม่ๆ อยู่
เสมอ
     - มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมและ
เรื่องต่างๆ
15

    - ชอบทดลองค้นคว้า
    - ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อให้
ได้รับความรู้เพิ่มเติมขึ้น
2. ความรับ ผิด ชอบ ความมุ่ง มั่น อดทน
และเพีย รพยายาม
    - ยอมรับผลการกระทำาของตนเองทั้งที่
เป็นผลดีและผลเสีย
    - ทำางานที่ได้รับมอบหมายให้สมบูรณ์
ตามกำาหนด และตรงต่อ
      เวลา
    - เว้นการกระทำาอันเป็นผลเสียหายต่อ
ส่วนร่วม
    - ทำางานเต็มความสามารถ
    - ไม่ท้อถอยในการทำางาน เมื่อมีอุปสรรค
หรือล้มเหลว
    - มีความอดทนแม้การดำาเนินการแก้
ปัญหาจะยุ่งยากและ
       ใช้เวลา
3. ความมีเ หตุผ ล
    - ยอมรับในคำาอธิบายเมื่อมีหลักฐานหรือ
ข้อมูลมาสนับสนุน
       อย่างเพียงพอ
                                                พฤติก รรมการ
                                                 แสดงออก
                                            มา ปาน น้อ ไม่ม ีก าร
              คุณ ลัก ษณะ
                                            ก กลาง ย แสดงออ
                                            (3) (2)       ก (0)
                                                     (1)
    - พยายามอธิบายสิ่งต่างๆ ในแง่เหตุและ
ผลไม่เชื่อโชคลาง
      หรือคำาทำานายที่ไม่สามารถอธิบายตาม
วิธีการทาง
      วิทยาศาสตร์ได้
3. ความมีเ หตุผ ล (ต่อ )
    - อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอย่างมี
เหตุผล
    - ตรวจสอบความถูกต้องหรือความสม
เหตุสมผลของแนวคิด
16

      ต่างๆ กับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
    - รวบรวมข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนจะลง
ข้อสรุปเรื่องราวต่างๆ
4. ความมีร ะเบีย บและรอบคอบ
    - เห็นคุณค่าของความมีระเบียบและ
รอบคอบ
    - นำาวิธีการหลายๆ วิธี มาตรวจสอบผล
หรือวิธีการทดลอง
    - มีความใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พินิจ
พิเคราะห์
    - มีความละเอียดถี่ถ้วนในการทำางาน
    - มีการวางแผนการทำางานและจัดระบบ
การทำางาน
    - ตรวจสอบความเรียบร้อยหรือคุณภาพ
ของเครื่องมือ
      ก่อนทำาการทดลอง
    - ทำางานอย่างมีระเบียบและเรียบร้อย
5. ความซื่อ สัต ย์
    - เสนอความจริงถึงแม้จะเป็นผลที่แตก
ต่างจากผู้อื่น
    - เห็นคุณค่าของการเสนอข้อมูลตาม
ความจริง
    - บันทึกผลข้อมูลตามความเป็นจริงและ
ไม่ใช้ความคิดเห็น
      ของตนเองไปเกี่ยวข้อง
    - ไม่แอบอ้างผลงานของผู้อื่นว่าเป็นผล
งานของตนเอง
6. ความใจกว้า ง ร่ว มแสดงความคิด
เห็น และรับ ฟัง ความคิด
    ของผู้อ ื่น
   - รับฟังคำาวิพากษ์วิจารณ์ ข้อโต้แย้ง หรือ
ข้อคิดเห็นที่มีเหตุผล
     ของผูอื่น
            ้
    - ไม่ยึดมั่นในความคิดของตนเองและ
ยอมรับการเปลี่ยนแปลง

               คุณ ลัก ษณะ                     พฤติก รรมการ
                                                แสดงออก
17

                                             มา ปาน น้อ ไม่ม ีก าร
                                             ก กลาง ย แสดงออ
                                             (3) (2)     ก (0)
                                                     (1)
   - รับฟังความคิดเห็นที่ตัวเองยังไม่ข้าใจ
และพร้อมที่จะทำาความ
      เข้าใจ
   - ยอมพิจารณาข้อมูลหรือความคิดที่ยัง
สรุปแน่นอนไม่ได้และ
     พร้อมที่จะหาข้อมูลเพิ่มเติม

(ที่ม า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือวัดผล
ประเมินผล วิทยาศาสตร์
        พฤศจิกายน 2546,หน้า 136-139)




         เกณฑ์ย ่อ ยที่ใ ช้ป ระเมิน โครงงานวิท ยาศาสตร์
18

                   รายการประเมิน                            ระดับ
                                                            คุณ ภาพ
1. การกำา หนดปัญ หาและตั้ง สมมุต ิฐ าน
   - สมมุตฐานไม่สอดคล้องกับปัญหา
           ิ                                                   1
   - สมมุตฐานสอดคล้องกับปัญหา แต่ไม่แสดงความ
             ิ                                                 2
สัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล                                       3
   - สมมุตฐานสอดคล้องกับปัญหาและแสดงความสัมพันธ์
               ิ
ระหว่างเหตุและผลแต่ยัง                                         4
      ไม่ชัดเจน
   - สมมุตฐานสอดคล้องกับปัญหาและแสดงความสัมพันธ์
                 ิ
ระหว่างเหตุและผลอย่าง
     ชัดเจน
2. ข้อ มูล หรือ ข้อ เท็จ จริง ประกอบการทำา โครงงาน
   - มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ไม่เกี่ยวข้องกับ      1
ปัญหา                                                          2
   - มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับ         3
ปัญหาเพียงบางส่วน                                              4
   - มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหา แต่ยังไม่ครอบคลุม
   - มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหาอย่างชัดเจนและครอบคลุม
3. การออกแบบการทดลอง
   - สอดคล้องกับสมมุติฐานแต่ไม่มีการควบคุมตัวแปร               1
   - สอดคล้องกับสมมุติฐานและควบคุมตัวแปรบางส่วน                2
   - สอดคล้องกับสมมุติฐานและควบคุมตัวแปรได้ครบสม               3
บรูณ์                                                          4
   - สอดคล้องกับสมมุติฐาน ควบคุมตัวแปรได้ครบสมบรูณ์
และมีแนวทางการเก็บ
     รวบรวมข้อมูล
4. อุป กรณ์แ ละเครื่อ งมือ ที่ใ ช้ใ นการทดลอง
   - เลือกใช้อุปกรณ์ไม่เหมาะสม                                 1
   - เลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องบางส่วน                          2
   - เลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่                     3
   - เลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องและเหมาะสม                       4
5. การดำา เนิน การทดลอง
   - ดำาเนินการทดลองไม่เหมาะสม                                 1
   - ดำาเนินการทดลองได้ถูกต้องเป็นบางส่วน                      2
   - ดำาเนินการทดลองได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่                     3
   - ดำาเนินการทดลองได้ถูกต้องครบถ้วนสมบรูณ์                   4
19


                   รายการประเมิน                          ระดับ
                                                          คุณ ภาพ
6. การบัน ทึก ข้อ มูล
   - บันทึกข้อมูลบางส่วนไม่ตรงจุดประสงค์ที่ต้องการ           1
ศึกษา                                                        2
   - บันทึกข้อมูลตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษา                3
   - บันทึกข้อมูลตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษาและถูก          4
ต้อง
   - บันทึกข้อมูลตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษา ถูกต้อง
และครบสมบรูณ์
7. การจัก ระทำา ข้อ มูล
   - มีการจัดกระทำาข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเป็นส่วนมาก            1
   - มีการจัดกระทำาข้อมูลถูกต้อง แต่ยังไม่ชัดเจนเพียงพอ      2
   - มีการจัดกระทำาข้อมูลถูกต้องชัดเจน แต่ยังไม่ครบ          3
สมบูรณ์                                                      4
   - มีการจัดกระทำาข้อมูลถูกต้อง ละเอียด และครบ
สมบูรณ์
8. การแปลความหมายข้อ มูล และการสรุป ผลของ
ข้อ มูล                                                      1
   - แปลความหมายไม่ถูกต้องบางส่วน และไม่สรุปผล               2
   - แปลความหมายถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ แต่สรุปผลไม่             3
สอดคล้องกับข้อมูล                                            4
   - แปลความหมายถูกต้องแต่สรุปผลไม่สอดคล้องกับ
ข้อมูลบางส่วน
   - แปลความหมายถูกต้องและสรุปผลสอดคล้องกับข้อมูล
9. ความคิด ริเ ริ่ม สร้า งสรรค์
   - โครงงานคล้ายคลึงกับสิ่งที่เคยทำามาแล้ว                  1
   - โครงงานบางส่วนมีความแปลกใหม่จากโครงงานที่มีผู้          2
ทำาแล้ว                                                      3
   - โครงงานแสดงให้เห็นถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์           4
   - โครงงานแสดงให้เห็นถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และ
สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ได้
10. การเขีย นรายงานหรือ การแสดงผลงาน
   - มีการนำาเสนอไม่ชัดเจน ไม่เป็นขั้นตอน                    1
   - มีการนำาเสนอบางส่วนเป็นขั้นตอนแต่ยังไม่ชัดเจน           2
   - มีการนำาเสนอเป็นนั้นตอนแต่ยังไม่ชัดเจน                  3
   - มีการนำาเสนอเป็นขั้นตอนสมบูรณ์และชัดเจน                 4
20

      เกณฑ์การประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์รวมหรือเกณฑ์ย่อยที่กำา
ขึ้น ควรพิจารณาให้ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้และเป้าหมายการ
ทำาโครงงานวิทยาศาสตร์และต้องบันทึกผลการประเมินให้สอดคล้องกับ
เกณฑ์การประเมิน ดังตัวอย่างต่อไปนี้



       แบบบัน ทึก ผลการประเมิน โครงงานวิท ยาศาสตร์

                                               คะแนนที่
                                                 ได้
               รายกรประเมิน                             หมายเ
                                               1 2 3
                                                        หตุ
                                                     4
1. การกำาหนดปัญหาและการตั้งสมมติฐาน
2. ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงประกอบการทำาโครงงาน
3. การออกแบบการทดลง
4. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
5. การดำาเนินการทดลอง
6. การบันทึกข้อมูล
7. การจัดกระทำาข้อมูล
8. การแปลความหมายของข้อมูล
9. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
10. การเขียนรายงาน

       การประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์ทำาได้โดยการสังเกต การ
สัมภาษณ์ และจากบันทึกการปฏิบัติงานหรือบันทึกพฤติกรรมของผู้
เรียนเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ โดยการประเมินอย่างต่อเนื่องและ
สมำ่าเสมอจากผู้ประเมินหลายคน รวมทั้งการประเมินตนเองของผู้เรียน
ข้อสนเทศเหล่านี้ส่วนหนึ่งในการตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม
เป้าหมายของการจัดกาเรียนรู้วิทยาศาสตร์

(ที่ม า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือวัดผล
ประเมินผล วิทยาศาสตร์
        พฤศจิกายน 2546,หน้า 80-83)
21




    รายละเอีย ดของการประเมิน ในแต่ล ะขั้น ของกระบวนการ
                       จัด การเรีย นรู้แ บบ 5 Es
กระบวนก                        การประเมิน ผลของครู
ารจัด การ           ขณะทำา กิจ กรรม               หลัง จบกิจ กรรม
เรีย นรู้
            - การตอบคำาถามที่ครูถาม         - ถามคำาถามเพื่อประเมินว่า
 ขั้นสร้าง - การให้ความสนใจและ              นักเรียน บรรลุวัตถุประสงค์
ความ        พฤติกรรมของนักเรียนใน           ของขั้นตอนสร้างความสนใจ
      สนใจ ขณะทำากิจกรรม เช่น การถาม
            คำาถาม และแสดงความคิดเห็น
            -ข้อมูลที่ได้จากการสำารวจ       - ความถูกต้องและชัดเจน
            ตรวจสอบ และสืบค้นเพิ่มเติม ของข้อมูลของรายงาน และ
            จากหัวข้อที่อภิปราย             ผลผลิตที่ได้จากการทำา
 ขั้นสำารวจ - สังเกตการณ์อภิปรายร่วมกัน กิจกรรม
และ         - สังเกตวิธีการทำางานร่วมกัน - ประเมินรูปแบบของการจัด
      ค้นหา และความรับผิดชอบ                ทำารายงาน
            - สังเกตวิธีตัดสินใจและการแก้
            ปัญหา
            - สังเกตวิธีการเก็บและรวบรวม
            ข้อมูลและลงข้อสรุป
            - การแปลผลข้อมูลให้ออกมา - ประเมินผลการนำาเสนอผล
            ในรูปของข้อสรุป และคำา          งานของแต่ละคน หรือแต่ละ
            อธิบายได้อย่างถูกต้อและมี       กลุ่มในหมู่นักเรียนกันเอง
 ขั้นอธิบาย เหตุผล                          - การประเมินตนเองของ
และ         - ความชัดเจนในการอธิบาย นักเรียน
       สรุป และตอบคำาถามเกี่ยวกับผลงาน - ประเมินผลงานและการ
            ที่นำาเสนอ                      แสดงออกของนักเรียนใน
            - การให้ความสนใจในการนำา ด้านความซื่อสัตย์ เจตคติ
            เสนอผลงาน                       คุณธรรมและค่านิยม
            ของผู้อื่นทั้งในด้านการถาม
            คำาถามและการเสนอความคิด
            เห็น
            - การนำาข้อมูลที่ได้จากการ      - การสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
22

            สำารวจตรวจสอบและสืบค้น           ทั้งหมดจากการทดลองของ
 ขั้นขยาย   เพิ่มเติมมาใช้ในการอภิปราย       นักเรียน
ความรู้     - แสดงให้เห็นได้ว่าเกิดความ      - ประเมินความเป็นไปได้
            เข้าใจและมีความรู้ในเนื้อหา      ความน่าสนใจและความคิด
            การทดลอง และมีทักษะ              ริเริ่มของการประยุกต์ใช้
            กระบวนการการแก้ปัญหา             ความรู้ของนักเรียน
            ออกแบบ ละทำาการทดลองที่ดี
            ขึน
              ้
            - การนำาข้อมูลและความรู้ที่ได้
            ไปอธิบายสถานการณ์อื่นที่
            ใกล้เคียงหรือประยุกต์ใช้ให้
            เกิดประโยชน์ได้ในอนาคต

More Related Content

What's hot

พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไปPreecha Asipong
 
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิงแบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิงสำเร็จ นางสีคุณ
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
การหาร ใบงาน
การหาร ใบงานการหาร ใบงาน
การหาร ใบงานNattapong Peenasa
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1 คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1 thirachet pendermpan
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 

What's hot (20)

พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
 
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิงแบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
การหาร ใบงาน
การหาร ใบงานการหาร ใบงาน
การหาร ใบงาน
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1 คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 

Similar to การเขียนเค้าโครง

แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2Surapong Jakang
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555ทับทิม เจริญตา
 
ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานKrooIndy Csaru
 
แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4Surapong Jakang
 
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงานแผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงานSumalee Klom
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษสมใจ จันสุกสี
 
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...Usmaan Hawae
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..krunoony
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1krupornpana55
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1krupornpana55
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการKittiphat Chitsawang
 
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
Pimploy wongjam
Pimploy wongjamPimploy wongjam
Pimploy wongjamPim Ploy
 
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชนแบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน84village
 

Similar to การเขียนเค้าโครง (20)

แผนการสอน..
แผนการสอน..แผนการสอน..
แผนการสอน..
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
 
ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงาน
 
แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4
 
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงานแผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
 
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
บันทึกส่ง
บันทึกส่งบันทึกส่ง
บันทึกส่ง
 
Portfolio
PortfolioPortfolio
Portfolio
 
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Pimploy wongjam
Pimploy wongjamPimploy wongjam
Pimploy wongjam
 
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชนแบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
 

More from vittaya411

แบบทดสอบชุดที่ 5
แบบทดสอบชุดที่ 5แบบทดสอบชุดที่ 5
แบบทดสอบชุดที่ 5vittaya411
 
แบบทดสอบชุดที่ 4
แบบทดสอบชุดที่ 4แบบทดสอบชุดที่ 4
แบบทดสอบชุดที่ 4vittaya411
 
แบบทดสอบชุดที่ 3
แบบทดสอบชุดที่ 3แบบทดสอบชุดที่ 3
แบบทดสอบชุดที่ 3vittaya411
 
แบบทดสอบชุดที่ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2แบบทดสอบชุดที่ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2vittaya411
 
แบบทดสอบชุดที่ 1
แบบทดสอบชุดที่ 1แบบทดสอบชุดที่ 1
แบบทดสอบชุดที่ 1vittaya411
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้
กำหนดการจัดการเรียนรู้กำหนดการจัดการเรียนรู้
กำหนดการจัดการเรียนรู้vittaya411
 
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54vittaya411
 
511 friends to no end
511 friends to no end511 friends to no end
511 friends to no endvittaya411
 

More from vittaya411 (8)

แบบทดสอบชุดที่ 5
แบบทดสอบชุดที่ 5แบบทดสอบชุดที่ 5
แบบทดสอบชุดที่ 5
 
แบบทดสอบชุดที่ 4
แบบทดสอบชุดที่ 4แบบทดสอบชุดที่ 4
แบบทดสอบชุดที่ 4
 
แบบทดสอบชุดที่ 3
แบบทดสอบชุดที่ 3แบบทดสอบชุดที่ 3
แบบทดสอบชุดที่ 3
 
แบบทดสอบชุดที่ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2แบบทดสอบชุดที่ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2
 
แบบทดสอบชุดที่ 1
แบบทดสอบชุดที่ 1แบบทดสอบชุดที่ 1
แบบทดสอบชุดที่ 1
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้
กำหนดการจัดการเรียนรู้กำหนดการจัดการเรียนรู้
กำหนดการจัดการเรียนรู้
 
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
 
511 friends to no end
511 friends to no end511 friends to no end
511 friends to no end
 

การเขียนเค้าโครง

  • 1. รายละเอีย ดเค้า โครงย่อ โครงงานวิท ยาศาสตร์ โรงเรีย น ................................................................................ ชื่อ โครงงาน ........................................................................................ ................................................... ชื่อนักเรียนผู้ทำาโครงงาน ........................................................................................ ................................ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 1. .................................................................................... ................................... 2. .................................................................................... ................................... 1. แนวคิด ที่มา และความสำาคัญของโครงงาน ให้ระบุที่มาของปัญหา และเหตุผลที่เลือกทำาโครงงานนี้ 2. จุดมุ่งหมายของการศึกษา เขียนสั้นๆ ประมาณ 2-3 บรรทัด แต่ตองให้ชัดเจนว่า ้ โครงงานจะก่อให้เกิดผลงานอย่างไร จะนำาไปแก้ปัญหาอะไร หรือตอบปัญหาอะไร ถ้ามีวัตถุประสงค์หลายข้อ ให้ระบุมาเป็นข้อๆ ให้ชัดเจน 3. สมมติฐาน 4. ขอบเขตของการศึกษา (ถ้ามี) ระบุขอบเขตของการวิจัยที่จะทำาให้ชัดเจนว่าจะครอบคลุมถึง อะไรบ้าง 5. เอกสาร หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง กล่าวถึงความสัมพันธ์ของโครงงานที่นำาเสนอกับผลงานวิจัย อื่นๆ เพื่อให้เห็นว่าโครงงานที่เสนอเป็นการวิจัยเพื่อหาองค์ความรู้ใหม่ 6. วิธีการดำาเนินงาน ส่วนนี้เป็นส่วนที่สำาคัญที่สุดของโครงการ ให้เขียนให้ชัดเจน และละเอียดเท่าที่จะเป็นไปได้ ก. อุปกรณ์ ข. แนวทางในการศึกษา
  • 2. 2 ระบุกิจกรรมในแต่ละขั้นตอน โดยระบุตามระเบียบวิธีวิจัย ทุกขั้นตอนอย่างละเอียดและชัดเจน เช่น วิธีการเก็บข้อมูล จำานวน และขนาดของตัวอย่าง วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล 7. แผนการปฏิบัติงาน แสดงตารางเวลาตามแผนดำาเนินงานอย่างชัดเจน 8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระบุผลผลิตที่ได้จากโครงงาน เช่น สังเคราะห์อะไรก็จะได้สิ่ง นั้นมา 9. เอกสารอ้างอิง การเขีย นรายงานโครงงานวิท ยาศาสตร์ การเขียนรายงานเป็นการนำาเสนอผลงานจากการทำากิจกรรม อย่างเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อสื่อสารให้ผู้อื่นสนใจ เป็นการนำาเสนอ ผลงานของการศึกษาค้นคว้าเป็นเอกสารเพื่อให้ผู้อื่นทราบปัญหาที่ ศึกษา วิธีการดำาเนินการศึกษา ข้อมูลที่ได้ และประโยชน์ที่ได้จากการ ทำากิจกรรม โดยมีแบบฟอร์ม ดังนี้ แบบฟอร์ม การจัด ทำา รายงาน ชื่อ กิจ กรรม / ชื่อ เรื่อ ง ……………………………………………………………………… ………….. ชื่อ ผู้ท ำา กิจ กรรม ……………………………………………………………………… ……………….. ชื่อ ที่ป รึก ษากิจ กรรม ……………………………………………………………………… ………….. บทนำา ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ ดังนี้ 1. ที่มาและความสำาคัญของกิจกรรม ………………………………………………………… 2. ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ………………………………………………………………… 3. แรงบันดาลใจ
  • 3. 3 ……………………………………………………………………… …….. จุด ประสงค์ สมมติฐานการทำากิจกรรม(ถ้ามี) …………………………………………………………….. ตัวแปรต้น(ถ้ามี) ……………………………………………………………………… ……... ตัวแปรตาม(ถ้ามี) ……………………………………………………………………… ……. ตัวแปรควบคุม(ถ้า มี) ................................................................................... ............................. วิธ ีด ำา เนิน งาน วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ ………………………………………………………………………. .. แผนการดำาเนินงาน ……………………………………………………………………… ….. วิธีดำาเนินการทดลอง/สำารวจ และรวบรวมข้อมูล ……………………………………………. ผลการดำา เนิน งาน /ผลของการศึก ษาค้น คว้า (จัดกระทำาข้อมูล แปลความหมาย และรายงานผลการ ทดลอง/สำารวจ) สรุป ผลการดำา เนิน งาน ……………………………………………………………………… …………. วิจ ารณ์ผ ลการดำา เนิน งาน ……………………………………………………………………… ………. เอกสารอ้า งอิง ……………………………………………………………………… ………………….. การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์
  • 4. 4 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์เป็นรายงานเชิง วิชาการอย่างหนึ่งโดยทั่วไป การเขียน รายงานเชิงวิชาการมีรูปแบบในการเขียนที่แน่นอนตามสากลนิยม แต่ละสถาบันหรือสาขาวิชาอาจมีข้อปลีกย่อยของรูปแบบในการเขียนที่ แตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ตามหลักการสำาคัญในการเขียนก็ยังคง เหมือนกัน คือ ต้องเขียนไปตามข้อเท็จจริงตามข้อมูลที่ได้มามีการ แปลผลภายใต้ขอบเขตของข้อมูลไม่เพิ่มเติมความคิดเห็นส่วนตัวลงไป ใช้ภาษาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย ไม่ใช้ภาษาพูด และภาษานวนิยาย เอกสารการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์นี้ จัดทำาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการเขียนรายงานการทำาโครงงาน วิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์ของนักเรียนทุน พสวท. ให้เป็นแบบแผน อันเดียวกัน และสะดวกกับการประเมินโครงงานของนักเรียนทุน พสวท. ที่เรียนโปรแกรมเสริมวิชา ว 40291 โครงงานวิทยาศาสตร์ 2 และวิชา ค 40299 โครงงาน วิทยาศาสตร์ 2 สสวท. จึงกำาหนดโครงสร้างและรูปแบบการเขียน โครงงานให้เป็นหลักปฏิบัติแบบเดียวกัน ต่อไปนี้ข้อความใดที่กล่าวถึงโครงงานวิทยาศาสตร์และวิชา ว 40291 โครงงานวิทยาศาสตร์ 2 ให้ใช้แทนโครงงานคณิตสาสตร์ และวิชา ค 40299 โครงงานคณิตศาสตร์ 2 ได้ โครงสร้างของรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ กำาหนดไว้เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนนำา ส่วนเนื้อเรื่องและส่วนอ้างอิง 1. ส่ว นนำา ประกอบด้วย 1.1 ปกนอก 1.2 ใบรองปก (กระดาษเปล่า 1 แผ่น) 1.3 ปกใน 1.4 บทคัดย่อ 1.5 กิตติกรรมประกาศ 1.6 สารบัญ 1.6.1 สารบัญตาราง(ถ้ามี) 1.6.2 สารบัญภาพ(ถ้ามี)
  • 5. 5 ปกนอก โรงเรียน...................................... โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง.................................. โดย .................................................... รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ว 40291 โครงงานวิทยาศาสตร์ 2 ตารมหลักสูตรโปรแกรมเสริม พสวท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ปกนอกเป็นส่ยนที่ ่ค1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ นพิปีการโดยทั่วไป ภาคเรี วนที วรเน้นความสวยงามเป็ 6 เศษ นิยมใช้กระดาษแข็งหรือค่อนข้างแข็งพิมพ์ด้วยสีต่างๆ หรือใช้กระดาษ ข้อความบนปกนอกประกอบด้วยข้อความเรียงตามลำาดับ ดังนี้ - ชื่อโรงเรียน - โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง - ชื่อนักเรียนผู้ทำาโครงงาน ระบุคำานำาหน้านาม ชื่อ นามสกุล ในกรณีที่มีผู้ทำาโครงงานหลายคนต้องลงชื่อทั้งหมด และใส่คำาว่า โดย ก่อนพิมพ์ชื่อผู้ทำาโครงงาน - ข้อความที่บอกให้ทราบถึงโอกาสในการทำาโครงงาน วิทยาศาสตร์ คือ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ว 40291 โครง งานวิทยาสาสตร์ 2 ตามหลักสูตรโปรแกรมเสริม พสวท. ของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 25..... ข้อความทั้งหมดบนปกนอกควรจัดเรียงให้กระจายอยู่บนปก ได้ ระยะที่สวยงาม ใช้ขนาดตัวอักษรที่พอเหมาะ ดึงดูดความสนใจ และ เว้นระยะห่างให้สมดุล
  • 6. 6 ปกใน โรงเรียน...................................... โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง.................................. โดย .................................................... อาจารย์ที่ปรึกษาจากโรงเรียน ......................................................... ............... ......................................................... ............... อาจารย์ที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน/ที่ ปรึกษาพิเศษ ………………………………………………. รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ว 40291 โครงงาน วิทยาศาสตร์ 2 ตารมหลักสูตรโปรแกรมเสริม พสวท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข้อความบนปกในควรจัดให้สวยงามเช่นเดียวกับปกนอก ข้อความที่เพิ่มเติมจากปกนอกธยมศึกษาปีที่ ที่ปรึปีการศึก้งอาจารย์ที่ ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมั คือ อาจารย์ 6 กษา ทั ษา 25.. ปรึกษาจากศูนย์โรงเรียนและศูนย์มหาวิทยาลัย แต่ไม่จำาเป็นต้องใช้คำา ว่า ศูนย์หน้าชื่อโรงเรียนและมาหาวิทยาลัย ในกรณีที่มีที่ปรึกษาจาก หน่วยงาน หรือ ที่ปรึกษาพิเศษ ซึ่งอาจมาจากมหาวิทยาลัย หรือ หน่วยงาน หรือเป็นผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ หรือนักวิชาการอิสระ ก็อาจ เขียนหัวข้อที่ปรึกษาพิเศษ หรือเขียนให้สอดคล้องกับสถานะของที่ ปรึกษานั้นๆ อย่างไรก็ดีนักเรียนต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษาจากศูนย์ โรงเรียนของนักเรียนอยู่ด้วย บทคัด ย่อ
  • 7. 7 บทคัดย่อ เป็นข้อความโดยสรุปของรายงานโครงงาน วิทยาศาสตร์ที่สั้นได้ใจความชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาสำาคัญ บทคัดย่อที่เป็นส่วนหนึ่งในรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ไม่ต้องเขียน ส่วนนำาของบทคัดย่อถ้าเป็นบทคัดย่อที่จัดทำาขึ้นมาเพื่อการเผยแพร่ โครงงานที่แยกออกไปจากรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ฉบับสมบูรณ์ ต้องมีทั้งส่วนนำา และส่วนเนื้อเรื่อง ดังนั้น ส่วนนำา ประกอบด้วย - ชื่อเรื่อง - ชื่อผู้ทำาโครงงานวิทยาศาสตร์ ใช้หลักการเดียวกับการเขียนปก นอก - e-mail address ………….. โทรศัพท์......................... - ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา และชื่อหน่วยงานของอาจารย์ที่ปรึกษา - วัน เดือน ปี ที่ทำา (ระบุภาคการศึกษา และปีการศึกษาที่ทำา) - ผูสนับสนุนการทำาโครงงาน ซึ่งได้แก่โครงการ พสวท. ้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และศูนย์โรงเรียน ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วยจุดประสงค์ วิธีดำาเนินงาน ผลการ ดำาเนินงาน และอาจมีข้อเสนอแนะด้วย การเขียนเนื้อเรื่อง เขียนเป็นความเรียงต่อเนื่อง ระบุจุดประสงค์ วิธีดำาเนินงาน ผลการดำาเนินงาน (และข้อเสนอแนะ) ต่อเนื่องกันไป ถ้าโครงงานนั้นมีจุดประสงค์หลายข้อก็อาจย่อหน้าและใส่เลขกำากับ แต่ละจุดประสงค์ ในส่วนของวิธีการดำาเนินงานควรระบุขนาดของกลุ่ม ตัวอย่าง วิธีการรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำาดับของ จุดประสงค์ แล้วนำาเสนอผลการดำาเนินงานตามลำาดับของวิธีการดำาเนิน งานโดยนำาเสนอเฉพาะประเด็นสำาคัญในลักษณะการสรุปเท่านั้น กิตติกรรมประกาศ โดยทั่วไปกิตติกรรมประกาศเป็นส่วนที่ผู้ทำาโครงงานวิทยาศาสตร์ ชี้แจงเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายสิ่งสำาคัญที่ค้นพบ ประโยชน์ที่จะนำาไปใช้ ข้อจำากัดของการทำางาน คำาขอบคุณผู้ที่มีส่วนช่วยเหลือ สนับสนุนทั้ง ด้านการเงิน กำาลังใจ แรงงาน และให้ข้อเสนอแนะ รวมทั้งระบุชื่อผู้ วิจัย และวัน เดือน ปีที่พิมพ์ ในกรณีของการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ทุน พสวท. กำาหนดให้เขียนกิตติกรรมประกาศโดยกล่าวถึงคำาขอบคุณ
  • 8. 8 โครงการ พสวท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนให้ทุนกาศึกษา รวมทั้งหน่วยงา นอื่นๆ และผู้ที่มีส่วนช่วยเหลือ แล้วลงชื่อนักเรียนผู้ทำาโครงงาน และวัน เดือน ปีที่พิมพ์ สารบัญ สารบัญเป็นส่วนหนึ่งที่แสดงเลขหน้าที่เป็นหน้าแรกของบท หรือ หัวข้อของรายงาน การเลือกเลขหน้าของหน้าแรกของบท หรือหัวข้อ มาลงสารบัญไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน ควรเลือกเฉพาะหัวข้อใหญ่ๆ และหัวข้อรองลงไปที่สำาคัญ ในส่วนของรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีการแสดงผลเป็น ตาราง และหรือภาพเป็นจำานวนมากในหัวข้อสารบัญต้องมีหัวข้อ สารบัญตาราง และหรือสารบัญภาพเป็นหัวข้อหัวข้อย่อย ถ้ามีตาราง หรือภาพจำานวนน้อย ก็ไม่จำาเป็นต้องมีหัวข้อสารบัญตาราง และหรือ สารบัญภาพ 2. ส่ว นเนื้อ เรื่อ ง ส่วนนี้กำาหนดให้ทำาแบบบทเป็นบท จำานวน 5 บท ประกอบด้วย 2.1 บทที่ 1 บทนำา 2.2 บทที่ 2 เอกสารและรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.3 บทที่ 3 วิธีการดำาเนินงาน 2.4 บทที่ 4 ผลการดำาเนินงาน 2.5 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลการดำาเนินงาน และข้อเสนอแนะ บทที่ 1 บทนำา เป็นบทที่กล่าวถึง - ความเป็นมา และความสำาคัญของโครงงาน - จุดประสงค์ - ขอบเขตของการดำาเนินงาน - สมมุตฐาน (ถ้ามี) ิ - นิยามศัพท์ที่ใช้ในการทำาโครงงาน - ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม - แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง - ความรู้พื้นฐานของเรื่องที่ทำา
  • 9. 9 ในส่วนของแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ เรื่องที่ทำา ควรเลือกลงในประเด็นสำาคัญที่เกี่ยวกับเรื่องที่ทำา ตัวอย่าง เช่น นักเรียนทำาเรื่อง “การใช้กาบมะพร้าวทำาสีผสมขนมเปียกปูน” นักเรียนควรลงความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกาบมะพร้าว อาจนิยามคำาศัพท์ “กาบมะพร้าว” คำาอธิบายเกี่ยวกับสารเคมีในกาบมะพร้าว การ เปลี่ยนแปลงทางเคมีเมื่อนำากาบมะพร้าวมาเผาให้เป็นสีดำาเพื่อใช้ทำาสี ขนม วิธีการทำาขนมเปียกปูน และประโยชน์ของขนมเปียกปูน นักเรียน ไม่ควรนำาเรื่องราวที่ไม่ตรงประเด็นมาลงไว้ เช่น เรื่อง “เกี่ยวกับมะพำา ร้าว” อย่างละเอียด โดยกล่าวถึงมะพร้าวเป็นพืชดอก ใบเลี้ยงเดี่ยว ลักษณะราก ลำาต้น ใบ ดอก ผล ระยะเวลาการเก็บเกี่ยว ฯลฯ ถือว่าเกน ความจำาเป็น การเขียนความเป็นมา ความสำาคัญ และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ เรื่องที่ทำา อาจมีการอ้างอิงในการอ้างอิงความรู้และทำาเชิงอรรถให้เลือก ใช้ระบบใดระบบหนึ่งให้เหมือนกันกับที่ใช้ ในบทอื่นๆ ของรายงาน บทที่ 2 เอกสารและรายงานงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับการทบทวนผลงานจากเอกสาร งาน วิจัย และโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีผู้ศึกษาทดลองมาก่อน นักเรียนควร ค้นคว้ารวบรวมผลจากงานวิจัย หนังสืออ้างอิง รวมทั้งโครงงาน วิทยาศาสตร์ย้อนหลังไปในปีก่อนๆ ให้มากที่สุด โครงงานวิทยาศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษานั้น ไม่จำาเป็น ต้องทบทวนงานวิจัย และเอกสาร อ้างอิงจนครบถ้วน แต่ให้พยายามค้นคว้าเท่าที่จะทำาได้ โครงงาน วิทยาศาสตร์บางเรื่องอาจไม่สามารถค้นหางานวิจัยหรือเอกสารอ้างอิง ได้ นักเรียนอาจกล่าวอ้างอิงถึงผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นบุคคล หรือหน่วย งานก็ได้ การอ้างอิงเอกสารและรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้องต้องอ้างอิงและทำา เชิงอรรถโดยใช้ระบบเดียวกันกับที่ใช้บทที่ 1 บทนำา เพื่อความสะดวกในการเขียนรายงาน เมื่อสำารวจ ค้นคว้า ทบทวน ผลงานจากหนังสือ ตำารา วารสาร หนังสือพิมพ์ เอกสารเผยแพร่หรือ เว็บไซต์แล้ว นักเรียนควรรวบรวมรายชื่อเอกสารเหล่านั้นในรูปแบบที่ จะนำาไปเขียนในหัวข้อเอกสารอ้างอิงได้เลย การเรียบเรียงเขียนเรื่องราวที่ค้นคว้ารวบรวมมาได้ ถ้ามีเนื้อหาไม่ มากนัก เช่น รวบรวมได้ครึ่งหน้ากระดาษ A 4 หรือเพียง 4-5 บรรทัด อาจนำาไปรวบรวมไว้ในบทที่ 1 บทนำา โดยนำาไปเขียนต่อท้ายความรู้ พื้นฐานของเรื่องที่ทำา บทที่ 3 วิธีดำาเนินงาน
  • 10. 10 เป็นบทที่กล่าวถึง - วัสดุ - อุปกรณ์ - สารเคมี - พืช/สัตว์ทดลอง - เครื่องมือ (กรณีที่ใช้เครื่องมือพิเศษ) - วิธีการดำาเนินงาน ในส่วนของวิธีการดำาเนินงาน นักเรียนต้องเขียนให้สอดคล้องกับ จุกประสงค์ มีวิธีการดำาเนินงานครบถ้วนตามที่ตั้งจุดประสงค์ไว้ ในการ กล่าวถึงสิ่งเดียวกันต้องใช้สำานวนเดียวกัน ในทุกบท เรียงลำาดับหัวข้อ ตามกันตั้งแต่จุดประสงค์ไปจนจบรายงาน เนื้อหาของการเขียนวิธีการดำาเนินงาน ควรกล่าวถึงการออกแบบ การสำารวจ/ประดิษฐ์/ทดลอง ที่มีการควบคุมตัวแปรอย่างถูกต้องเหมาะ สม อธิบายวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสำารวจ/ประดิษฐ์/ทดลอง และการวิเคราะห์ข้อมูลไว้อย่างชัดเจน บทที่ 4 ผลการดำาเนินงาน เป็นการนำาเสนอผลการสำารวจ/ประดิษฐ์/ทดลอง รวมทั้งเสนอผล การวิเคราะห์ข้อมูลที่วิเคราะห์ได้ ในการนำาเสนอผลการดำาเนินงานนี้ ต้องนำาเสนอตามลำาดับหัวข้อในจุดประสงค์ และวิธีการดำาเนินงานอาจมี การจัดกระทำาข้อมูลและนำาเสนอในรูปตาราง ภาพ แผนภาพ กราฟ ฯลฯ ประกอบการนำาเสนอด้วย โดยก่อนจะนำาเสนอด้วยตาราง ภาพ แผนภาพ หรือกราฟ นักเรียนต้องเขียนข้อความบรรยายถึงผลการ ดำาเนินงานที่ได้ให้ครบถ้วน แล้วแสดงตาราง ภาพ แผนภาพ หรือกราฟ นั้นๆ ตาราง ภาพ แผนภาพ หรือกราฟ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ หมายเลขของตาราง ภาพ แผนภาพ หรือกราฟ และชื่อของตาราง ภาพ แผนภาพ หรือกราฟ เช่น ตารางที่ 1 แสดงค่าความเข้มของสีดำาในขนมเปียกปูน เมื่อใส่นำ้า สีดำาจากาบมะพร้าวที่เผานาน 10 และ 12 นาที โดยแปรผันปริมาณ กาบมะพร้าว 5 10 และ 15 กรัม ต่อขนมเปียกปูน 100 กรัม บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลการดำาเนินงาน และข้อเสนอแนะ
  • 11. 11 การสรุปผลที่ได้จากการทำาโครงงาน ถ้ามีการตั้งสมมุติฐานควร ระบุว่าผลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมุติฐาน แล้วผลเรียงลำาดับตาม จุดประสงค์และผลการดำาเนินงานที่ได้ การอภิปรายผลการดำาเนินงาน เป็นการอธิบายเหตุผลทาง วิทยาศาสตร์ที่ทำาให้ได้ผลการสำารวจ/ประดิษฐ์/ทดลองนั้นๆ จัดเป็น ส่วนที่แสดงถึงพื้นความรู้และความเอาใจใส่ในศึกษาค้นคว้าในเรื่องที่ ทำาของผู้ทำาโครงงาน นักเรียนควรสืบค้นความรู้ต่างๆ มาอ้างอิง เพื่อ ยืนยันผลการดำาเนินงานว่ามีคุณค่า และเชื่อถือได้ ผลหารดำาเนินงาน และการอ้างอิงความรู้ต่างๆ ให้ใช้ระบบเดียวกันกับที่ใช้ในบทที่ 1 บทนำา และบทที่2 เอกสารและรายงานงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของข้อเสนอแนะนั้นให้เขียนถึงประโยชน์ที่ได้จากการทำา โครงงานวิทยาศาสตร์นั้นๆ และเสนอข้อควรปรับปรุงหากจะมีผู้ต้องการ ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทำานองนี้ต่อไปในอนาคต และทั้งหมดจะต้องเป็น เนื้อหาสาระที่ได้จากผลการทำาโครงงานมิใช่จากข้อคิดเห็นส่วนตัว 3. ส่ว นอ้า งอิง ประกอบด้วย 3.1 เอกสารอ้างอิง 3.2 ภาคผนวก เอกสารอ้างอิง เอกสารอ้างอิงเป็นส่วนท้ายของรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เอกสารอ้างอิงที่จะนำามาลงในส่วนท้ายของรายงานนี้จะต้องเป็นเอกสาร ที่ได้เคยอ้างอิงและทำาเชิงอรรถไว้ในบทที่ 1 บทนำา หรือบทที่ 2 เอกสารและรายงานงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ภาคผนวก ภาคผนวกเป็นส่วนท้ายของรายงานเชิงวิชาการ ไม่ใช่ส่วนที่เป็น เนื้อหาอย่างแท้จริง เป็นเพียงส่วนประกอบที่จะสนับสนุนการค้นคว้า วิจัยของผู้ทำาโครงงานวิทยาศาสตร์ ในกรณีของการเขียนรายงานโครง งานวิทยาศาสตร์ของนักเรียน นักเรียนอาจลง - ข้อมูลการสำารวจ/ประดิษฐ์/ทดลองที่ยังไม่จัดกระทำา - ตาราง รูปภาพ กราฟ และแผนภาพที่ละเอียดมากๆ ซึ่งถ้าใส่ไว้ ในส่วนเนื้อเรื่องจะทำาให้เนื้อเรื่องยาวไม่กระชับ - ข้อมูลของผลการทดลองเบื้องต้น
  • 12. 12 - ข้อความซึ่งเป็นรายละเอียดของเทคนิควิธีการต่างๆ ที่ตองการ ้ ให้ผู้สนใจได้ศึกษา -ฯลฯ ข้อ เสนอแนะการเสนอผลงาน ผลงานที่ได้จาการทำากิจกรรมถือเป็นหลักฐาน ร่องรอยที่สำาคัญ แสดงถึงความรู้ความสามารถหรือผลการเรียนรู้ของผู้เรียน การเสนอ ผลงานต่างๆ ที่ได้ศึกษาค้นคว้ามา เป็นการนำาเสนออาจเป็นตาราง แผนภูมิแท่ง แผนภูมิรูปวงกลม สร้างแบบจำาลอง การคำานวณหาค่า เฉลี่ย รายงานด้วยปากเปล่า และเขียนรายงานบางกิจกรรมอาจนำา เสนอโดยการจัดนิทรรศการ ซึ่งการนำาเสนอจะต้องจัดให้เหมาะสมกับ ลักษณะของกิจกรรมนั้นๆ เมื่อนักเรียนดำาเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นแล้ว ควรนำาเสนอผลงานเพื่อ เป็นการเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้รับรู้การเผยแพร่ผลงานสามารถทำาได้หลาย ระดับ ดังนี้ 1. การเผยแพร่ผลงานต่อเพื่อนในชั้นเรียน เป็นสิ่งจำาเป็นขั้นพื้น ฐาน นักเรียนควรจัดวางผลงานพร้อมรายงานจัดแสดงหรือติดประกาศ ในห้องเรียน หรือที่อาจารย์ที่ปรึกษากำาหนด 2. การเผยแพร่ผลงานระดับโรงเรียน นักเรียนควรเตรียมแสดง ผลงานเมื่อโรงเรียนจัดงานแสดงผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ หรือสิ่ง ประดิษฐ์ หรืองานนิทรรศการ หรืองานอื่นๆ 3. การเผยแพร่ผลงานระดับกลุ่มโรงเรียน/เขต/ประเทศ/ นานาชาติ 4. การประกวดผลงานด้านวิทยาศาสตร์ ในกรณีของข้อที่ 3 และ 4 นักเรียนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ ถ้านักเรียนเอาใจใส่ มีผลงานที่มีคุณภาพ เตรียมเอกสารละชิ้นงานไดดี อาจารย์ที่ปรึกษาเห็นว่าเป็นฯผลงานที่สามารถนำาออกแสดงหรือ ประกวดได้
  • 13. 13 แบบประเมิน การปฏิบ ัต ิก ารทำา กิจ กรรม ชื่อนักเรียน.......................................................................... ชั้น...................... เลขที่....................... การให้ค ะแนน หมายเ ประเด็น การประเมิน หตุ 1 2 3 1. การสืบค้นข้อมูล 2. การนำาเสนอข้อมูลที่สืบค้น 3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 4. การกำาหนดปัญหาและตั้งสมมติฐาน 5. การออกแบบการทดลอง 6. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ทดลอง 7. การดำาเนินการทดลอง 8. การบันทึกข้อมูล 10. การนำาเสนอผลการทดลอง 11. การสรุปข้อมูล การเขียนรายงาน
  • 14. 14 แบบประเมิน เจตคติท าววิท ยาศาสตร์ คำา ชี้แ จง จงทำาเครื่องหมาย/ลงในช่องตรงกับคุณลักษณะที่ผู้เรียน แสดงออก โดยจำาแนกระดับพฤติกรรม การแสดงออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้ มาก (3) หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการ แสดงออกอย่างสมำ่าเสมอตลอดเวลา ปานกลาง (2) หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการ แสดงออกเป็นครั้งคราว น้อย (1) หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการ แสดงออกน้อยครั้ง ไม่แสดงออก (0) หมายถึง ผู้เรียนไม่มีพฤติกรรม การแสดงออกเลย สถานะของผู้ประเมิน ผู้สอน ผู้เรียน พฤติก รรมการ แสดงออก มา ปาน น้อ ไม่ม ีก าร คุณ ลัก ษณะ ก กลาง ย แสดงออ (3) (2) ก (0) (1) 1. ความสนใจใฝ่ร ู้ห รือ ความยากรู้ อยากเห็น - มีความใฝ่ใจและพอใจใคร่จะสืบเสาะ แสวงหาความรู้ ในสถานการณ์และปัญหาใหม่ๆ อยู่ เสมอ - มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมและ เรื่องต่างๆ
  • 15. 15 - ชอบทดลองค้นคว้า - ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อให้ ได้รับความรู้เพิ่มเติมขึ้น 2. ความรับ ผิด ชอบ ความมุ่ง มั่น อดทน และเพีย รพยายาม - ยอมรับผลการกระทำาของตนเองทั้งที่ เป็นผลดีและผลเสีย - ทำางานที่ได้รับมอบหมายให้สมบูรณ์ ตามกำาหนด และตรงต่อ เวลา - เว้นการกระทำาอันเป็นผลเสียหายต่อ ส่วนร่วม - ทำางานเต็มความสามารถ - ไม่ท้อถอยในการทำางาน เมื่อมีอุปสรรค หรือล้มเหลว - มีความอดทนแม้การดำาเนินการแก้ ปัญหาจะยุ่งยากและ ใช้เวลา 3. ความมีเ หตุผ ล - ยอมรับในคำาอธิบายเมื่อมีหลักฐานหรือ ข้อมูลมาสนับสนุน อย่างเพียงพอ พฤติก รรมการ แสดงออก มา ปาน น้อ ไม่ม ีก าร คุณ ลัก ษณะ ก กลาง ย แสดงออ (3) (2) ก (0) (1) - พยายามอธิบายสิ่งต่างๆ ในแง่เหตุและ ผลไม่เชื่อโชคลาง หรือคำาทำานายที่ไม่สามารถอธิบายตาม วิธีการทาง วิทยาศาสตร์ได้ 3. ความมีเ หตุผ ล (ต่อ ) - อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอย่างมี เหตุผล - ตรวจสอบความถูกต้องหรือความสม เหตุสมผลของแนวคิด
  • 16. 16 ต่างๆ กับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ - รวบรวมข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนจะลง ข้อสรุปเรื่องราวต่างๆ 4. ความมีร ะเบีย บและรอบคอบ - เห็นคุณค่าของความมีระเบียบและ รอบคอบ - นำาวิธีการหลายๆ วิธี มาตรวจสอบผล หรือวิธีการทดลอง - มีความใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พินิจ พิเคราะห์ - มีความละเอียดถี่ถ้วนในการทำางาน - มีการวางแผนการทำางานและจัดระบบ การทำางาน - ตรวจสอบความเรียบร้อยหรือคุณภาพ ของเครื่องมือ ก่อนทำาการทดลอง - ทำางานอย่างมีระเบียบและเรียบร้อย 5. ความซื่อ สัต ย์ - เสนอความจริงถึงแม้จะเป็นผลที่แตก ต่างจากผู้อื่น - เห็นคุณค่าของการเสนอข้อมูลตาม ความจริง - บันทึกผลข้อมูลตามความเป็นจริงและ ไม่ใช้ความคิดเห็น ของตนเองไปเกี่ยวข้อง - ไม่แอบอ้างผลงานของผู้อื่นว่าเป็นผล งานของตนเอง 6. ความใจกว้า ง ร่ว มแสดงความคิด เห็น และรับ ฟัง ความคิด ของผู้อ ื่น - รับฟังคำาวิพากษ์วิจารณ์ ข้อโต้แย้ง หรือ ข้อคิดเห็นที่มีเหตุผล ของผูอื่น ้ - ไม่ยึดมั่นในความคิดของตนเองและ ยอมรับการเปลี่ยนแปลง คุณ ลัก ษณะ พฤติก รรมการ แสดงออก
  • 17. 17 มา ปาน น้อ ไม่ม ีก าร ก กลาง ย แสดงออ (3) (2) ก (0) (1) - รับฟังความคิดเห็นที่ตัวเองยังไม่ข้าใจ และพร้อมที่จะทำาความ เข้าใจ - ยอมพิจารณาข้อมูลหรือความคิดที่ยัง สรุปแน่นอนไม่ได้และ พร้อมที่จะหาข้อมูลเพิ่มเติม (ที่ม า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือวัดผล ประเมินผล วิทยาศาสตร์ พฤศจิกายน 2546,หน้า 136-139) เกณฑ์ย ่อ ยที่ใ ช้ป ระเมิน โครงงานวิท ยาศาสตร์
  • 18. 18 รายการประเมิน ระดับ คุณ ภาพ 1. การกำา หนดปัญ หาและตั้ง สมมุต ิฐ าน - สมมุตฐานไม่สอดคล้องกับปัญหา ิ 1 - สมมุตฐานสอดคล้องกับปัญหา แต่ไม่แสดงความ ิ 2 สัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล 3 - สมมุตฐานสอดคล้องกับปัญหาและแสดงความสัมพันธ์ ิ ระหว่างเหตุและผลแต่ยัง 4 ไม่ชัดเจน - สมมุตฐานสอดคล้องกับปัญหาและแสดงความสัมพันธ์ ิ ระหว่างเหตุและผลอย่าง ชัดเจน 2. ข้อ มูล หรือ ข้อ เท็จ จริง ประกอบการทำา โครงงาน - มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ไม่เกี่ยวข้องกับ 1 ปัญหา 2 - มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับ 3 ปัญหาเพียงบางส่วน 4 - มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหา แต่ยังไม่ครอบคลุม - มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหาอย่างชัดเจนและครอบคลุม 3. การออกแบบการทดลอง - สอดคล้องกับสมมุติฐานแต่ไม่มีการควบคุมตัวแปร 1 - สอดคล้องกับสมมุติฐานและควบคุมตัวแปรบางส่วน 2 - สอดคล้องกับสมมุติฐานและควบคุมตัวแปรได้ครบสม 3 บรูณ์ 4 - สอดคล้องกับสมมุติฐาน ควบคุมตัวแปรได้ครบสมบรูณ์ และมีแนวทางการเก็บ รวบรวมข้อมูล 4. อุป กรณ์แ ละเครื่อ งมือ ที่ใ ช้ใ นการทดลอง - เลือกใช้อุปกรณ์ไม่เหมาะสม 1 - เลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องบางส่วน 2 - เลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ 3 - เลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องและเหมาะสม 4 5. การดำา เนิน การทดลอง - ดำาเนินการทดลองไม่เหมาะสม 1 - ดำาเนินการทดลองได้ถูกต้องเป็นบางส่วน 2 - ดำาเนินการทดลองได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ 3 - ดำาเนินการทดลองได้ถูกต้องครบถ้วนสมบรูณ์ 4
  • 19. 19 รายการประเมิน ระดับ คุณ ภาพ 6. การบัน ทึก ข้อ มูล - บันทึกข้อมูลบางส่วนไม่ตรงจุดประสงค์ที่ต้องการ 1 ศึกษา 2 - บันทึกข้อมูลตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษา 3 - บันทึกข้อมูลตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษาและถูก 4 ต้อง - บันทึกข้อมูลตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษา ถูกต้อง และครบสมบรูณ์ 7. การจัก ระทำา ข้อ มูล - มีการจัดกระทำาข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเป็นส่วนมาก 1 - มีการจัดกระทำาข้อมูลถูกต้อง แต่ยังไม่ชัดเจนเพียงพอ 2 - มีการจัดกระทำาข้อมูลถูกต้องชัดเจน แต่ยังไม่ครบ 3 สมบูรณ์ 4 - มีการจัดกระทำาข้อมูลถูกต้อง ละเอียด และครบ สมบูรณ์ 8. การแปลความหมายข้อ มูล และการสรุป ผลของ ข้อ มูล 1 - แปลความหมายไม่ถูกต้องบางส่วน และไม่สรุปผล 2 - แปลความหมายถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ แต่สรุปผลไม่ 3 สอดคล้องกับข้อมูล 4 - แปลความหมายถูกต้องแต่สรุปผลไม่สอดคล้องกับ ข้อมูลบางส่วน - แปลความหมายถูกต้องและสรุปผลสอดคล้องกับข้อมูล 9. ความคิด ริเ ริ่ม สร้า งสรรค์ - โครงงานคล้ายคลึงกับสิ่งที่เคยทำามาแล้ว 1 - โครงงานบางส่วนมีความแปลกใหม่จากโครงงานที่มีผู้ 2 ทำาแล้ว 3 - โครงงานแสดงให้เห็นถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 4 - โครงงานแสดงให้เห็นถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และ สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ได้ 10. การเขีย นรายงานหรือ การแสดงผลงาน - มีการนำาเสนอไม่ชัดเจน ไม่เป็นขั้นตอน 1 - มีการนำาเสนอบางส่วนเป็นขั้นตอนแต่ยังไม่ชัดเจน 2 - มีการนำาเสนอเป็นนั้นตอนแต่ยังไม่ชัดเจน 3 - มีการนำาเสนอเป็นขั้นตอนสมบูรณ์และชัดเจน 4
  • 20. 20 เกณฑ์การประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์รวมหรือเกณฑ์ย่อยที่กำา ขึ้น ควรพิจารณาให้ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้และเป้าหมายการ ทำาโครงงานวิทยาศาสตร์และต้องบันทึกผลการประเมินให้สอดคล้องกับ เกณฑ์การประเมิน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ แบบบัน ทึก ผลการประเมิน โครงงานวิท ยาศาสตร์ คะแนนที่ ได้ รายกรประเมิน หมายเ 1 2 3 หตุ 4 1. การกำาหนดปัญหาและการตั้งสมมติฐาน 2. ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงประกอบการทำาโครงงาน 3. การออกแบบการทดลง 4. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 5. การดำาเนินการทดลอง 6. การบันทึกข้อมูล 7. การจัดกระทำาข้อมูล 8. การแปลความหมายของข้อมูล 9. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 10. การเขียนรายงาน การประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์ทำาได้โดยการสังเกต การ สัมภาษณ์ และจากบันทึกการปฏิบัติงานหรือบันทึกพฤติกรรมของผู้ เรียนเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ โดยการประเมินอย่างต่อเนื่องและ สมำ่าเสมอจากผู้ประเมินหลายคน รวมทั้งการประเมินตนเองของผู้เรียน ข้อสนเทศเหล่านี้ส่วนหนึ่งในการตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม เป้าหมายของการจัดกาเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ที่ม า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือวัดผล ประเมินผล วิทยาศาสตร์ พฤศจิกายน 2546,หน้า 80-83)
  • 21. 21 รายละเอีย ดของการประเมิน ในแต่ล ะขั้น ของกระบวนการ จัด การเรีย นรู้แ บบ 5 Es กระบวนก การประเมิน ผลของครู ารจัด การ ขณะทำา กิจ กรรม หลัง จบกิจ กรรม เรีย นรู้ - การตอบคำาถามที่ครูถาม - ถามคำาถามเพื่อประเมินว่า ขั้นสร้าง - การให้ความสนใจและ นักเรียน บรรลุวัตถุประสงค์ ความ พฤติกรรมของนักเรียนใน ของขั้นตอนสร้างความสนใจ สนใจ ขณะทำากิจกรรม เช่น การถาม คำาถาม และแสดงความคิดเห็น -ข้อมูลที่ได้จากการสำารวจ - ความถูกต้องและชัดเจน ตรวจสอบ และสืบค้นเพิ่มเติม ของข้อมูลของรายงาน และ จากหัวข้อที่อภิปราย ผลผลิตที่ได้จากการทำา ขั้นสำารวจ - สังเกตการณ์อภิปรายร่วมกัน กิจกรรม และ - สังเกตวิธีการทำางานร่วมกัน - ประเมินรูปแบบของการจัด ค้นหา และความรับผิดชอบ ทำารายงาน - สังเกตวิธีตัดสินใจและการแก้ ปัญหา - สังเกตวิธีการเก็บและรวบรวม ข้อมูลและลงข้อสรุป - การแปลผลข้อมูลให้ออกมา - ประเมินผลการนำาเสนอผล ในรูปของข้อสรุป และคำา งานของแต่ละคน หรือแต่ละ อธิบายได้อย่างถูกต้อและมี กลุ่มในหมู่นักเรียนกันเอง ขั้นอธิบาย เหตุผล - การประเมินตนเองของ และ - ความชัดเจนในการอธิบาย นักเรียน สรุป และตอบคำาถามเกี่ยวกับผลงาน - ประเมินผลงานและการ ที่นำาเสนอ แสดงออกของนักเรียนใน - การให้ความสนใจในการนำา ด้านความซื่อสัตย์ เจตคติ เสนอผลงาน คุณธรรมและค่านิยม ของผู้อื่นทั้งในด้านการถาม คำาถามและการเสนอความคิด เห็น - การนำาข้อมูลที่ได้จากการ - การสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
  • 22. 22 สำารวจตรวจสอบและสืบค้น ทั้งหมดจากการทดลองของ ขั้นขยาย เพิ่มเติมมาใช้ในการอภิปราย นักเรียน ความรู้ - แสดงให้เห็นได้ว่าเกิดความ - ประเมินความเป็นไปได้ เข้าใจและมีความรู้ในเนื้อหา ความน่าสนใจและความคิด การทดลอง และมีทักษะ ริเริ่มของการประยุกต์ใช้ กระบวนการการแก้ปัญหา ความรู้ของนักเรียน ออกแบบ ละทำาการทดลองที่ดี ขึน ้ - การนำาข้อมูลและความรู้ที่ได้ ไปอธิบายสถานการณ์อื่นที่ ใกล้เคียงหรือประยุกต์ใช้ให้ เกิดประโยชน์ได้ในอนาคต