SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
๑


                                         คานา


         แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ เป็นแบบฝึกทักษะการคิดอย่าง
มีวิจารณญาณ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ซึ่งการอ่านมีวิจารณญาณเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาผูเ้ รียนให้รู้จักคิดอย่าง
เป็นระบบ คิดอย่างมีเหตุผลเหมาะสม แบบฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีทั้งหมด ๗ เล่ม ดังนี้
         เล่มที่ ๑ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว “สังคมเสื่อม! จับ ๓ วัยรุ่น ติดเกมส์หนัก”
         เล่มที่ ๒ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากเพลงพระราชนิพนธ์ “ใกล้รุ่ง”
         เล่มที่ ๓ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากคาประพันธ์ เรื่อง “อันของสูงแม้ปองต้องจิต”
         เล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ เรื่อง “การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ”
         เล่มที่ ๕ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากสารคดี เรือง “สภาวะโลกร้อน”
                                                        ่
         เล่มที่ ๖ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากนวนิยาย เรื่อง “ความสุขของกะทิ
ตอน กระเป๋าเดินทาง”
         เล่มที่ ๗ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากนิทานพื้นบ้านอีสาน เรื่อง “เสียงระฆังกับหมาหอน”
        แบบฝึกทักษะแต่ละเล่มจะมีแผนการจัดการเรียนรู้เป็นคู่มือในการฝึก ซึ่งเป็นการสอนสอดแทรก
ในการเรียนการสอน โดยใช้วิธีอ่านแบบ SQ๔R มี ๖ ขั้นตอน
        ผู้จัดทาหวังว่าแบบฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณเล่มนี้ จะเป็นแนวทางหนึ่งในการจัด
กระบวนการสอนคิดให้กับผู้เรียนได้ตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร และเป็นประโยชน์ต่อการจัด
กระบวนการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระภาษาไทยและกลุ่มสาระอื่นๆ ได้ตามสมควร


                                                                สุภา ไชยปัญญา
                                                             โรงเรียนส้มป่อยพิทยาคม
๒




                                   สารบัญ


      บทความ : การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ        หน้า

คาชี้แจงสาหรับครูผู้สอน                     ๓
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน                      ๔
สาระ/มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
                        ้                   ๕
สาระสาคัญ/จุดประสงค์การเรียนรู้             ๖
แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน                 ๗
กรอบเนื้อหา                                 ๙
แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๑                        ๑๐
แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๒                        ๑๑
แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๓                        ๑๒
แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๔                        ๑๓
แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๕                        ๑๔
แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๖                        ๑๕
เฉลย                                        ๑๗
บรรณานุกรม                                  ๒๐
๓



                            คาชี้แจงสาหรับครูผู้สอน


๑. ครูเตรียมและสารวจความพร้อมของแบบฝึกทักษะให้เพียงพอกับจานวนนักเรียน
๒. ครูศึกษาเนื้อหาและลาดับขั้นตอนของแบบฝึกทักษะให้เข้าใจชัดเจน
๓. ก่อนลงมือสอนหรือปฏิบัติกจกรรม ครูควรอธิบายให้นักเรียนทราบถึงจุดประสงค์ในการทา
                             ิ
    แบบฝึกทักษะแต่ละครั้ง และให้นักเรียนเห็นประโยชน์และคุณค่าของการทาแบบฝึกทักษะ
๔. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนที่จะศึกษาแบบฝึกแต่ละเล่ม ซึ่งในแต่ละเล่มจะมี
    แบบทดสอบย่อยก่อนเรียนและหลังเรียน
๕. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะจากง่ายไปหายาก
๖. การทาแบบฝึกทักษะทุกครั้งนักเรียนควรมีส่วนร่วม เช่น ร่วมคิด ร่วมแสดงอภิปราย
    ตรวจผลงาน และสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง
๗. ขณะที่นักเรียนศึกษาแบบฝึกทักษะและปฏิบัติกิจกรรม ครูควรคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
    หากมีนักเรียนคนใด หรือกลุ่มใดสงสัยให้แนะนาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มเพื่อไม่เป็นการ
    รบกวนผู้อื่น
๘. ครูควรมีการเสริมแรงแก่นักเรียนทุกครั้ง
๙. การทาแบบฝึกทักษะทุกครั้งต้องบันทึกผล เพื่อดูพัฒนาการของนักเรียน
๑๐. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้งหนึ่ง
๑๑. การวัดและประเมินผลจากสภาพจริง
๔




                               คาชี้แจงสาหรับนักเรียน


         แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ๔R เล่มที่ ๔ การอ่าน
อย่างมีวิจารณญาณจากบทความ ที่นักเรียนจะได้ศึกษาต่อไปนี้ เป็นแบบฝึกพัฒนาทักษะการคิดอย่าง
มีวิจารณญาณ ที่เหมาะกับวัยของนักเรียน สามารถศึกษาได้ด้วยความเข้าใจ และประสบความสาเร็จใน
การเรียนด้วยการปฏิบัตตามคาแนะนาต่อไปนี้
                         ิ
         ๑. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้เข้าใจ
         ๒. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๕ ข้อ
         ๓. ฝึกทักษะตามวิธีอ่านแบบ SQ๔Q ซึ่งมี ๖ ขั้นตอน ดังนี้
                ขั้นที่ ๑ S (Survey) การอ่านเนื้อเรื่องอย่างคร่าวๆ เพื่อหาจุดสาคัญของเรื่อง
                ขั้นที่ ๒ Q (Question) การตั้งคาถาม
                ขั้นที่ ๓ R๑ (Read) การอ่านอย่างละเอียดเพื่อหาคาตอบของคาถามที่ตั้งไว้
                ขั้นที่ ๔ R๒ (Record) การจดบันทึกข้อมูลต่างๆ ตามความเข้าใจของตนเอง
                ขั้นที่ ๕ R๓ (Recite) การเขียนสรุปใจความสาคัญโดยใช้ถอยคาของตนเอง
                                                                          ้
                ขั้นที่ ๖ R๔ (Reflect) การวิเคราะห์ วิจารณ์ เรื่องที่อ่านแล้วแสดงความคิดเห็น
หากนักเรียนไม่เข้าใจ หรือตอบคาถามไม่ได้ ให้ย้อนกลับไปอ่านเนื้อหาแบบฝึกทักษะใหม่อีกครั้งแล้ว
ตอบใหม่ หรือทากิจกรรมนั้นใหม่ หรือขอคาแนะนาจากครู
         ๔. นักเรียนตรวจคาตอบด้วยตนเอง หรือแลกเปลี่ยนกันตรวจกับเพื่อนโดยครูเป็นผู้แนะนา
         ๕. ทาแบบทดสอบหลังเรียน แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๕ ข้อ เพื่อเปรียบเทียบ
คะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน
๕




                        แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔
               การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ
                      “การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ”
         กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓




                             เวลา ๒ ชั่วโมง




                      สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระที่ ๑          การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ
                   แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด
   ม.๓/๓ ระบุใจความสาคัญและรายละเอียดของข้อมูลที่สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน
   ม.๓/๔ อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ
          และรายงาน
   ม.๓/๙ ตีความและประเมินคุณค่า แนวคิดที่ได้จากงานเขียนอย่างหลากหลาย
          เพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต
๖



                                   สาระสาคัญ

                   การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ เป็นการอ่านที่ผู้อ่าน
           ต้องใช้วิจารณญาณ ความคิดและเหตุผลเพื่อวิเคราะห์ใคร่ครวญและ
           ตัดสินว่า สารที่อ่านนั้นเชื่อถือได้หรือไม่ และสามารถประเมินค่าจากสิ่งที่
           อ่านว่าดีมีประโยชน์อย่างไรบ้าง ให้ข้อคิดหรือคติสอนใจอย่างไร จึงควร
           ฝึกฝนให้เกิดความชานาญ




 จุดประสงค์การเรียนรู้

         ๑. ด้านความรู้ (K)
             ๑.๑ นักเรียนสามารถสรุปสาระสาคัญจากบทความ เรื่อง
การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ โดยใช้วิธีอ่านแบบ SQ๔R ได้
         ๒. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
              ๒.๑ นักเรียนสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่าจากบทความ
เรื่อง การดื่มน้าเพื่อสุขภาพได้
         ๓. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
             ๓.๑ ความกระตือรือร้นตั้งใจเรียน
             ๓.๒ มีความรับผิดชอบ
             ๓.๓ ปฏิบัติงานทันตามกาหนดเวลา
             ๓.๔ ความสนใจเรียนและซักถาม
๗


                         แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
       แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ เรื่อง การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ
             กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
                            -------------------------------------------



คาชี้แจง
           ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ฉบับนี้ใช้ทดสอบความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ เรื่อง การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจาก
บทความ เป็นแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๕ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน
ใช้เวลา ในการทดสอบ ๕ นาที
           ๒. ให้นักเรียนอ่านข้อคาถามและคาตอบให้ละเอียด เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียง
คาตอบเดียว แล้วนาไปตอบลงในกระดาษคาตอบ โดยทาเครื่องหมาย X ลงในช่องตัวเลือก
ที่ต้องการ
           ๓. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบให้ครบทุกข้อ
๘


๑. การดื่มน้าในปริมาณที่พอเหมาะส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
   ก. ทาให้ระบบไหลเวียนเลือดปกติ
   ข. ระบบขับถ่ายดี
   ค. ทาให้ปัสสาวะใส
   ง. ถูกทุกข้อ
๒. น้าเป็นยาระบายช่วยรักษาโรคอะไร
   ก. โรคหายใจผิดปกติ
   ข. ทางเดินอาหาร
   ค. โรคทางตา
   ง. อาหารท้องผูก
๓. ข้อความใดเป็นความคิดเห็น
   ก. คนที่ดื่มน้าน้อยทาให้ผิวหนังไม่ผ่องใส
   ข. คนที่ดื่มน้าน้อยทาให้เป็นนิ่ว
   ค. คนที่เป็นหวัดควรดื่มน้ามากๆ
   ง. คนที่ดื่มน้ามากจะทาให้สวย
๔. เพราะเหตุใดคนเราจึงไม่ชอบดื่มน้า
   ก. ขี้เกียจไปเข้าห้องน้าเนื่องจากปัสสาวะบ่อย
   ข. ไม่มีเวลาเพราะงานยุ่งมาก
   ค. แหล่งน้าอยู่ไกล
   ง. ไม่ชอบดื่มน้า
๕. นักเรียนคิดว่าน้ามีความจาเป็นต่อร่างกายหรือไม่เพราะเหตุใด
   ก. จาเป็น เพราะเป็นส่วนประกอบของเซลล์ต่างๆ ทาให้ระบบในร่างกายทางานปกติ
   ข. จาเป็น เพราะร่างกายคนเราต้องการน้ากันทุกคน
   ค. ไม่จาเป็น เพราะทาให้ร่างกายหนัก
   ง. ไม่จาเป็น เพราะดื่มเข้าไปแล้วก็ขับออกทางปัสสาวะเหมือนเดิม
๙


    กรอบเนื้อหา

                                 บทความ : การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ


          น้า...เครื่องดื่มพื้นฐานที่จาเป็นในชีวิตของมนุษย์ ทุกวันคนเราต้องดื่มน้าเพื่อปรับความสมดุลใน
ร่างกาย นักวิชาการต่างก็พยายามค้นคว้าหาความรู้เรื่องคุณค่าของน้าสะอาดบริสุทธิ์ว่า มีบทบาทต่อ
ร่างกายมนุษย์อย่างไร
         โดยได้พิสูจน์ความจริงว่า ร่างกายของคนเรานั้นมีผิวหนังห่อหุ้มร่างกาย ซึ่งภายในมีน้าเป็น
ส่วนประกอบของโครงร่าง เป็นอัตราส่วนถึง 70 เปอร์เซ็นต์ ของน้าหนักตัว และร่างกายต้องการน้า
สะอาดบริสุทธิ์ถึงจานวนวันละ 2 ลิตรครึ่งของน้าหนักตัว
           สาหรับผู้มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ แต่ถ้าเป็นผู้ป่วยไข้ ผู้มีอาการท้องร่วงท้องเสีย นักกีฬาหรือผู้
ทางานหนักตลอดวัน ร่างกายก็ต้องการน้าสะอาดบริสุทธิ์มากกว่า 2 ลิตรครึ่ง แล้วแต่ว่าร่างกายจะสูญเสีย
น้าไปเป็นเหงื่อหรือขับน้าออกมาทางน้าปัสสาวะ มากเท่าใด คุณก็ต้องชดเชยดื่มน้าเพิ่มให้เท่ากับจานวนที่
ต้องสูญเสียน้าไป
           ถ้าร่างกายของคุณได้รับน้าไม่เพียงพอ จะมีปัญหาตามมาทันที คือการหมุนเวียนของกระแส
เลือดในเส้นโลหิตดาและเส้นโลหิตแดง ซึ่งทาหน้าที่ไปสูบฉีด ไปเลี้ยงดูบารุง ร่างกายทุกส่วนสัดนั้นจะ
ทางานไม่ได้เต็มที่ทาให้ร่างกายของคุณอ่อนแอและขี้โรคโดยไม่ทราบสาเหตุแล้วมีโรคไตตามมาติด ๆ และ
ที่สังเกตได้ง่ายคือคุณจะมีผิวพรรณซีดเซียวไม่สดใสเปล่งปลั่งจึงทาให้คุณเป็นคนแก่เกินวัย
             เราจึงจาเป็นต้องดื่มน้าสะอาดเพื่อสุขภาพที่ดี เพราะน้าเป็นองค์ประกอบสาคัญของเลือดถึง
90% น้าจึงเป็นตัวกลางสาคัญ ที่จะนาพาก๊าซออกซิเจนจากการหายใจ นาพาแร่ธาตุและสารอาหารต่างๆ
จากการรับประทานอาหารไปสู่ทุกๆ เซลล์ของร่างกาย เพื่อเผาผลาญเป็นพลังงานให้มนุษย์มีเรี่ยวแรง
และน้าก็เป็นตัวนาพาของเสียจากการเผาผลาญพลังงานออกจากทุกๆ เซลล์ เพื่อนาไปกาจัดออกจาก
ร่างกายในรูปแบบต่างๆ และน้ายังเป็นตัวควบคุมความเป็นกรดด่างของร่างกายอีกด้วย
              ดังนั้น ไม่ว่าคุณจะดื่มเครื่องดื่มใดๆ ในชีวิตประจาวันเป็นจานวนมากแล้วก็ตาม คุณอย่าลืม
จัดหาน้าบริสุทธิ์เตรียมไว้ให้ทุกคนภายในบ้าน รวมทั้งตัวคุณเองด้วย จานวน คนละ 2 ลิตรครึ่งต่อวันต่อ
คนด้วย โดยแบ่งเวลาการดื่มดังนี้
                เวลาตื่นนอนตอนเช้าควรดื่ม 2 แก้ว และเวลาก่อนอาหารทุกมื้อ 1 แก้ว เวลาหลังอาหาร
ประมาณ 2 แก้วและเวลาก่อนนอนประมาณ 4-6 แก้ว

                                                             เรียบเรียงโดย : กรรณิการ์ เอมแสง


                                       ที่มา : http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/6659




เรียบเรียงโดย : กรรณิการ์ เอมแสง
๑๐

                แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ
          ขั้นที่ ๑ Survey (S) การอ่านเนื้อเรื่องอย่าง คร่าวๆ เพื่อหาจุดสาคัญของเรื่อง


คาชี้แจง นักเรียนอ่านบทความ “การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ” โดยสารวจเนื้อหาอย่างรวดเร็ว
         แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ เขียนคาตอบในช่องว่าง
ชื่อเรื่อง ………….……………………………………………………………………………………….……………………………………………….
ชื่อผู้แต่ง/ที่มา………………..……………………………….…………………………………………………………………………………………
จุดมุ่งหมายของผู้แต่ง
………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………..………………………………………………………………………………………………..………..…………………………………
สาระสาคัญ
………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………..……………………………………………………………………………………………..………………………………………………
………………..…………………………………………………………………………………………………..…………………………………………
………………..………………………………………………………………………………………………….…………………………………………
………………..…………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………..………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
………………..……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
………………..……………………………………………………………………………………………………………….……………………………
………………..………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

                              ขั้นที่ ๑ คะแนนเต็ม ๓ คะแนน ต้องได้ ๒ คะแนนขึ้นไปถือว่า ผ่าน
๑๑

                แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ
                             ขั้นที่ ๒ Question (Q) การตั้งคาถาม

คาชี้แจง    ให้นักเรียนตั้งคาถามจากบทความ “การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ” ให้ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้
       ๑.   ใคร
       ๒.   ทาอะไร
       ๓.   ที่ไหน
       ๔.   อย่างไร

   ๑. คาถาม
      ………….………………………………………………………………..…………………………………………………………..…
   ๒. คาถาม
      ………….………………………………………………………………………………………………………………………………
   ๓. คาถาม
      ………….…………………………………………………………………………………………..…………………………………
   ๔. คาถาม
      ………….…………………………………………………………………………………………….…………………………………
   ๕. คาถาม
      ………….………………………………………………………………………………………………………………………………
   ๖. คาถาม
      ………….…………………………………………………………………………………………….…………………………………
   ๗. คาถาม
      ………….………………………………………………………………………………………………………………………………

    ขั้นที่ ๑ คะแนนเต็ม ๓ คะแนน ต้องได้ ๒ คะแนนขึ้นไปถือว่า ผ่าน
๑๒

               แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ
           ขั้นที่ ๓ Read (R๑) การอ่านอย่างละเอียดเพื่อหาคาตอบของคาถามที่ตั้งไว้


คาชี้แจง    ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาอย่างละเอียดรอบคอบ แล้วหาคาตอบที่ได้ตั้งคาถามไว้

            ๑. คาตอบ
            ………….……………………………………………………………………..……………………………………………..…
            ๒. คาตอบ
            ………….…………………………………………………………………………………………………………………..…
            ๓. คาตอบ
            ………….……………………………………………………………………………..…………………………………..……
            ๔. คาตอบ
            ………….………………………………………………………………………….……………………………………..……
            ๕. คาตอบ
            ………….……………………………………………………………….………………………………………………..……
            ๖. คาตอบ
            ………….………………………………………………………………………….……………………………………..……
            ๗. คาตอบ
            ………….……………………………………………………………….………………………………………………..……



                                  ขั้น ๓ คะแนนเต็ม ๓ คะแนน ต้องได้ ๒ คะแนนขึ้นไปถือว่าผ่าน
๑๓

                     แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ
          ขั้นที่ ๔ Record (R๒) การจดบันทึกข้อมูลต่างๆ ตามความเข้าใจของตนเอง


คาชี้แจง ให้นักเรียนจดบันทึกจากการอ่านบทความ“การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ” ในขั้นที่ ๓
         โดยจดบันทึกข้อความส่วนที่สาคัญอย่างรัดกุมหรือย่อๆ ตามความเข้าใจของนักเรียน

                                                                บันทึกจากการอ่าน

              ................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
                                                                                   .
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................




                ขั้น ๔ คะแนนเต็ม ๓ คะแนน ต้องได้ ๒ คะแนนขึ้นไปถือว่าผ่าน
๑๔

            แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ
      ขั้นที่ ๕ Recite (R๓) การเขียนสรุปใจความสาคัญโดยใช้ถ้อยคาของตนเอง

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านบทความ “การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ” แล้วสรุปใจความสาคัญ
         เป็นแผนผังความคิด




                   ขั้น ๕ คะแนนเต็ม ๑๕ คะแนน ต้องได้ ๑๒ คะแนนขึ้นไปถือว่าผ่าน
๑๕

           แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ
    ขั้นที่ ๖ Reflect (R๔) การวิเคราะห์ วิจารณ์ เรื่องที่อ่านแล้วแสดงความคิดเห็น

คาชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากการอ่านบทความในประเด็นต่อไปนี้

      ๑
           ในร่างกายของคนเรามีน้าเป็นสัดส่วนเท่าไหร่ของน้าหนักตัวและมีความต้องการ
           น้าวันละเท่าไร




      ๒
           นักเรียนคิดว่าถ้าร่างกายได้รับน้าไม่เพียงพอ จะเกิดปัญหาขึ้นอย่างไร




       ๓
             นักเรียนคิดว่าร่างกายของคนเราจะสูญเสียน้าในแต่ละวันได้อย่างไร
๑๖


          แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ (ต่อ)
    ขั้นที่ ๖ Reflect (R๔) การวิเคราะห์ วิจารณ์ เรื่องที่อ่านแล้วแสดงความคิดเห็น

คาชี้แจง ให้๔ ักเรียนวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากการอ่านบทความในประเด็นต่อไปนี้
            น


      ๔
            สารเคมีที่เพิ่มลงไปในน้าเพื่อฆ่าเชื้อโรคที่เป็นอันตรายคืออะไร



            ๕




      ๕
            ให้นักเรียนบอกการดื่มน้าให้ถูกวิธีมา ๕ ข้อ




                 ขั้น ๖ คะแนนเต็ม ๓ คะแนน ต้องได้ ๒ คะแนนขึ้นไปถือว่าผ่าน




                  คะแนนรวม ๓๕ คะแนน ได้.......................คะแนน
๑๗


เฉลย แบบฝึกทักษะชุดที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ



                แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
       ๑.                          ง
       ๒.                          ง
       ๓.                          ค
       ๔.                          ข
       ๕.                          ก



                            แบบฝึกทักษะ

            ขั้นที่ ๑   ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
            ขั้นที่ ๒   ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
            ขั้นที่ ๓   ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
            ขั้นที่ ๔   ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
            ขั้นที่ ๕   ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
๑๘

                 แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ
      เฉลย                                  (ต่อ)


                      แนวคาตอบ แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๖

 ๑
      ในร่างกายของคนเรามีน้าเป็นสัดส่วนเท่าไหร่ของน้าหนักตัวและมีความต้องการ
      น้าวันละเท่าไร
       น้้าเป็นส่วนประกอบของโครงร่างอัตราส่วนถึง 70 เปอร์เซ็นต์ ของน้้าหนักตัว และ
ร่างกายต้องการน้้าสะอาดบริสุทธิ์ถึงจ้านวนวันละ 2 ลิตรครึ่งของน้้าหนักตัว




๒
      นักเรียนคิดว่าถ้าร่างกายได้รับน้าไม่เพียงพอ จะเกิดปัญหาขึ้นอย่างไร
      การหมุนเวียนของกระแสเลือดท้างานไม่ได้เต็มที่ท้าให้ร่างกายอ่อนแอ เป็นโรคไต
ผิวพรรณซีดเซียวไม่สดใสเปล่งปลั่ง




๓
       นักเรียนคิดว่าร่างกายของคนเราจะสูญเสียน้าในแต่ละวันได้อย่างไร
       เหงื่อออก ร้องไห้ และการขับถ่าย
๑๙


                แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ
    เฉลย                                   (ต่อ)


                   แนวคาตอบ แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๖ (ต่อ)

๔
    สารเคมีที่เพิ่มลงไปในน้าเพื่อฆ่าเชื้อโรคที่เป็นอันตรายคืออะไร
     คลอรีน




๕
    ให้นักเรียนบอกการดื่มน้าให้ถูกวิธีมา ๕ ข้อ
     ๑. ควรดื่มน้้าไม่ต่้ากว่าวันละ ๖-๘ แก้ว
     ๒. ควรดื่มน้้าทุกครั้งที่รู้สึกกระหาย
     ๓. ไม่ควรรับประทานอาหารที่มีรสจัดเกินไป
     ๔. ไม่ควรดื่มน้้าเย็นจัด
     ๕. ดื่มน้้าหลังตื่นนอน
๒๐
                                            บรรณานุกรม

กรรณิการ์ เอมแสง. (2553). การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ. http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/6659
ธารทิพย์ แก้วเหลี่ยม. (2553). วิธีการอ่านแบบ SQ4R. http://gotoknow.org/blog/sairung/244531
ฟองจันทร์ สุขยิ่งและคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
             ภาษาไทย ม.3. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2547.
วิพุธ โสภวงศ์และคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ :
            โรงพิมพ์วัฒนาพานิช, 2547.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยตามหลักสูตร
             แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว ,
             2551.
ส้มป่อยพิทยาคม, โรงเรียน. หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนส้มป่อยพิทยาคม
           พุทธศักราช 2552 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. 2552.
สุคนธ์ สินธพานนท์. พัฒนาทักษะการคิด-พิชิตการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 3 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม).
            กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง, 2551.
สุชาวดี เกษมณี. สรุปเข้มภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 ม.3. กรุงเทพฯ : พี.เอ็น.เค แอนด์
            สกายพริ้นติ้งส์, 2552.
สุวิทย์ มูลคา. กลยุทธ์การสอนคิดอย่างมีวจารณญาณ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : ดลกมล, 2550.
                                          ิ
สุวิทย์ มูลคา และสุนันทา สุนทรประเสริฐ. การพัฒนาผลงานทางวิชาการ สู่...การเลื่อนวิทยฐานะ.
            กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์, 2550.

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการPuzzle Chalermwan
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 

Similar to การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ

เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้โรงเรียน วัดวังเย็น
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมPrapa Khangkhan
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
ปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซตปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซตteachersaman
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกsukanyalanla
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์เล็ก เล็ก
 
teaqching 4
teaqching 4teaqching 4
teaqching 4sangkom
 

Similar to การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ (20)

เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
ปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซตปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซต
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
 
teaqching 4
teaqching 4teaqching 4
teaqching 4
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
 

การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ

  • 1. คานา แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ เป็นแบบฝึกทักษะการคิดอย่าง มีวิจารณญาณ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ซึ่งการอ่านมีวิจารณญาณเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาผูเ้ รียนให้รู้จักคิดอย่าง เป็นระบบ คิดอย่างมีเหตุผลเหมาะสม แบบฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีทั้งหมด ๗ เล่ม ดังนี้ เล่มที่ ๑ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว “สังคมเสื่อม! จับ ๓ วัยรุ่น ติดเกมส์หนัก” เล่มที่ ๒ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากเพลงพระราชนิพนธ์ “ใกล้รุ่ง” เล่มที่ ๓ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากคาประพันธ์ เรื่อง “อันของสูงแม้ปองต้องจิต” เล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ เรื่อง “การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ” เล่มที่ ๕ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากสารคดี เรือง “สภาวะโลกร้อน” ่ เล่มที่ ๖ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากนวนิยาย เรื่อง “ความสุขของกะทิ ตอน กระเป๋าเดินทาง” เล่มที่ ๗ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากนิทานพื้นบ้านอีสาน เรื่อง “เสียงระฆังกับหมาหอน” แบบฝึกทักษะแต่ละเล่มจะมีแผนการจัดการเรียนรู้เป็นคู่มือในการฝึก ซึ่งเป็นการสอนสอดแทรก ในการเรียนการสอน โดยใช้วิธีอ่านแบบ SQ๔R มี ๖ ขั้นตอน ผู้จัดทาหวังว่าแบบฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณเล่มนี้ จะเป็นแนวทางหนึ่งในการจัด กระบวนการสอนคิดให้กับผู้เรียนได้ตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร และเป็นประโยชน์ต่อการจัด กระบวนการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระภาษาไทยและกลุ่มสาระอื่นๆ ได้ตามสมควร สุภา ไชยปัญญา โรงเรียนส้มป่อยพิทยาคม
  • 2. สารบัญ บทความ : การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ หน้า คาชี้แจงสาหรับครูผู้สอน ๓ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน ๔ สาระ/มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด ้ ๕ สาระสาคัญ/จุดประสงค์การเรียนรู้ ๖ แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ๗ กรอบเนื้อหา ๙ แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๑ ๑๐ แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๒ ๑๑ แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๓ ๑๒ แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๔ ๑๓ แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๕ ๑๔ แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๖ ๑๕ เฉลย ๑๗ บรรณานุกรม ๒๐
  • 3. คาชี้แจงสาหรับครูผู้สอน ๑. ครูเตรียมและสารวจความพร้อมของแบบฝึกทักษะให้เพียงพอกับจานวนนักเรียน ๒. ครูศึกษาเนื้อหาและลาดับขั้นตอนของแบบฝึกทักษะให้เข้าใจชัดเจน ๓. ก่อนลงมือสอนหรือปฏิบัติกจกรรม ครูควรอธิบายให้นักเรียนทราบถึงจุดประสงค์ในการทา ิ แบบฝึกทักษะแต่ละครั้ง และให้นักเรียนเห็นประโยชน์และคุณค่าของการทาแบบฝึกทักษะ ๔. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนที่จะศึกษาแบบฝึกแต่ละเล่ม ซึ่งในแต่ละเล่มจะมี แบบทดสอบย่อยก่อนเรียนและหลังเรียน ๕. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะจากง่ายไปหายาก ๖. การทาแบบฝึกทักษะทุกครั้งนักเรียนควรมีส่วนร่วม เช่น ร่วมคิด ร่วมแสดงอภิปราย ตรวจผลงาน และสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง ๗. ขณะที่นักเรียนศึกษาแบบฝึกทักษะและปฏิบัติกิจกรรม ครูควรคอยดูแลอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคนใด หรือกลุ่มใดสงสัยให้แนะนาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มเพื่อไม่เป็นการ รบกวนผู้อื่น ๘. ครูควรมีการเสริมแรงแก่นักเรียนทุกครั้ง ๙. การทาแบบฝึกทักษะทุกครั้งต้องบันทึกผล เพื่อดูพัฒนาการของนักเรียน ๑๐. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้งหนึ่ง ๑๑. การวัดและประเมินผลจากสภาพจริง
  • 4. คาชี้แจงสาหรับนักเรียน แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ๔R เล่มที่ ๔ การอ่าน อย่างมีวิจารณญาณจากบทความ ที่นักเรียนจะได้ศึกษาต่อไปนี้ เป็นแบบฝึกพัฒนาทักษะการคิดอย่าง มีวิจารณญาณ ที่เหมาะกับวัยของนักเรียน สามารถศึกษาได้ด้วยความเข้าใจ และประสบความสาเร็จใน การเรียนด้วยการปฏิบัตตามคาแนะนาต่อไปนี้ ิ ๑. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้เข้าใจ ๒. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๕ ข้อ ๓. ฝึกทักษะตามวิธีอ่านแบบ SQ๔Q ซึ่งมี ๖ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ ๑ S (Survey) การอ่านเนื้อเรื่องอย่างคร่าวๆ เพื่อหาจุดสาคัญของเรื่อง ขั้นที่ ๒ Q (Question) การตั้งคาถาม ขั้นที่ ๓ R๑ (Read) การอ่านอย่างละเอียดเพื่อหาคาตอบของคาถามที่ตั้งไว้ ขั้นที่ ๔ R๒ (Record) การจดบันทึกข้อมูลต่างๆ ตามความเข้าใจของตนเอง ขั้นที่ ๕ R๓ (Recite) การเขียนสรุปใจความสาคัญโดยใช้ถอยคาของตนเอง ้ ขั้นที่ ๖ R๔ (Reflect) การวิเคราะห์ วิจารณ์ เรื่องที่อ่านแล้วแสดงความคิดเห็น หากนักเรียนไม่เข้าใจ หรือตอบคาถามไม่ได้ ให้ย้อนกลับไปอ่านเนื้อหาแบบฝึกทักษะใหม่อีกครั้งแล้ว ตอบใหม่ หรือทากิจกรรมนั้นใหม่ หรือขอคาแนะนาจากครู ๔. นักเรียนตรวจคาตอบด้วยตนเอง หรือแลกเปลี่ยนกันตรวจกับเพื่อนโดยครูเป็นผู้แนะนา ๕. ทาแบบทดสอบหลังเรียน แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๕ ข้อ เพื่อเปรียบเทียบ คะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน
  • 5. แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ “การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๒ ชั่วโมง สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ม.๓/๓ ระบุใจความสาคัญและรายละเอียดของข้อมูลที่สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน ม.๓/๔ อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน ม.๓/๙ ตีความและประเมินคุณค่า แนวคิดที่ได้จากงานเขียนอย่างหลากหลาย เพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต
  • 6. สาระสาคัญ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ เป็นการอ่านที่ผู้อ่าน ต้องใช้วิจารณญาณ ความคิดและเหตุผลเพื่อวิเคราะห์ใคร่ครวญและ ตัดสินว่า สารที่อ่านนั้นเชื่อถือได้หรือไม่ และสามารถประเมินค่าจากสิ่งที่ อ่านว่าดีมีประโยชน์อย่างไรบ้าง ให้ข้อคิดหรือคติสอนใจอย่างไร จึงควร ฝึกฝนให้เกิดความชานาญ จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. ด้านความรู้ (K) ๑.๑ นักเรียนสามารถสรุปสาระสาคัญจากบทความ เรื่อง การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ โดยใช้วิธีอ่านแบบ SQ๔R ได้ ๒. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ๒.๑ นักเรียนสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่าจากบทความ เรื่อง การดื่มน้าเพื่อสุขภาพได้ ๓. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ๓.๑ ความกระตือรือร้นตั้งใจเรียน ๓.๒ มีความรับผิดชอบ ๓.๓ ปฏิบัติงานทันตามกาหนดเวลา ๓.๔ ความสนใจเรียนและซักถาม
  • 7. แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ เรื่อง การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ------------------------------------------- คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ฉบับนี้ใช้ทดสอบความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ เรื่อง การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจาก บทความ เป็นแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๕ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน ใช้เวลา ในการทดสอบ ๕ นาที ๒. ให้นักเรียนอ่านข้อคาถามและคาตอบให้ละเอียด เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียง คาตอบเดียว แล้วนาไปตอบลงในกระดาษคาตอบ โดยทาเครื่องหมาย X ลงในช่องตัวเลือก ที่ต้องการ ๓. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบให้ครบทุกข้อ
  • 8. ๘ ๑. การดื่มน้าในปริมาณที่พอเหมาะส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร ก. ทาให้ระบบไหลเวียนเลือดปกติ ข. ระบบขับถ่ายดี ค. ทาให้ปัสสาวะใส ง. ถูกทุกข้อ ๒. น้าเป็นยาระบายช่วยรักษาโรคอะไร ก. โรคหายใจผิดปกติ ข. ทางเดินอาหาร ค. โรคทางตา ง. อาหารท้องผูก ๓. ข้อความใดเป็นความคิดเห็น ก. คนที่ดื่มน้าน้อยทาให้ผิวหนังไม่ผ่องใส ข. คนที่ดื่มน้าน้อยทาให้เป็นนิ่ว ค. คนที่เป็นหวัดควรดื่มน้ามากๆ ง. คนที่ดื่มน้ามากจะทาให้สวย ๔. เพราะเหตุใดคนเราจึงไม่ชอบดื่มน้า ก. ขี้เกียจไปเข้าห้องน้าเนื่องจากปัสสาวะบ่อย ข. ไม่มีเวลาเพราะงานยุ่งมาก ค. แหล่งน้าอยู่ไกล ง. ไม่ชอบดื่มน้า ๕. นักเรียนคิดว่าน้ามีความจาเป็นต่อร่างกายหรือไม่เพราะเหตุใด ก. จาเป็น เพราะเป็นส่วนประกอบของเซลล์ต่างๆ ทาให้ระบบในร่างกายทางานปกติ ข. จาเป็น เพราะร่างกายคนเราต้องการน้ากันทุกคน ค. ไม่จาเป็น เพราะทาให้ร่างกายหนัก ง. ไม่จาเป็น เพราะดื่มเข้าไปแล้วก็ขับออกทางปัสสาวะเหมือนเดิม
  • 9. กรอบเนื้อหา บทความ : การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ น้า...เครื่องดื่มพื้นฐานที่จาเป็นในชีวิตของมนุษย์ ทุกวันคนเราต้องดื่มน้าเพื่อปรับความสมดุลใน ร่างกาย นักวิชาการต่างก็พยายามค้นคว้าหาความรู้เรื่องคุณค่าของน้าสะอาดบริสุทธิ์ว่า มีบทบาทต่อ ร่างกายมนุษย์อย่างไร โดยได้พิสูจน์ความจริงว่า ร่างกายของคนเรานั้นมีผิวหนังห่อหุ้มร่างกาย ซึ่งภายในมีน้าเป็น ส่วนประกอบของโครงร่าง เป็นอัตราส่วนถึง 70 เปอร์เซ็นต์ ของน้าหนักตัว และร่างกายต้องการน้า สะอาดบริสุทธิ์ถึงจานวนวันละ 2 ลิตรครึ่งของน้าหนักตัว สาหรับผู้มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ แต่ถ้าเป็นผู้ป่วยไข้ ผู้มีอาการท้องร่วงท้องเสีย นักกีฬาหรือผู้ ทางานหนักตลอดวัน ร่างกายก็ต้องการน้าสะอาดบริสุทธิ์มากกว่า 2 ลิตรครึ่ง แล้วแต่ว่าร่างกายจะสูญเสีย น้าไปเป็นเหงื่อหรือขับน้าออกมาทางน้าปัสสาวะ มากเท่าใด คุณก็ต้องชดเชยดื่มน้าเพิ่มให้เท่ากับจานวนที่ ต้องสูญเสียน้าไป ถ้าร่างกายของคุณได้รับน้าไม่เพียงพอ จะมีปัญหาตามมาทันที คือการหมุนเวียนของกระแส เลือดในเส้นโลหิตดาและเส้นโลหิตแดง ซึ่งทาหน้าที่ไปสูบฉีด ไปเลี้ยงดูบารุง ร่างกายทุกส่วนสัดนั้นจะ ทางานไม่ได้เต็มที่ทาให้ร่างกายของคุณอ่อนแอและขี้โรคโดยไม่ทราบสาเหตุแล้วมีโรคไตตามมาติด ๆ และ ที่สังเกตได้ง่ายคือคุณจะมีผิวพรรณซีดเซียวไม่สดใสเปล่งปลั่งจึงทาให้คุณเป็นคนแก่เกินวัย เราจึงจาเป็นต้องดื่มน้าสะอาดเพื่อสุขภาพที่ดี เพราะน้าเป็นองค์ประกอบสาคัญของเลือดถึง 90% น้าจึงเป็นตัวกลางสาคัญ ที่จะนาพาก๊าซออกซิเจนจากการหายใจ นาพาแร่ธาตุและสารอาหารต่างๆ จากการรับประทานอาหารไปสู่ทุกๆ เซลล์ของร่างกาย เพื่อเผาผลาญเป็นพลังงานให้มนุษย์มีเรี่ยวแรง และน้าก็เป็นตัวนาพาของเสียจากการเผาผลาญพลังงานออกจากทุกๆ เซลล์ เพื่อนาไปกาจัดออกจาก ร่างกายในรูปแบบต่างๆ และน้ายังเป็นตัวควบคุมความเป็นกรดด่างของร่างกายอีกด้วย ดังนั้น ไม่ว่าคุณจะดื่มเครื่องดื่มใดๆ ในชีวิตประจาวันเป็นจานวนมากแล้วก็ตาม คุณอย่าลืม จัดหาน้าบริสุทธิ์เตรียมไว้ให้ทุกคนภายในบ้าน รวมทั้งตัวคุณเองด้วย จานวน คนละ 2 ลิตรครึ่งต่อวันต่อ คนด้วย โดยแบ่งเวลาการดื่มดังนี้ เวลาตื่นนอนตอนเช้าควรดื่ม 2 แก้ว และเวลาก่อนอาหารทุกมื้อ 1 แก้ว เวลาหลังอาหาร ประมาณ 2 แก้วและเวลาก่อนนอนประมาณ 4-6 แก้ว เรียบเรียงโดย : กรรณิการ์ เอมแสง ที่มา : http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/6659 เรียบเรียงโดย : กรรณิการ์ เอมแสง
  • 10. ๑๐ แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ ขั้นที่ ๑ Survey (S) การอ่านเนื้อเรื่องอย่าง คร่าวๆ เพื่อหาจุดสาคัญของเรื่อง คาชี้แจง นักเรียนอ่านบทความ “การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ” โดยสารวจเนื้อหาอย่างรวดเร็ว แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ เขียนคาตอบในช่องว่าง ชื่อเรื่อง ………….……………………………………………………………………………………….………………………………………………. ชื่อผู้แต่ง/ที่มา………………..……………………………….………………………………………………………………………………………… จุดมุ่งหมายของผู้แต่ง ………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………..………………………………………………………………………………………………..………..………………………………… สาระสาคัญ ………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………..……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ………………..…………………………………………………………………………………………………..………………………………………… ………………..………………………………………………………………………………………………….………………………………………… ………………..…………………………………………………………………………………………………….……………………………………… ………………..………………………………………………………………………………………………………….………………………………… ………………..……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ………………..……………………………………………………………………………………………………………….…………………………… ………………..………………………………………………………………………………………………………….………………………………… ขั้นที่ ๑ คะแนนเต็ม ๓ คะแนน ต้องได้ ๒ คะแนนขึ้นไปถือว่า ผ่าน
  • 11. ๑๑ แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ ขั้นที่ ๒ Question (Q) การตั้งคาถาม คาชี้แจง ให้นักเรียนตั้งคาถามจากบทความ “การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ” ให้ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ ๑. ใคร ๒. ทาอะไร ๓. ที่ไหน ๔. อย่างไร ๑. คาถาม ………….………………………………………………………………..…………………………………………………………..… ๒. คาถาม ………….……………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. คาถาม ………….…………………………………………………………………………………………..………………………………… ๔. คาถาม ………….…………………………………………………………………………………………….………………………………… ๕. คาถาม ………….……………………………………………………………………………………………………………………………… ๖. คาถาม ………….…………………………………………………………………………………………….………………………………… ๗. คาถาม ………….……………………………………………………………………………………………………………………………… ขั้นที่ ๑ คะแนนเต็ม ๓ คะแนน ต้องได้ ๒ คะแนนขึ้นไปถือว่า ผ่าน
  • 12. ๑๒ แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ ขั้นที่ ๓ Read (R๑) การอ่านอย่างละเอียดเพื่อหาคาตอบของคาถามที่ตั้งไว้ คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาอย่างละเอียดรอบคอบ แล้วหาคาตอบที่ได้ตั้งคาถามไว้ ๑. คาตอบ ………….……………………………………………………………………..……………………………………………..… ๒. คาตอบ ………….…………………………………………………………………………………………………………………..… ๓. คาตอบ ………….……………………………………………………………………………..…………………………………..…… ๔. คาตอบ ………….………………………………………………………………………….……………………………………..…… ๕. คาตอบ ………….……………………………………………………………….………………………………………………..…… ๖. คาตอบ ………….………………………………………………………………………….……………………………………..…… ๗. คาตอบ ………….……………………………………………………………….………………………………………………..…… ขั้น ๓ คะแนนเต็ม ๓ คะแนน ต้องได้ ๒ คะแนนขึ้นไปถือว่าผ่าน
  • 13. ๑๓ แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ ขั้นที่ ๔ Record (R๒) การจดบันทึกข้อมูลต่างๆ ตามความเข้าใจของตนเอง คาชี้แจง ให้นักเรียนจดบันทึกจากการอ่านบทความ“การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ” ในขั้นที่ ๓ โดยจดบันทึกข้อความส่วนที่สาคัญอย่างรัดกุมหรือย่อๆ ตามความเข้าใจของนักเรียน บันทึกจากการอ่าน ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ขั้น ๔ คะแนนเต็ม ๓ คะแนน ต้องได้ ๒ คะแนนขึ้นไปถือว่าผ่าน
  • 14. ๑๔ แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ ขั้นที่ ๕ Recite (R๓) การเขียนสรุปใจความสาคัญโดยใช้ถ้อยคาของตนเอง คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านบทความ “การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ” แล้วสรุปใจความสาคัญ เป็นแผนผังความคิด ขั้น ๕ คะแนนเต็ม ๑๕ คะแนน ต้องได้ ๑๒ คะแนนขึ้นไปถือว่าผ่าน
  • 15. ๑๕ แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ ขั้นที่ ๖ Reflect (R๔) การวิเคราะห์ วิจารณ์ เรื่องที่อ่านแล้วแสดงความคิดเห็น คาชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากการอ่านบทความในประเด็นต่อไปนี้ ๑ ในร่างกายของคนเรามีน้าเป็นสัดส่วนเท่าไหร่ของน้าหนักตัวและมีความต้องการ น้าวันละเท่าไร ๒ นักเรียนคิดว่าถ้าร่างกายได้รับน้าไม่เพียงพอ จะเกิดปัญหาขึ้นอย่างไร ๓ นักเรียนคิดว่าร่างกายของคนเราจะสูญเสียน้าในแต่ละวันได้อย่างไร
  • 16. ๑๖ แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ (ต่อ) ขั้นที่ ๖ Reflect (R๔) การวิเคราะห์ วิจารณ์ เรื่องที่อ่านแล้วแสดงความคิดเห็น คาชี้แจง ให้๔ ักเรียนวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากการอ่านบทความในประเด็นต่อไปนี้ น ๔ สารเคมีที่เพิ่มลงไปในน้าเพื่อฆ่าเชื้อโรคที่เป็นอันตรายคืออะไร ๕ ๕ ให้นักเรียนบอกการดื่มน้าให้ถูกวิธีมา ๕ ข้อ ขั้น ๖ คะแนนเต็ม ๓ คะแนน ต้องได้ ๒ คะแนนขึ้นไปถือว่าผ่าน คะแนนรวม ๓๕ คะแนน ได้.......................คะแนน
  • 17. ๑๗ เฉลย แบบฝึกทักษะชุดที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ๑. ง ๒. ง ๓. ค ๔. ข ๕. ก แบบฝึกทักษะ ขั้นที่ ๑ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน ขั้นที่ ๒ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน ขั้นที่ ๓ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน ขั้นที่ ๔ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน ขั้นที่ ๕ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
  • 18. ๑๘ แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ เฉลย (ต่อ) แนวคาตอบ แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๖ ๑ ในร่างกายของคนเรามีน้าเป็นสัดส่วนเท่าไหร่ของน้าหนักตัวและมีความต้องการ น้าวันละเท่าไร น้้าเป็นส่วนประกอบของโครงร่างอัตราส่วนถึง 70 เปอร์เซ็นต์ ของน้้าหนักตัว และ ร่างกายต้องการน้้าสะอาดบริสุทธิ์ถึงจ้านวนวันละ 2 ลิตรครึ่งของน้้าหนักตัว ๒ นักเรียนคิดว่าถ้าร่างกายได้รับน้าไม่เพียงพอ จะเกิดปัญหาขึ้นอย่างไร การหมุนเวียนของกระแสเลือดท้างานไม่ได้เต็มที่ท้าให้ร่างกายอ่อนแอ เป็นโรคไต ผิวพรรณซีดเซียวไม่สดใสเปล่งปลั่ง ๓ นักเรียนคิดว่าร่างกายของคนเราจะสูญเสียน้าในแต่ละวันได้อย่างไร เหงื่อออก ร้องไห้ และการขับถ่าย
  • 19. ๑๙ แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๔ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากบทความ เฉลย (ต่อ) แนวคาตอบ แบบฝึกทักษะขั้นที่ ๖ (ต่อ) ๔ สารเคมีที่เพิ่มลงไปในน้าเพื่อฆ่าเชื้อโรคที่เป็นอันตรายคืออะไร คลอรีน ๕ ให้นักเรียนบอกการดื่มน้าให้ถูกวิธีมา ๕ ข้อ ๑. ควรดื่มน้้าไม่ต่้ากว่าวันละ ๖-๘ แก้ว ๒. ควรดื่มน้้าทุกครั้งที่รู้สึกกระหาย ๓. ไม่ควรรับประทานอาหารที่มีรสจัดเกินไป ๔. ไม่ควรดื่มน้้าเย็นจัด ๕. ดื่มน้้าหลังตื่นนอน
  • 20. ๒๐ บรรณานุกรม กรรณิการ์ เอมแสง. (2553). การดื่มน้าเพื่อสุขภาพ. http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/6659 ธารทิพย์ แก้วเหลี่ยม. (2553). วิธีการอ่านแบบ SQ4R. http://gotoknow.org/blog/sairung/244531 ฟองจันทร์ สุขยิ่งและคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาษาไทย ม.3. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2547. วิพุธ โสภวงศ์และคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วัฒนาพานิช, 2547. ศึกษาธิการ, กระทรวง. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว , 2551. ส้มป่อยพิทยาคม, โรงเรียน. หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนส้มป่อยพิทยาคม พุทธศักราช 2552 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. 2552. สุคนธ์ สินธพานนท์. พัฒนาทักษะการคิด-พิชิตการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 3 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง, 2551. สุชาวดี เกษมณี. สรุปเข้มภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 ม.3. กรุงเทพฯ : พี.เอ็น.เค แอนด์ สกายพริ้นติ้งส์, 2552. สุวิทย์ มูลคา. กลยุทธ์การสอนคิดอย่างมีวจารณญาณ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : ดลกมล, 2550. ิ สุวิทย์ มูลคา และสุนันทา สุนทรประเสริฐ. การพัฒนาผลงานทางวิชาการ สู่...การเลื่อนวิทยฐานะ. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์, 2550.