SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ความหมายของสมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางกาย (Physical Performance or Physical Fitness) หมายถึง ความสามารถ
ของบุคคลในการควบคุมและสั่งการใหรางกายปฏิบัติภารกิจตางๆในชีวิตประจําวันและปฏิบัติงาน
ไดอยางมีประสิทธิภาพ มีความคลองแคลววองไว กระฉับกระเฉง ทนทานโดยไมแสดงอาการ
เหน็ดเหนื่อย เมื่อยลา หรือออนเพลียใหปรากฏและสามารถฟนตัวสูสภาพปกติไดในเวลาอันรวดเร็ว
การมีสมรรถภาพทางกายที่ดีจะมีผลตอการมีสุขภาพดีหางไกลจากโรคตางๆ เชน โรคหัวใจ
ความดันโลหิตสูง ลดไขมันในเลือด ชวยระบบไหลเวียนของเลือด การหายใจ การยอยอาหาร ชวย
ควบคุมน้ําหนัก ทําใหรางกายมีสัดสวนดี กลามเนื้อแข็งแรง ขอตอเคลื่อนไหวคลองตัว และเมื่อ
รวมกับการมีสุขภาพจิตที่ดี การมีคานิยมดานคุณธรรม จริยธรรมและศีลธรรมอันดีงาม จะสงผลให
บุคคลนั้นเปนประชากรที่มีคุณภาพ เปนคนดีของครอบครัวและสังคม มีประสิทธิภาพในการทํางาน
เพิ่มผลผลิต เพิ่มรายไดใหกับครอบครัวและสังคมอีกดวย
องคประกอบของสมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางกาย มีองคประกอบ 2 กลุม ไดแก
1. สมรรถภาพทางกายขั้นพื้นฐาน สําหรับบุคคลทุกๆคน มี 5 องคประกอบยอย
2. สมรรถภาพทางกายขั้นพิเศษ (Special Physical Fitness) หรือความสามารถทางกลไก
(Motor Ability) สําหรับการพัฒนานักกีฬา มี 7 องคประกอบ
องคประกอบของสมรรถภาพทางกายขั้นพื้นฐาน
1. ศักยภาพหรือความสามารถของระบบหายใจและระบบไหลเวียนเลือด(Circulo -
respiratory Capacity) หรือ ความอดทนของระบบไหลเวียนเลือด (Circulo-respiratory or
Cardiovascular Endurance or Aerobic Capacity) หมายถึง คุณสมบัติหรือความสามารถอดทน
ยืนหยัดตอการปฏิบัติกิจกรรมหนักไดติดตอกันเปนเวลานานๆ เชน วิ่งระยะไกล วายน้ํา ขี่จักรยาน
เลนฟุตบอล เตนแอโรบิก ฯลฯ สวนใหญเปนกิจกรรมที่ใชกลามเนื้อมัดใหญ
2. ความอดทนของกลามเนื้อ (Muscular Endurance) หมายถึงคุณสมบัติที่บุคคลสามารถ
เพียรพยายามทํางานในกิจกรรมที่ตองใชกลามเนื้อมัดหนึ่งหรือหลายมัดในกลุมเดียวกันอยาง
ตอเนื่อง สม่ําเสมอ โดยไมหยุดยั้ง เปนระยะเวลานานๆ เชน ดึงขอ ดันพื้น (วิดพื้น) ลุกนั่ง (Sit up)
3. ความแข็งแรงของกลามเนื้อ (Muscular Strength) หมายถึง ความสามารถในการออกแรง
ยก ดัน ดึง หรือบีบวัตถุที่มีแรงตานใหวัตถุนั้นสามารถเคลื่อนที่ไปไดสูงสุดเพียงครั้งเดียว มีอยู 2
ลักษณะดังตอไปนี้
3.1 ความแข็งแรงแบบอยูกับที่ (Isometric or Static Strength) หมายถึง ลักษณะของ
การใชแรงจํานวนสูงสุดในครั้งเดียวที่บุคคลสามารถกระทําตอแรงตานทานชนิดอยูกับที่ในขณะที่
กลามเนื้อมีการหดเกร็ง โดยไมมีการเคลื่อนไหวรางกาย เชน การดันสิ่งของ หิ้วกระปองน้ํา
3.2 ความแข็งแรงแบบไมอยูกับที่ (Isotonic or Dynamic Strength) หมายถึง จํานวนความ
ตานทานที่บุคคลสามารถกระทําใหผานพนไปไดระหวางการใชแรงในขณะมีการเคลื่อนที่อยางเต็ม
แรงของขอตอเฉพาะแหงหรือขอตอหลาย ๆ แหงของรางกายรวมอยูดวยเชน การงอแขนยกน้ําหนัก
4. ความยืดหยุนหรือความออนตัว (Flexibility) หมายถึง ศักยภาพหรือความสามารถ
พื้นฐานของขอตอที่เคลื่อนไหวไดตามธรรมชาติ เชน พับ งอ บิด ดัดตัว แอนตัว เปนตน ความ
ยืดหยุนจึงคอนขางเจาะจงลงที่ขอตอซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะของกลามเนื้อและเอ็น (Musculature and
Connective Tissue) รอบๆขอตอนั้นมากกวาโครงสรางของกระดูกขอตอเอง (ยกเวนกรณีที่เปนโรค
กระดูกเสื่อมหรือไมสามารถทํางานได) การยืดหยุนหรือออนตัวที่มากกวาปกติ คือความสามารถ
พิเศษที่เกิดจากการฝกฝนของคนแตละคน เชน ทาทางตางๆของนักกายกรรมหรือนักยิมนาสติก
ซึ่งเปนการกระทําที่คนปกติทําไมได
5. สวนประกอบในรางกาย (Body Composition) หมายถึง เนื้อเยื่อและของเหลวที่ประกอบ
ขึ้นเปนรางกาย ซึ่งมีความหนาแนน หยาบหรือนุมแตกตางกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งไขมันสวนเกินที่
เก็บเอาไวในรางกาย มีความเกี่ยวของกับสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย การวัดสวนประกอบใน
รางกายจึงวัดออกมาเปนเปอรเซ็นตไขมันในรางกาย (% fat)
องคประกอบของความสามารถทางกลไก (Motor Ability) หรือสมรรถภาพทางกายขั้นพิเศษ
(Special Physical Fitness)
ความสามารถทางกลไก หมายถึง ความสามารถในการทํางานเฉพาะอยางของกลไกรางกาย
ซึ่งสามารถตรวจสอบและทดสอบได โดยมีองคประกอบและความหมายดังนี้
1. การทรงตัว (Balance) หมายถึง ความสามารถในการรักษาสมดุลของรางกายเอาไวไดทั้ง
ในขณะอยูกับที่ เชน การยืนบนขาเดียว และขณะเคลื่อนที่ดวยรูปแบบและความเร็วตาง ๆ เชน การ
เลี้ยงลูกบาสเกตบอลและวิ่งไปดวยโดยไมลมหรือซวนเซการเดินบนรางรถไฟ เปนตน
2. พลังหรือกําลัง (Power) หมายถึง ความตองการที่จะเคลื่อนไหวรางกายอยางทันทีทันใด
เชน กระโดดสูง พุงแหลน ทุมน้ําหนัก ขวางลูกเบสบอล การวิ่งเร็วเต็มที่ นั่นหมายถึงวา รางกายตอง
ใชแรงเปนจํานวนมากในระยะเวลาสั้น ๆ และสั้นที่สุดเทาที่จะสั้นได โดยใหเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด
3. ความคลองตัว (Agility) หมายถึง ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางอยางรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งควบคุมไดในขณะเคลื่อนไหวดวยการใชแรงเต็มที่ ใหมากที่สุดเทาที่จะมากได
เชน การวิ่งเก็บของ การวิ่งซิกแซ็กวิ่งกลับตัวหรือหลบหลีกไดคลองแคลว
4. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนไหว รางกายทั้งหมดอยาง
รวดเร็วจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เชน การวิ่ง 100 เมตร
5. เวลาเคลื่อนไหว (Movement Time) มีความหมายตางจากความเร็ว เพราะหมายรวมถึง
การเคลื่อนที่ดวยสวนใดสวนหนึ่งของรางกายจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เชน การวัดเวลา
เคลื่อนไหวของแขนและไหลโดยการขวางลูกเบสบอลใหไกลที่สุด
6. เวลาปฏิกิริยา (Reaction Time) หมายถึง ระยะเวลาที่จําเปนตองใชเคลื่อนไหวเพื่อการ
ตอบสนองตอสิ่งเราเฉพาะอยาง ถาเวลาเคลื่อนไหวบวกกับเวลาปฏิกิริยาจะกลายเปนเวลา
ตอบสนอง (Response Time)
7. การทํางานประสานสัมพันธ (Coordination) หมายถึง การสั่งการของระบบประสาทและ
ระบบกลามเนื้อมีความสัมพันธกันดี สามารถปฏิบัติตัวหรือเคลื่อนไหวไดถูกตองตามที่จิตสั่ง เชน
การตักอาหารเขาปากไดถูกตอง
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness Test)
มีจุดมุงหมายที่จะประเมินสมรรถภาพรางกายและสุขภาพของบุคคลทั่วไปหรือนักกีฬา
วามีจุดออนและจุดแข็งอะไรบาง เพื่อนําไปสูการวางแผนปรับปรุงขอบกพรองตางๆ สงเสริมการ
ฝกฝนของแตละบุคคลใหมีสมรรถภาพทางกายถึงจุดสูงสุดและเหมาะสมกับการปฏิบัติกิจกรรม
หรือการเลนกีฬาแตละชนิด
วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
วิธีการทดสอบมีหลายแบบ มีเครื่องมือหลากหลายชนิด ผูทําการทดสอบจะตองรูจักเลือก
วิธีการทดสอบและเครื่องมือที่ดี มีความเที่ยงตรง ใหผลเชื่อถือได มีความเปนมาตรฐาน (เปนสากล)
ตองศึกษาเรียนรูวิธีการ ขั้นตอนการทดสอบ การเตรียมสถานที่ อุปกรณ และแบบบันทึกผลการ
ทดสอบใหเขาใจอยางทองแทและฝกฝนจนชํานาญ อธิบายรายละเอียดใหผูรับการทดสอบทราบ
ประเมินความพรอมของผูรับการทดสอบวามีขอหามหรือไม และเมื่อทดสอบแลวตองรีบทําการ
วิเคราะหแจงผลใหผูรับการทดสอบทราบโดยเร็ว พรอมทั้งสามารถใหคําแนะนําและชวยวาง
แผนการพัฒนาสมรรถภาพใหแตละบุคคลได
การทดสอบสมรรถภาพทางกายวิธีที่นิยม มีดังนี้
1. การตรวจรางกายโดยทั่วไป เพื่อใหทราบขอบกพรองทางสุขภาพในเบื้องตน
2. การวัดสัดสวนรางกาย (Anthropometry) เพื่อประเมินรูปราง ขนาด ภาวะโภชนาการ
และสวนประกอบในรางกาย (รอยละของไขมัน) เชน ความสัมพันธระหวางน้ําหนักกับสวนสูง
คํานวณเปนคาดัชนีมวลกาย (Body mass index, BMI) สัดสวนระหวางเอวกับสะโพก (Waist to hip
ratio, WHR) การวัดเสนรอบเอว (Waist Circumference) การวัดความหนาของชั้นไขมันใตผิวหนัง
ดวย Skin fold caliper 4 ตําแหนง คือ แขนสวนบนดานหนาและดานหลัง สีขางเหนือกระดูกเชิง
กราน และใตกระดูกสะบัก (Triceps, Biceps, Supra-iliac และ Sub-scapular)
3. สมรรถภาพของหัวใจและปอด เปนการประเมินผลการทํางานของระบบหายใจรวมกับ
ระบบหัวใจและไหลเวียนเลือดในการนําเอาออกซิเจนไปเลี้ยงสวนตางๆของรางกายวามี
ประสิทธิภาพมากนอยเพียงใด ประกอบดวย
3.1 การวัดสมรรถภาพระบบไหลเวียนเลือด ไดแก การประเมินในสวนของสัญญาณชีพ
(Vital Sign: ชีพจรและความดันโลหิต) และการวัดขนาดหัวใจดวยเอกซเรย โดยปกติคนที่มี
สมรรถภาพทางกายดีจะมีชีพจรขณะพักต่ํากวาผูที่มีสมรรถภาพทางกายไมคอยดี
3.2 การวัดความอดทน (Aerobic Capacity) โดยการประเมินเพื่อหาประสิทธิภาพของการ
ใชออกซิเจนสูงสุด (VO2 Max.) ในขณะออกกําลังกาย สวนนี้คือสวนของการวัดสมรรถภาพของ
หัวใจและปอดโดยตรง ในการทดสอบจะแบงเปน 2 แบบ คือ
• การทดสอบในหอง ไดแก การวัดดวยจักรยานวัดงาน (Bicycle ergometer) 6 นาที
การใชลูกล (Treadmill) หรือการกาวขึ้น-ลงขั้นบันได 3 นาที (3-Minute step test) อานคาอัตราเตน
ของหัวใจ นําไปคํานวณหาคา VO2 Max. ดวยตารางมาตรฐาน ปรับตัวคูณดวยอายุ และอัตราการ
จับออกซิเจนสูงสุด ( Maximum Oxygen uptake) วิธีดังกลาวนี้จําเปนตองมีเครื่องมือจักรยานวัดงาน
ลูกล และขั้นบันได ตองเรียนรูวิธีการใชเครื่องมือและตารางคามาตรฐานใหชํานาญ จึงไมเหมาะที่
จะใชกับคนเปนกลุมใหญ
• การทดสอบในสนาม ดวยการวิ่งหรือเดินใหเร็วที่สุดในระยะทางหรือเวลาที่
กําหนด แลวจับเวลาหรือระยะทาง และชีพจร แลวนําคาที่ไดไปเปดตารางมาตรฐาน เชน การ
ทดสอบดวยการเดิน-วิ่ง 2.4 กิโลเมตร
3.3 การวัดสมรรถภาพของระบบหายใจ โดยการประเมินความจุปอด (Lung or Vital
Capacity) ดวยเครื่องมือไปโรมิเตอร (Spiro meter) หรือ สไปโรเปท (Spiropet) ทํา 2 ครั้งหาคาเฉลี่ย
จากปริมาตรของอากาศที่เปาออกมาตอน้ําหนักตัว เมื่อนําไปเปรียบเทียบกับตารางมาตรฐาน จะทํา
ใหทราบ สมรรถภาพของปอดวาอยูในเกณฑใด
4. ความออนตัว (Flexibility) เปนการประเมินความยืดหยุนของขอตอ รวมทั้งกลามเนื้อ
และเอ็นที่อยูรอบๆ โดยใชเครื่องมือวัดความออนตัว (Flexibilimeter) ที่สามารถอานคาบวกและลบ
ได โดยวิธีนั่งงอตัวไปขางหนา พรอมกับเหยียดแขนทั้ง 2 ขางตรงไปขางหนาใหไกลที่สุด (Sit and
reach test) อีกวิธีหนึ่งคือ การแตะมือดานหลัง (Shoulder girdle flexibility test) ผูที่มีความออนตัว
นอย จะมีโอกาสบาดเจ็บจากการทํางานหรือออกกําลังกายสูงกวาผูที่มีความออนตัวดี
5. ความแข็งแรงและความอดทนของกลามเนื้อ(Muscular Fitness &
Endurance) ประกอบดวยการวัดความแข็งแรงของกลามเนื้อมือ แขน หลังและขา ดวยเครื่องมือวัด
แรง เชน Hand grip dynamometer การวัดกําลังของกลามเนื้อขาโดยการยืนกระโดดไกลหรือยืน
กระโดดสูง การวัดความอดทนของกลามเนื้อดวยการดึงขอ (แขน) ลุกนั่ง (ทอง) ยืนกระโดดสูงซ้ําๆ
(เขา) การดันพื้น (Push-up แขนและหนาอก) วัดความคลองตัวดวยการวิ่งกลับตัว วัดความเร็วดวย
การวิ่ง 50 เมตร เปนตน
ขอปฏิบัติสําหรับผูเขารับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
1. กอนการทดสอบ พักผอนใหเพียงพอ งดออกกําลังกายอยางหนักอยางนอย 24 ชั่วโมง
รับประทานอาหารประจําวันตามปกติ หลีกเลียงการดื่มสุรา ไมใชความคิดหนักและงดกินยาที่ออก
ฤทธิ์นาน
2. วันที่ทําการทดสอบ สวมเครื่องแตงกายใหเหมาะสม รับประทานอาหารหนักกอนการ
ทดสอบไมนอยกวา 2 ชั่วโมง ไมกินยาหรือสิ่งกระตุนใดๆ เชน ชา กาแฟ และบุหรี่
3. ในระหวางการทดสอบ ตั้งใจทดสอบอยางเต็มความสามารถ แตไมฝนถารูสึกไมสบาย
เชน เหนื่อยหายใจไมทัน เจ็บหนาอก ใจสั่น คลื่นไส ฯลฯ ใหรีบแจงเจาหนาที่ทันที
วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายอยางงาย
อัตราการเตนของหัวใจขณะพัก (Resting Heart Rate)
การประเมินสมรรถภาพของหัวใจวิธีหนึ่ง คือ การตรวจอัตราการเตนของหัวใจขณะพัก ทํา
ไดโดยวิธีการดังนี้
1. ใหผูรับการตรวจนั่งพักประมาณ 5 - 10 นาที
2. ใชปลายนิ่วชี้และนิ้วกลางของมือขางที่ถนัด คลําชีพจรที่ขอมือดานหัวแมมือ หรือที่เสน
เลือดใหญบริเวณลําคอ หรือโดยการใชเครื่องชวยฟงของบุคลากรทางการแพทยฟงที่หัวใจ
3. นับจํานวนครั้งการเตนของหัวใจตอนาที
4. นําไปเปรียบเทียบกับตารางคามาตรฐานของชายหรือหญิง
คามาตรฐานอัตราการเตนของหัวใจขณะพัก (ครั้งตอนาที)
ชาย
อายุ 18 -25 26 -35 36 -45 46 - 55 56 -65 65+
นักกีฬา 49-55 49-54 50-56 50-57 51-56 50-55
ดีเยี่ยม 56-61 55-61 57-62 58-63 57-61 56-61
ดี 62-65 62-65 63-66 64-67 62-67 62-65
ดีกวาปกติ 66-69 66-70 67-70 68-71 68-71 66-69
ปกติ 70-73 71-74 71-75 72-76 72-75 70-73
ต่ํากวาปกติ 74-81 75-81 76-82 77-83 76-81 74-79
ต่ํา 82+ 82+ 83+ 84+ 82+ 80+
หญิง
อายุ 18 -25 26 -35 36 -45 46 - 55 56 -65 65+
นักกีฬา 54-60 54-59 54-59 54-60 54-59 54-59
ดีเยี่ยม 61-65 60-64 60-64 61-65 60-64 60-64
ดี 66-69 65-68 65-69 66-69 65-68 65-68
ดีกวาปกติ 70-73 69-72 70-73 70-73 69-73 69-72
ปกติ 74-78 73-76 74-78 74-77 74-77 73-76
ต่ํากวาปกติ 79-84 77-82 79-84 78-83 78-83 77-84
ต่ํา 85+ 83+ 85+ 84+ 84+ 84+
ที่มา: http://www.netfit.co.uk/fitness/test/resting-heart-rate.htm
ความดันโลหิต (Blood pressure)
ใชเครื่องมือวัดความดันโลหิตชนิดปรอทหรือดิจิตอลก็ได วัดคาความดันโลหิตขณะที่หัวใจ
บีบตัว(Systolic)เปนคาบนและขณะหัวใจคลายตัว(Diastolic)เปนคาลาง คามาตรฐานมีดังนี้
คามาตรฐานความดันโลหิตในผูใหญอายุ 18 ปขึ้นไป
Systolic BP
(ม.ม.ปรอท)
Diastolic BP
(ม.ม.ปรอท)
ความหมาย หมายเหตุ
< 120 < 80 ดี เหมาะสม
120-129 80-84 ปกติ
130-139 85-89 ปกติคอนไปทางสูง
140-159 90-99 สูงเล็กนอย (ระดับ 1)
160-179 100-109 สูงปานกลาง (ระดับ 2)
>= 180 >= 110 สูงมาก (ระดับ 3)
คา Systolic และ
Diastolic นั้น คาใดมี
ความรุนแรงกวา ใหใช
คานั้นเปนเกณฑ
ที่มา: American College of Sports Medicine. ACSM’s Guideline for Exercise Testing and
Prescription. 6th
ed. Philadelphia. Lippincott Williams and Wkilins: 2000.
การวัดความหนาของชั้นไขมันใตผิวหนัง
เครื่องมือที่ใช คือ Skin fold caliper วัดที่ 4 ตําแหนง ไดแก แขนสวนบนดานหนาและ
ดานหลัง สีขางเหนือกระดูกเชิงกราน และใตกระดูกสะบัก (Triceps, Biceps, Supra-iliac และ Sub-
scapular) โดยวัดที่ดานขวาของรางกายทั้งหมด(เนื่องจากคนสวนใหญถนัดขวาและสะดวกในการ
วัด) ผูวัดใชหัวแมมือและนิ้วชี้ของมือซายจับชั้นไขมันใตผิวหนังบีบเบาๆเขาหากันโดยไมใหมี
กลามเนื้อติดมา และใหนิ้วทั้งสองอยูหางกันประมาณ 2 – 3 ซม ในขณะเดียวกันใชมือขวาจับ
เครื่องมือ Skin fold caliper วัดความหนาของชั้นไขมัน โดยใหปลายของเครื่องมืออยูหางนิ้วมือซาย
ประมาณ 1 ซม ปลอยใหเครื่องมือกดบนผิวหนังประมาณ 2 วินาทีแลวอานผล บันทึกความหนา
ทั้ง 4 จุดเปนคามิลลิเมตร นํามารวมกันแลวหาคารอยละของไขมันในรางกาย (% Fat) ตามอายุและ
เพศ โดยเทียบผลจากตารางตอไปนี้
Triceps Biceps Sub-scapular Supra-iliac
ตารางแสดงคาเปอรเซ็นตไขมันของรางกายจากการวัด 4 จุด
% ไขมันเพศชายจําแนกตามชวงอายุ (ป) % ไขมันเพศหญิงจําแนกตามชวงอายุ (ป)ผลรวมของ
ไขมัน 4 จุด (ม.ม.) 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป
15 5.0 4.6 9.1 8.5 8.4 10.4 10.2 13.5 16.4 17.8
16 5.7 5.4 9.7 9.3 9.3 11.2 11.1 14.3 17.2 18.6
17 6.4 6.1 10.4 10.1 10.2 12.0 11.9 15.0 17.9 19.4
18 7.1 6.7 10.9 10.8 11.0 12.7 12.7 15.7 18.5 20.1
19 7.7 7.4 11.5 11.5 11.8 13.4 13.4 16.3 19.2 20.8
20 8.3 8.0 12.0 12.2 12.6 14.1 14.1 16.9 19.8 21.4
21 8.9 8.5 12.5 12.9 13.3 14.7 14.7 17.5 20.4 22.1
22 9.4 9.1 13.0 13.5 14.0 15.3 15.4 18.1 20.9 22.6
23 9.9 9.6 13.4 14.1 14.6 15.8 16.0 18.6 21.4 23.2
24 10.4 10.1 13.9 14.6 15.2 16.4 16.6 19.2 22.0 23.7
25 10.9 10.6 14.3 15.2 15.8 16.9 17.1 19.7 22.4 24.3
26 11.4 11.0 14.7 15.7 16.4 17.4 17.7 20.1 22.9 24.8
27 11.8 11.5 15.1 16.2 17.0 17.9 18.2 20.6 23.4 25.2
28 12.3 11.9 15.5 16.7 17.5 18.4 18.7 21.1 23.8 25.7
29 12.7 12.3 15.8 17.1 18.1 18.9 19.2 21.5 24.2 26.2
30 13.1 12.7 16.2 17.6 18.6 19.3 19.6 21.9 24.6 26.6
31 13.5 13.1 16.5 18.0 19.1 19.7 20.1 22.3 25.0 27.0
32 13.8 13.5 16.8 18.5 19.5 20.2 20.5 22.7 25.4 27.4
33 14.2 13.9 17.2 18.9 20.0 20.6 21.0 23.1 25.8 27.8
ตารางแสดงคาเปอรเซ็นตไขมันของรางกายจากการวัด 4 จุด(ตอ)
% ไขมันเพศชายจําแนกตามชวงอายุ (ป) % ไขมันเพศหญิงจําแนกตามชวงอายุ (ป)ผลรวมของ
ไขมัน 4 จุด (ม.ม.) 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป
34 14.6 14.2 17.5 19.3 20.4 21.0 21.4 23.5 26.2 28.2
35 14.9 14.6 17.8 19.7 20.9 21.3 21.8 23.8 26.5 28.6
36 15.2 14.9 18.1 20.1 21.3 21.7 22.2 24.2 26.9 28.9
37 15.6 15.2 18.4 20.4 21.7 22.1 22.6 24.5 27.2 29.3
38 15.9 15.6 18.6 20.8 22.1 22.4 22.9 24.8 27.5 29.6
39 16.2 15.9 18.9 21.1 22.5 22.8 23.3 25.2 27.8 30.0
40 16.5 16.2 19.2 21.5 22.9 23.1 23.7 25.5 28.1 30.3
41 16.8 16.5 19.4 21.8 23.3 23.4 24.0 25.8 28.4 30.6
42 17.1 16.8 19.7 22.2 23.7 23.8 24.4 26.1 28.7 31.0
43 17.4 17.0 19.9 22.5 24.0 24.1 24.7 26.4 29.0 31.3
44 17.7 17.3 20.2 22.8 24.4 24.4 25.0 26.7 29.3 31.6
45 17.9 17.6 20.4 23.1 24.7 24.7 25.3 27.0 29.6 31.9
46 18.2 17.9 20.6 23.4 25.1 25.0 25.7 27.2 29.9 32.1
47 18.5 18.1 20.9 23.7 25.4 25.3 26.0 27.5 30.1 32.4
48 18.7 18.4 21.1 24.0 25.7 25.5 26.3 27.8 30.4 32.7
49 19.0 18.6 21.3 24.3 26.0 25.8 26.6 28.0 30.6 33.0
50 19.2 18.9 21.5 24.6 26.4 26.1 26.8 28.3 30.9 33.2
51 19.5 19.1 21.7 24.8 26.7 26.4 27.1 28.5 31.1 33.5
52 19.7 19.4 21.9 25.1 27.0 26.6 27.4 28.8 31.4 33.8
53 19.9 19.6 22.1 25.4 27.3 26.9 27.7 29.0 31.6 34.0
54 20.1 19.8 22.3 25.6 27.5 27.1 27.9 29.3 31.9 34.3
55 20.4 20.0 22.5 25.9 27.8 27.4 28.2 29.5 32.1 34.5
56 20.6 20.3 22.7 26.1 28.1 27.6 28.5 29.7 32.3 34.8
57 20.8 20.5 22.9 26.4 28.4 27.9 28.7 30.0 32.5 35.0
58 21.0 20.7 23.1 26.6 28.7 28.1 29.0 30.2 32.7 35.2
59 21.2 20.9 23.3 26.9 28.9 28.3 29.2 30.4 33.0 35.4
60 21.4 21.1 23.5 27.1 29.2 28.6 29.5 30.6 33.2 35.7
61 21.6 21.3 23.6 27.3 29.5 28.8 29.7 30.8 33.4 35.9
62 21.8 21.5 23.8 27.6 29.7 29.0 29.9 31.0 33.6 36.1
63 22.0 21.7 24.0 27.8 30.0 29.2 30.2 31.2 33.8 36.3
64 22.2 21.9 24.2 28.0 30.2 29.4 30.4 31.4 34.0 36.5
65 22.4 22.1 24.3 28.2 30.5 29.7 30.6 31.6 34.2 36.7
ตารางแสดงคาเปอรเซ็นตไขมันของรางกายจากการวัด 4 จุด (ตอ)
% ไขมันเพศชายจําแนกตามชวงอายุ (ป) % ไขมันเพศหญิงจําแนกตามชวงอายุ (ป)ผลรวมของ
ไขมัน 4 จุด (ม.ม.) 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป
66 22.6 22.3 24.5 28.4 30.7 29.9 30.8 31.8 34.4 36.9
67 22.8 22.5 24.7 28.6 30.9 30.1 31.1 32.0 34.6 37.1
68 23.0 22.7 24.8 28.9 31.2 30.3 31.3 32.2 34.7 37.3
69 23.2 22.8 25.0 29.1 31.4 30.5 31.5 32.4 34.9 37.5
70 23.3 23.0 25.1 29.3 31.6 30.7 31.7 32.6 35.1 37.7
71 23.5 23.2 25.3 29.5 31.9 30.9 31.9 32.8 35.3 37.9
72 23.7 23.4 25.4 29.7 32.1 31.1 32.1 33.0 35.5 38.1
73 23.9 23.5 25.6 29.9 32.3 31.3 32.3 33.1 35.6 38.3
74 24.0 23.7 25.7 30.0 32.5 31.4 32.5 33.3 35.8 38.5
75 24.2 23.9 25.9 30.2 32.7 31.6 32.7 33.5 36.0 38.7
76 24.4 24.0 26.0 30.4 32.9 31.8 32.9 33.7 36.2 38.8
77 24.5 24.2 26.2 30.6 33.1 32.0 33.1 33.8 36.3 39.0
78 24.7 24.4 26.3 30.8 33.3 32.2 33.3 34.0 36.5 39.2
79 24.8 24.5 26.4 31.0 33.6 32.3 33.5 34.2 36.6 39.4
80 25.0 24.7 26.6 31.2 33.8 32.5 33.7 34.3 36.8 39.5
81 25.2 24.8 26.7 31.3 34.0 32.7 33.8 34.5 37.0 39.7
82 25.3 25.0 26.8 31.5 34.1 32.9 34.0 34.7 37.1 39.9
83 25.5 25.1 27.0 31.7 34.3 33.0 34.2 34.8 37.3 40.0
84 25.6 25.3 27.1 31.8 34.5 33.2 34.4 35.0 37.4 40.2
85 25.8 25.4 27.2 32.0 34.7 33.4 34.6 35.1 37.6 40.4
86 25.9 25.6 27.4 32.2 34.9 33.5 34.7 35.3 37.7 40.5
87 26.0 25.7 27.5 32.3 35.1 33.7 34.9 35.4 37.9 40.7
88 26.2 25.9 27.6 32.5 35.3 33.8 35.1 35.6 38.0 40.8
89 26.3 26.0 27.7 32.7 35.5 34.0 35.2 35.7 38.2 41.0
90 26.5 26.1 27.9 32.8 35.6 34.2 35.4 35.9 38.3 41.1
91 26.6 26.3 28.0 33.0 35.8 34.3 35.6 36.0 38.5 41.3
92 26.7 26.4 28.1 33.1 36.0 34.5 35.7 36.2 38.6 41.4
93 26.9 26.6 28.2 33.3 36.2 34.6 35.9 36.3 38.7 41.6
94 27.0 26.7 28.3 33.5 36.3 34.8 36.0 36.4 38.9 41.7
95 27.2 26.8 28.4 33.6 36.5 34.9 36.2 36.6 39.0 41.9
96 27.3 27.0 28.6 33.8 36.7 35.1 36.4 36.7 39.1 42.0
97 27.4 27.1 28.7 33.9 36.9 35.2 36.5 36.9 39.3 42.2
ตารางแสดงคาเปอรเซ็นตไขมันของรางกายจากการวัด 4 จุด (ตอ)
% ไขมันเพศชายจําแนกตามชวงอายุ (ป) % ไขมันเพศหญิงจําแนกตามชวงอายุ (ป)ผลรวมของ
ไขมัน 4 จุด (ม.ม.) 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป
98 27.5 27.2 28.8 34.1 37.0 35.3 36.7 37.0 39.4 42.3
99 27.7 27.3 28.9 34.2 37.2 35.5 36.8 37.1 39.5 42.4
100 27.8 27.5 29.0 34.3 37.3 35.6 37.0 37.3 39.7 42.6
101 27.9 27.6 29.1 34.5 37.5 35.8 37.1 37.4 39.8 42.7
102 28.0 27.7 29.2 34.6 37.7 35.9 37.3 37.5 39.9 42.9
103 28.2 27.9 29.3 34.8 37.8 36.0 37.4 37.6 40.0 43.0
104 28.3 28.0 29.4 34.9 38.0 36.2 37.6 37.8 40.2 43.1
105 28.4 28.1 29.5 35.0 38.1 36.3 37.7 37.9 40.3 43.3
106 28.5 28.2 29.6 35.2 38.3 36.4 37.8 38.0 40.4 43.4
107 28.7 28.3 29.7 35.3 38.4 36.6 38.0 38.1 40.5 43.5
108 28.8 28.5 29.8 35.5 38.6 36.7 38.1 38.3 40.7 43.6
109 28.9 28.6 29.9 35.6 38.8 36.8 38.3 38.4 40.8 43.8
110 29.0 28.7 30.0 35.7 38.9 37.0 38.4 38.5 40.9 43.9
111 29.1 28.8 30.1 35.9 39.0 37.1 38.5 38.6 41.0 44.0
112 29.2 28.9 30.2 36.0 39.2 37.2 38.7 38.7 41.1 44.1
113 29.3 29.0 30.3 36.1 39.3 37.3 38.8 38.9 41.2 44.3
114 29.5 29.1 30.4 36.2 39.5 37.5 38.9 39.0 41.4 44.4
115 29.6 29.2 30.5 36.4 39.6 37.6 39.1 39.1 41.5 44.5
116 29.7 29.4 30.6 36.5 39.8 37.7 39.2 39.2 41.6 44.6
117 29.8 29.5 30.7 36.6 39.9 37.8 39.3 39.3 41.7 44.8
118 29.9 29.6 30.8 36.7 40.1 38.0 39.4 39.4 41.8 44.9
119 30.0 29.7 30.9 36.9 40.2 38.1 39.6 39.6 41.9 45.0
120 30.1 29.8 31.0 37.0 40.3 38.2 39.7 39.7 42.0 45.1
ที่มา: คูมือการทดสอบสมรรถภาพทางกายประชาชนไทย กองวิทยาศาสตรการกีฬา ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา การ
กีฬาแหงประเทศไทย 2545
คามาตรฐานปริมาณไขมันในรางกาย (%) ของประชาชนไทย
ระดับ ชาย อายุ ( ป)
สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72
ดีมาก 5.7-8.1 7.3-9.5 13.7-15.8 17.0-19.4 19.1-21.6 15.7-18.8
ดี 8.2-10.6 9.6-11.9 15.9-18.0 19.5-21.9 21.7-24.2 18.9-22.0
ปานกลาง 10.7-15.7 12.0-16.8 18.1-22.5 22.0-27.0 24.3-29.5 22.1-28.5
ต่ํา 15.8-18.2 19.9-19.2 22.6-24.7 27.1-29.5 29.6-32.1 28.6-31.7
ต่ํามาก 18.3 19.3 24.8 29.6 32.2 31.8
ระดับ หญิง อายุ( ป)
สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72
ดีมาก 20.3-22.3 20.4-22.6 24.4-26.5 29.8-31.6 32.6-34.5 27.5-30.3
ดี 22.4-24.4 22.7-24.9 26.6-28.7 31.7-33.5 34.6-36.5 30.4-33.2
ปานกลาง 24.5-28.7 25.0-29.6 28.8-33.2 33.6-37.4 36.6-40.6 33.3-39.1
ต่ํา 28.8-30.8 29.7-31.5 33.3-35.4 37.5-39.3 40.7-42.6 9.2-42.0
ต่ํามาก 30.9 31.6 35.5 39.4 42.7 42.1
ที่มา : ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา. เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกาย ประชาชนไทย. 2543
คามาตรฐานปริมาณไขมันในรางกาย (%) ที่สัมพันธกับสุขภาพ
ชาย ไม ระดับปริมาณไขมัน
แนะนํา ต่ํา กลาง สูง อวน
วัยผูใหญตอนตน (<35 ป) < 8 8 13 22 > 22
วัยผูใหญตอนกลาง (35-55 ป) < 10 10 18 25 > 25
วัยสูงอายุ (55 ป) < 10 10 16 23 > 23
หญิง ไม ระดับปริมาณไขมัน
แนะนํา ต่ํา กลาง สูง อวน
วัยผูใหญตอนตน (<35 ป) <20 20 28 35 >35
วัยผูใหญตอนกลาง (35-55 ป) <25 25 32 38 >38
วัยสูงอายุ (55 ป) <25 25 30 35 >35
ที่มา : ACSM Health and Fitness Journal, 1:30, 1997 อางใน : Workshop on "Body
composition assessment" August 2-4th, 2000. Institute of Nutrition, Mahidol University
การวัดความอดทนของระบบการไหลเวียนเลือดและการหายใจ (Aerobic capacity or Circulo –
respiratory endurance or Cardio-vascular capacity)
1. โดยการประเมินประสิทธิภาพการใชออกซิเจนสูงสุด (VO2 Max) ดวยจักรยานวัดงาน ทําการ
ทดสอบดังนี้
1.1 ใหผูทดสอบขึ้นนั่งบนอาน จัดระดับอานใหพอเหมาะโดยเขาขางที่เทาเหยียบบันไดต่ําสุด งอ
เล็กนอย ประมาณ 5 องศา (หรือกอนขึ้นนั่งใหผูทดสอบยืนขางจักรยานและ จัดระดับอานต่ํา
กวาระดับสะดือประมาณ 4 นิ้วมือ)
1.2 ตั้งเครื่องเคาะจังหวะ ที่ความเร็ว 100 ครั้ง หรือ 50 รอบตอนาที ใหผูทดสอบ ปนจักรยานตาม
เสียงจังหวะเพื่อรักษาความเร็วใหคงที่ โดยเทาขางใดขางหนึ่งตองอยูที่บันไดต่ําสุดขณะเสียง
เคาะจังหวะดัง
1.3 ใหผูทดสอบถีบจักรยาน 2-3 นาที เพื่ออบอุนรางกายและสรางความคุนเคยกับจักรยาน
1.4 การเลือกน้ําหนักถวงขึ้นอยูกับอายุ เพศ สุขภาพ และสมรรถภาพของแตละคน โดยทําให
อัตราการเตนของหัวใจอยูระหวาง 120-170 ครั้งตอนาที ดังนี้
ชาย ที่ไมออกกําลังกาย 1-2 กิโลปอนด (300-600 kpm.min-1
)
ชาย ที่ออกกําลังกาย 2-3 กิโลปอนด (600-900 kpm.min-1
)
หญิงที่ไมออกกําลังกาย 1- 1½ กิโลปอนด (300-450 kpm.min-1
)
หญิง ที่ออกกําลังกาย 1½ -2 กิโลปอนด (450-600 kpm.min-1
)
เริ่มจับเวลาเมื่อผูทดสอบสามารถปนจักรยานรักษาความเร็วคงที่ 50 รอบตอนาที
ตามน้ําหนักถวงที่กําหนดให
1.5 นับและบันทึกอัตราการเตนของหัวใจทุกนาที เปนเวลา 6 นาที (นับจากวินาทีที่ 45 ถึงวินาที
ที่ 60 ของแตละนาที) โดยใชเครื่องชวยหูฟง ฟงที่บริเวณ Apex หรือ Carotid Artery
1.6 ถาถึงนาทีที่ 2 อัตราการเตนของหัวใจยังต่ํากวา 120 ครั้งตอนาที ใหเพิ่มน้ําหนักถวงอีก 0.5
กิโลปอนด และขยายเวลาออกไปอีก 1 นาทีหรือมากกวา เพื่อใหอัตราการเตนของหัวใจ
สม่ําเสมอและเขาสูสภาวะคงที่ (Steady state)
1.7 นําอัตราการเตนของหัวใจชวงนาทีที่ 5 และนาทีที่ 6 มาหาคาเฉลี่ย ถาอัตราการเตนของ
หัวใจทั้ง 2 ชวง แตกตางกันมากกวา 5 ครั้งตอนาที ใหขยายระยะเวลาการทดสอบออกไปอีก
1 นาทีหรือมากกวา จนกวาอัตราการเตนของหัวใจจะแตกตางกัน ไมเกิน 5 ครั้งตอนาที
1.8 หยุดการทดสอบ หากอัตราการเตนหัวใจของผูทดสอบมากกวา 85% ของอัตราการเตนหัวใจ
สูงสุด [220 - อายุ (ป)] หรือผูทดสอบไมสามารถปฏิบัติตามขอกําหนดการทดสอบได หรือ
ผูทดสอบมีอาการที่บงบอกวามีปญหาของหัวใจหรือมีภาวะฉุกเฉินหรือผูทดสอบรองขอ
หยุดการทดสอบ
1.9 นําอัตราการเตนของหัวใจที่วัดไดในขอ 7 และน้ําหนักที่ใชถวงในขอ 6 ไปหาคาปริมาณการ
จับออกซิเจนสูงสุด (Maximum oxygen uptake) จากตารางมาตรฐานจําแนกชายและหญิง
คํานวณคาประสิทธิภาพการใชออกซิเจนสูงสุด (VO2 Max) ปรับคาตัวแปรดานอายุ และน้ําหนักตัว
โดยคํานวณจากสูตรดังนี้
ปริมาณการใชออกซิเจนสูงสุด (ลิตร/นาที) = (Age Factor) x (Max. Oxygen uptake) x 1000
น้ําหนักตัว (กิโลกรัม)
ตาราง ทํานายปริมาณการใชออกซิเจนสูงสุดที่สัมพันธกับอัตราการเตนหัวใจขณะที่ออกกําลังและน้ําหนักที่ใช
ถวงจักรยานวัดงาน (Bicycle Ergometer)
ชาย
Maximal Oxygen Uptake Liters / min Maximal Oxygen Uptake Liters / min
Working
Pulse
300
kpm/
min
50w
600
kpm/
min
100w
900
kpm/
min
150w
1200
kpm/
min
200w
1500
kpm/
min
250w
Working
Pulse
300
kpm/
min
50w
600
kpm/
min
100w
900
kpm/
min
150w
1200
kpm/
min
200w
1500
kpm/
min
250w
120 2.2 3.5 4.8 146 2.4 3.3 4.4 5.6
121 2.2 3.4 4.7 147 2.4 3.3 4.4 5.5
122 2.2 3.4 4.6 148 2.4 3.2 4.3 5.4
123 2.1 3.4 4.6 149 2.3 3.2 4.3 5.4
124 2.1 3.3 4.5 6.0 150 2.3 3.2 4.2 5.3
125 2.0 3.2 4.4 5.9 151 2.3 3.1 4.2 5.2
126 2.0 3.2 4.4 5.8 152 2.3 3.1 4.1 5.2
127 2.0 3.1 4.3 5.7 153 2.2 3.0 4.1 5.1
128 2.0 3.1 4.2 5.6 154 2.2 3.0 4.0 5.1
129 1.9 3.0 4.2 5.6 155 2.2 3.0 4.0 5.0
130 1.9 3.0 4.1 5.5 156 2.2 2.9 4.0 5.0
131 1.9 2.9 4.0 5.4 157 2.1 2.9 3.9 4.9
132 1.8 2.9 4.0 5.3 158 2.1 2.9 3.9 4.9
133 1.8 2.8 3.9 5.3 159 2.1 2.8 3.8 4.8
134 1.8 2.8 3.9 5.2 160 2.1 2.8 3.8 4.8
135 1.7 2.8 3.8 5.1 161 2.0 2.8 3.7 4.7
136 1.7 2.7 3.8 5.0 162 2.0 2.8 3.7 4.6
137 1.7 2.7 3.7 5.0 163 2.0 2.8 3.7 4.6
138 1.6 2.7 3.7 4.9 164 2.0 2.7 3.6 4.5
139 1.6 2.6 3.6 4.8 165 2.0 2.7 3.6 4.5
Maximal Oxygen Uptake Liters / min Maximal Oxygen Uptake Liters / min
Working
Pulse
300
kpm/
min
50w
600
kpm/
min
100w
900
kpm/
min
150w
1200
kpm/
min
200w
1500
kpm/
min
250w
Working
Pulse
300
kpm/
min
50w
600
kpm/
min
100w
900
kpm/
min
150w
1200
kpm/
min
200w
1500
kpm/
min
250w
140 1.6 2.6 3.6 4.8 6.0 166 1.9 2.7 3.6 4.5
141 2.6 3.5 4.7 5.9 167 1.9 2.6 3.5 4.4
142 2.5 3.5 4.6 5.8 168 1.9 2.6 3.5 4.4
143 2.5 3.4 4.6 5.7 169 1.9 2.6 3.5 4.3
144 2.5 3.4 4.5 5.7 170 1.8 2.6 3.4 4.3
145 2.4 3.4 4.5 5.6
ที่มา : Astrand’s Acta Physiol. Scand. 49 (suppl. 169), 1960 by P-O. Astrand in Work Test with the Bicycle
Ergometer. Varberg, Sweden : Monark, 1965.
หญิง
Maximal Oxygen Uptake Liters / min Maximal Oxygen Uptake Liters / min
Working
Pulse
300
kpm/
min
50w
600
kpm/
min
100w
900
kpm/
min
150w
1200
kpm/
min
200w
1500
kpm/
min
250w
Working
Pulse
300
kpm/
min
50w
600
kpm/
min
100w
900
kpm/
min
150w
1200
kpm/
min
200w
1500
kpm/
min
250w
120 2.6 3.4 4.1 4.8 146 1.6 2.2 2.6 3.2 3.7
121 2.5 3.3 4.0 4.8 147 1.6 2.1 2.6 3.1 3.6
122 2.5 3.2 3.9 4.7 148 1.6 2.1 2.6 3.1 3.6
123 2.4 3.1 3.9 4.6 149 2.1 2.6 3.0 3.5
124 2.4 3.1 3.8 4.5 150 2.0 2.5 3.0 3.5
125 2.3 3.0 3.7 4.4 151 2.0 2.5 3.0 3.4
126 2.3 3.0 3.6 4.3 152 2.0 2.5 2.9 3.4
127 2.2 2.9 3.5 4.2 153 2.0 2.4 2.9 3.3
128 2.2 2.8 3.5 4.2 4.8 154 2.0 2.4 2.8 3.3
129 2.2 2.8 3.4 4.1 4.8 155 1.9 2.4 2.8 3.2
130 2.1 2.7 3.4 4.0 4.7 156 1.9 2.3 2.8 3.2
131 2.1 2.7 3.4 4.0 4.6 157 1.9 2.3 2.7 3.2
132 2.0 2.7 3.3 3.9 4.5 158 1.8 2.3 2.7 3.1
133 2.0 2.6 3.2 3.8 4.4 159 1.8 2.2 2.7 3.1
134 2.0 2.6 3.2 3.8 4.4 160 1.8 2.2 2.6 3.0
Maximal Oxygen Uptake Liters / min Maximal Oxygen Uptake Liters / min
Working
Pulse
300
kpm/
min
50w
600
kpm/
min
100w
900
kpm/
min
150w
1200
kpm/
min
200w
1500
kpm/
min
250w
Working
Pulse
300
kpm/
min
50w
600
kpm/
min
100w
900
kpm/
min
150w
1200
kpm/
min
200w
1500
kpm/
min
250w
135 2.0 2.6 3.1 3.7 4.3 161 1.8 2.2 2.6 3.0
136 1.9 2.5 3.1 3.6 4.2 162 1.8 2.2 2.6 3.0
137 1.9 2.5 3.0 3.6 4.2 163 1.7 2.2 2.6 2.9
138 1.8 2.4 3.0 3.5 4.1 164 1.7 2.1 2.5 2.9
139 1.8 2.4 2.9 3.5 4.0 165 1.7 2.1 2.5 2.9
140 1.8 2.4 2.8 3.4 4.0 166 1.7 2.1 2.5 2.8
141 1.8 2.3 2.8 3.4 3.9 167 1.6 2.1 2.4 2.8
142 1.7 2.3 2.8 3.3 3.9 168 1.6 2.0 2.4 2.8
143 1.7 2.2 2.7 3.3 3.8 169 1.6 2.0 2.4 2.8
144 1.7 2.2 2.7 3.2 3.8 170 1.6 2.0 2.4 2.7
145 1.6 2.2 2.7 3.2 3.7
ที่มา : Astrand’s Acta Physiol. Scand. 49 (suppl. 169), 1960 by P-O. Astrand in Work Test with the Bicycle
Ergometer. Varberg, Sweden : Monark, 1965.
คา Age Factor ปรับแกปริมาณการใชออกซิเจนสูงสุดตามอายุ
อายุ Factor อายุ Factor อายุ Factor
15 = 1.10 27 = 0.974 39 = 0.838
16 = 1.09 28 = 0.961 40 = 0.830
17 = 1.08 29 = 0.948 41 = 0.820
18 = 1.07 30 = 0.935 42 = 0.810
19 = 1.06 31 = 0.922 43 = 0.800
20 = 1.05 32 = 0.909 44 = 0.790
21 = 1.04 33 = 0.896 45 = 0.780
22 = 1.03 34 = 0.883 46 = 0.774
23 = 1.02 35 = 0.870 47 = 0.768
24 = 1.01 36 = 0.862 48 = 0.762
25 = 1.00 37 = 0.854 49 = 0.756
26 = 0.987 38 = 0.846 50 = 0.750
คา Age Factor ปรับแกปริมาณการใชออกซิเจนสูงสุดตามอายุ (ตอ)
อายุ Factor อายุ Factor อายุ Factor
51 = 0.742 56 = 0.704 61 = 0.674
52 = 0.734 57 = 0.698 62 = 0.668
53 = 0.726 58 = 0.692 63 = 0.662
54 = 0.718 59 = 0.686 64 = 0.656
55 = 0.710 60 = 0.680 65 0.650
คามาตรฐานปริมาณการใชออกซิเจนสูงสุดของประชาชนไทย
(มิลลิลิตร/กิโลกรัม/นาที)
ระดับ ชาย อายุ (ป)
สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72
ดีมาก 55.5 51.6 43.3 37.4 33.9 30.7
ดี 50.6-55.4 47.1-51.5 39.4-43.2 34.1-37.3 30.7-33.8 27.9-30.6
ปานกลาง 40.7-50.5 38.0-47.0 31.5-39.3 27.4-34.0 24.2-30.6 22.2-27.8
ต่ํา 35.8-40.6 33.5-37.9 27.6-31.4 24.1-27.3 21.0-24.1 19.4-22.1
ต่ํามาก 35.7 33.4 27.5 24.0 20.9 19.3
ระดับ หญิง อายุ (ป)
สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72
ดีมาก 48.0 45.8 40.2 35.8 30.9 30.8
ดี 43.9-47.9 41.9-45.7 36.9-40.1 32.4-35.7 28.3-30.8 27.8-30.7
ปานกลาง 35.6-43.8 34.0-41.8 28.7-36.8 25.5-32.3 23.0-28.2 21.7-27.7
ต่ํา 31.5-35.5 30.1-33.9 24.9-28.6 22.1-25.4 20.4-22.9 18.7-21.6
ต่ํามาก 31.4 30.0 24.8 22.0 20.3 18.6
ที่มา : ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา. เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกายประชาชนไทย.
การกีฬาแหงประเทศไทย.2543
2. การทดสอบดวยการกาวขึ้นลงขั้นบันได (YMCA - 3 Minute Step test)
เครื่องมือที่ใชประกอบดวย มาสําหรับการกาวขึ้นลง สูง 12 นิ้ว เครื่องเคาะจังหวะ
(metronome) นาฬิกาจับเวลาเปนนาทีและวินาที และเครื่องชวยฟงเสียงหัวใจเตน โดยมีวิธีการ
ทดสอบ ดังนี้
2.1 ใหผูทดสอบยืนหางจากมาพอประมาณ กาวยกเทาซายหรือขวากอนวางบนมา นับ 1 แลวดึง
เทาหลังตามขึ้นมายืนบนมาเขาตรงนับ2 ดึงเทาแรกกาวถอยหลังลงวางบนพื้นนับ 3 และดึง
เทาหลังลงมายืนบนพื้นนับ 4 ครบ 1 รอบ ใหเขากับเสียงเคาะจังหวะของเครื่องเคาะจังหวะ
ซึ่งตั้งไว 24 รอบตอ 1 นาที (1 รอบ เคาะ 4 ครั้ง) เพื่อใหกาวขึ้นลง 24 รอบ ตอ 1 นาที
2.2 ผูทดสอบกาวขึ้นลงบนมาสูง 12 นิ้ว เปนเวลา 3 นาที กอนครบ 3 นาที อาจใหสัญญาณ โดย
การชวยนับ "ขึ้น 1 2 3 หยุด ลงนั่ง"
2.3 ใหผูทดสอบนั่งลงทันที เมื่อครบ 3 นาที และภายใน 5 วินาที ใหผูทําการทดสอบฟงและนับ
การเตนหัวใจดวยเครื่องชวยหูฟง เปนเวลาเต็ม 1 นาที อัตราการเตนของหัวใจ 1 นาทีนี้ ถือ
เปนอัตราการเตนหัวใจเมื่อสิ้นสุดการออกกําลังกาย ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงความ สามารถ
ของหัวใจในการปรับตัวคืนสูสภาวะปกติ
2.4 บันทึกคาหัวใจที่ไดและเปรียบเทียบกับคามาตรฐานจากตาราง
คามาตรฐานอัตราการเตนของหัวใจ (ครั้งตอนาที) ตามแบบ YMCA Step Test
ระดับ ชาย อายุ (ป)
สมรรถภาพ 18-25 26-35 36-45 46-55 56-65 >65 ป
ดีเยี่ยม 70-78 73-79 72-81 78-84 72-82 72-86
ดีมาก 82-88 83-88 86-94 89-96 89-97 89-95
ดี 91-97 91-97 98-102 98-103 98-101 97-102
ปานกลาง 101-104 101-106 105-111 109-115 105-111 104-113
พอใช 107-114 109-116 113-118 118-121 113-118 114-119
ต่ํา 118-128 119-128 120-128 124-130 122-128 122-126
ต่ํามาก 131-164 130-164 132-168 135-158 131-150 133-152
ระดับ หญิง อายุ (ป)
สมรรถภาพ 18-25 26-35 36-45 46-55 56-65 >65 ป
ดีเยี่ยม 72-83 72-88 74-87 76-83 74-92 73-86
ดีมาก 88-97 91-97 93-101 96-102 97-103 93-100
ดี 100-106 103-110 104-109 106-113 106-111 104-114
ปานกลาง 110-116 112-118 111-117 117-120 113-117 117-121
พอใช 118-124 121-127 120-127 121-126 119-127 123-127
ต่ํา 125-137 129-135 130-136 127-133 129-136 129-134
ต่ํามาก 142-155 141-154 143-152 138-152 142-151 136-151
ที่มา : Golding LA, Myers CR, Sinning WE, eds. Y's Way to Physical Fitness.
3rd ed. Champaign, IL. Human Kinetics, 1989.
3. การทดสอบดวยการวิ่ง/เดิน ระยะทาง 2.4 กิโลเมตร โดยมีวิธีการ ดังนี้
3.1 ใหผูทดสอบวิ่งหรือเดิน เปนระยะทาง 2.4 กิโลเมตรใหเร็วที่สุดเทาที่เปนไปได
3.2 จับเวลาที่ทําไดเปนนาทีและวินาที แลวนําไปเปรียบเทียบกับตารางตามกลุมอายุและเพศ
คามาตรฐานระยะเวลา (นาที : วินาที) ที่ใชในการวิ่ง/เดิน 2.4 ก.ม.
ระดับ ชาย อายุ (ป)
สมรรถภาพ 13-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60 ป
ดีเยี่ยม < 8:37 < 9:45 < 10:00 < 10:30 < 11:00 < 11:15
ดีมาก 8:37-9:40 9:45-10:45 10:00-11:00 10:30-11:30 11:00-12:30 11:15-13:59
ดี 9:41-10:48 10:46-12:00 11:01-12:30 11:31-13:00 12:31-14:30 14:00-16:15
ปานกลาง 10:49-12:10 12:01-14:00 12:31-14:44 13:01-15:35 14:31-17:00 16:16-19:00
ตํ่า 12:11-15:30 14:01-16:00 14:45-16:30 15:36-17:30 17:01-19:00 19:01-20:00
ตํ่ามาก >=15:31 >= 16:01 >= 16:31 >= 17:31 >= 19:01 >= 20:01
ระดับ หญิง อายุ (ป)
สมรรถภาพ 13-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60 ป
ดีเยี่ยม < 11:50 < 12:30 < 13:00 < 13:45 < 14:30 < 16:30
ดีมาก 11:50-12:29 12:30-13:30 13:00-14:30 13:45-15:55 14:30-16:30 16:30-17:30
ดี 12:30-14:30 13:31-15:54 14:31-16:30 15:56-17:30 16:31-19:00 17:31-19:30
ปานกลาง 14:31-16:54 15:55-18:30 16:31-19:00 17:31-19:30 19:01-20:00 19:31-20:30
ตํ่า 16:55-18:30 18:31-19:00 19:01-19:30 19:31-20:00 20:01-20:30 20:31-21:00
ตํ่ามาก >= 18:31 >=19:01 >= 19:31 >= 20:01 >= 20:31 >= 21:01
ที่มา : Cooper, K. The Aerobics Program for Total Well-Being. New York: M. Evans
and Co. อางใน Williams, MH. Lifetime Fitness and Wellness. 4th ed.
Madison, WI. Brown and Benchmark Publishers. 1996.
การวัดความจุปอดดวย สไปโรมิเตอร Spirometer
การวัดสมรรถภาพของระบบหายใจ โดยการประเมินความจุปอด (Lung or Vital Capacity)
สามารถทําไดดวยเครื่องมือ Spirometer ดังนี้
1. ตั้งระดับเข็มบนสเกลใหอยูที่ศูนย (0) ใหผูทดสอบยืนตัวตรงหนาเครื่อง จับหลอดเปาอยู
ระดับปาก หายใจเขาเต็มที่สุด และเปาลมเขาในหลอดใหมากที่สุดเทาที่จะทําได โดย
ไมใหตัวงอ หรือแขนบีบหนาอก) ทดสอบ 2 ครั้ง ใชคาที่มาก
2. ผลการทดสอบวัดเปนมิลลิลิตร นําผลที่ไดมาหารดวยน้ําหนักตัวผูทดสอบเปรียบเทียบ
กับ คามาตรฐาน
คามาตรฐานความจุปอด (มิลลิลิตร/กิโลกรัม ) ของประชาชนไทย
ระดับ ชาย อายุ (ป)
สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72
ดีมาก 61.9 60.3 57.2 53.2 47.6 43.3
ดี 57.7-61.8 56.1-60.2 52.5-57.1 48.1-52.2 43.4-47.5 39.2-43.2
ปานกลาง 49.2-57.6 47.6-56.0 43.0-52.4 39.6-48.0 34.9-43.3 30.9-39.1
ต่ํา 45.0-49.1 43.4-47.5 38.3-42.9 35.4-39.5 30.7-34.8 26.8-30.8
ต่ํามาก 44.9 43.3 38.2 35.3 30.6 26.7
ระดับ หญิง อายุ(ป)
สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72
ดีมาก 49.3 49.0 45.1 42.1 37.8 35.2
ดี 45.7-49.2 45.3-48.9 41.3-45.0 38.1-42.0 34.4-37.7 31.2-35.1
ปานกลาง 38.4-45.6 37.8-45.2 33.8-41.2 30.0-38.0 27.5-34.3 23.1-31.1
ต่ํา 34.8-38.3 34.1-37.7 30.1-33.7 26.0-29.9 24.1-27.4 19.1-23.0
ต่ํามาก 34.7 34.0 30.0 25.9 24.0 19.0
ที่มา : ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา. เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย.
การกีฬาแหงประเทศไทย. 2543.
การทดสอบการออนตัว (Flexibility)
ทําการทดสอบโดยวิธี Sit and reach test คือ การนั่งงอตัวไปขางหนา โดยมีเครื่องมือ
ประกอบดวย มาวัดความออนตัว 1 ตัว มีที่ยันเทาและมาตรวัดระยะทางเปน +30 ซม. หรือ +35 ซม.
และ -30 ซม. จุด "0" อยูตรงที่ยันเทา มีเสื่อหรือพรมหรือกระดานสําหรับรองพื้นนั่ง วิธีการทดสอบ
ทําดังนี้
1. ใหผูทดสอบอบอุนรางกายสักครูหนึ่ง แลวใหถอดรองเทาและนั่งเหยียดขาตรง สอดเขาใตมา
วัด ใหฝาเทาตั้งฉากกับพื้น และจรดแนบกับที่ยันเทาของมาวัด และเทาชิดกัน
2. เหยียดแขนตรงไปขางหนาแลวกมตัวไปขางหนา มือวางอยูบนมาวัดคอยๆ กมตัวลงใหมือ
เคลื่อนดันไมบรรทัดอยางนุมนวลไปบนมาวัดใหไกลที่สุด
3. หามโยกตัวหรืองอตัวแรง ๆ กระแทกไมบรรทัด ขณะกมตัว เขาตองตึง
4. วัดระยะทางเปนเซนติเมตรจากจุด "0" ถึงปลายนิ้วมือ ถาปลายนิ้วมือเหยียดเลย ปลายเทาหรือ
จุดศูนย บันทึกคาเปนบวก ถาไมถึงปลายเทาคาเปนลบ ทําการทดสอบ 3 ครั้ง ใชคาที่ดีที่สุด
คามาตรฐานการนั่งงอตัวไปขางหนา (เซนติเมตร) ของประชาชนไทย
ระดับ ชาย อายุ (ป)
สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72
ดีมาก 21 20 19 17 17 14
ดี 17-20 17-19 15-18 13-16 13-16 10-13
ปานกลาง 18-16 9-16 6-14 5-12 4-12 2-9
ต่ํา 4-7 6-8 2-5 1-4 0-3 (-2)-1
ต่ํามาก 3 5 1 0 (-1) (-3)
ระดับ หญิง อายุ (ป)
สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72
ดีมาก 19 20 21 20 18 18
ดี 16-18 17-19 17-20 16-19 15-17 15-17
ปานกลาง 9-15 10-16 8-16 8-15 8-14 8-14
ต่ํา 6-8 7-9 4-7 4-7 5-7 5-7
ต่ํามาก 5 6 3 3 4 4
ที่มา : ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา. เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย.
การกีฬาแหงประเทศไทย. 2543.
การทดสอบแรงบีบมือ
การทดสอบความแข็งแรงของกลามเนื้อ โดยใชเครื่องมือ Hand grip dynamometer วัดแรง
บีบของมือ ทําการทดสอบดังนี้
1. จัดระดับที่จับของเครื่องมือใหเหมาะสมกับผูทดสอบ ใชมือขางที่ถนัด ใหผูทดสอบ
ปลอยแขนตามสบายขางลําตัว มือกําที่จับ หามแนบลําตัว
2. ใหออกแรงกํามือใหแรงที่สุด ทําการทดสอบ 2 ครั้ง ใชคาที่มาก การทดสอบที่วัดได
เปนกิโลกรัม นําผลที่ไดมาหารดวยน้ําหนักตัวของผูทดสอบ
คามาตรฐานแรงบีบมือตอน้ําหนักตัว (กก./น.น.ตัว) ของคนไทย
ระดับ ชาย อายุ (ป)
สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72
ดีมาก 0.86 0.84 0.81 0.77 0.72 0.65
ดี 0.80-0.85 0.79-0.83 0.76-0.80 0.72-0.76 0.67-0.71 0.60-0.64
ปานกลาง 0.67-0.79 0.68-0.78 0.65-0.75 0.61-0.71 0.56-0.66 0.49-0.59
ต่ํา 0.61-0.66 0.63-0.67 0.60-0.64 0.56-0.60 0.51-0.55 0.44-0.48
ต่ํามาก 0.60 0.62 0.59 0.55 0.50 0.43
ระดับ หญิง อายุ(ป)
สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72
ดีมาก 0.65 0.66 0.61 0.57 0.52 0.49
ดี 0.60-0.64 0.61-0.65 0.57-0.60 0.53-0.56 0.48-0.51 0.45-0.48
ปานกลาง 0.49-0.59 0.50-0.60 0.48-0.56 0.44-0.52 0.39-0.47 0.36-0.44
ต่ํา 0.44-0.48 0.45-0.49 0.44-0.47 0.40-0.43 0.35-0.38 0.32-0.35
ต่ํามาก 0.43 0.44 0.43 0.39 0.34 0.31
ที่มา : ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา. เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย.
การกีฬาแหงประเทศไทย. 2543.
การทดสอบความอดทนของกลามเนื้อ (Muscular endurance) ดวยการวิดพื้น
ความตอเนื่องหรือการทํางานซ้ําๆของกลามเนื้อกลุมใดกลุมหนึ่ง แสดงถึงความ
สมรรถภาพดานความอดทนของกลามเนื้อ การทดสอบที่ไมตองใชเครื่องมือใดๆและทําไดงาย คือ
การดันพื้นหรือวิดพื้น มีวิธีการดังนี้
1. ใหผูทําการทดสอบ นอนคว่ําตัวลงกับพื้น วางฝามือสองขางบนพื้นหางกันประมาณ
ชวงไหล ชายใหปลายเทาตั้งบนพื้นไมใหหัวเขาแตะพื้น สวนหญิงใหหัวเขาแตะพื้น
เหยียดแขนสองขางดันพื้นจนแขนตรง ใหถายน้ําหนักตัวบนแขน ฝามือ และปลายเทา
ในชาย หรือหัวเขาในหญิง
2. งอศอกหยอนลําตัวลงจนกระทั่งหนาอกแตะพื้น พยายามรักษาหลังใหตรงตลอดเวลา
และทองไมสัมผัสพื้น
3. เหยียดศอกดันตัวกลับสูตําแหนงเดิม นับเปน 1 ครั้ง
4. ใหทําซ้ําๆกันไปโดยไมหยุดพัก จนถึงจุดที่ทําไมไหว
5. บันทึกจํานวนครั้งที่ทําได นําไปเปรียบเทียบกันเกณฑมาตรฐานตามอายุและเพศ
คามาตรฐานดันพื้นหรือวิดพื้น (จํานวนครั้ง)
ชาย อายุระดับ
สมรรถภาพ 20-29 30-39 40-49 50-59 60-69
ดี >= 30 >= 24 >= 19 >= 14 >= 11
ปานกลาง 24-29 19-23 13-18 10-13 9-10
คอนขางต่ํา 18-23 14-18 10-12 7-9 6-7
ต่ํา <= 17 <= 13 <= 9 <= 6 <= 5
หญิง อายุระดับ
สมรรถภาพ 20-29 30-39 40-49 50-59 60-69
ดี >= 22 >= 21 >= 18 >= 13 >= 12
ปานกลาง 16-21 14-20 12-17 9-12 6-11
คอนขางต่ํา 11-15 10-13 7-11 3-8 2-5
ต่ํา <= 10 <= 9 <= 6 <= 2 <= 1
ที่มา : ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา. เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย.
การกีฬาแหงประเทศไทย. 2543.

More Related Content

What's hot

การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
พัน พัน
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
593non
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
Dashodragon KaoKaen
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
pueniiz
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
da priyada
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
Weerawan Ueng-aram
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
Patamaporn Seajoho
 

What's hot (20)

การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
Mna thai
Mna thaiMna thai
Mna thai
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
22
2222
22
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 

Viewers also liked

สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกาย
captain
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
Nun อันทวีสิน
 
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
kkkkon
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18
kkkkon
 
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์สมรรถภาพทางกายเกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
kkkkon
 
แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6
kkkkon
 
ประเมินสมรรถภาพทางกายของ
ประเมินสมรรถภาพทางกายของประเมินสมรรถภาพทางกายของ
ประเมินสมรรถภาพทางกายของ
guest7c5fea
 
การฝึกวิ่ง
การฝึกวิ่งการฝึกวิ่ง
การฝึกวิ่ง
Ch Khankluay
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
sonsukda
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
Art Nan
 
ทักษะการวิ่งกระโดดไกล
ทักษะการวิ่งกระโดดไกลทักษะการวิ่งกระโดดไกล
ทักษะการวิ่งกระโดดไกล
Jirapat Jintanakul
 

Viewers also liked (16)

เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนทั่วไป 19-59 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนทั่วไป 19-59 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนทั่วไป 19-59 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนทั่วไป 19-59 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกาย
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
 
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18
 
การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3
การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3
การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3
 
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์สมรรถภาพทางกายเกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
 
แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6
 
ประเมินสมรรถภาพทางกายของ
ประเมินสมรรถภาพทางกายของประเมินสมรรถภาพทางกายของ
ประเมินสมรรถภาพทางกายของ
 
การฝึกวิ่ง
การฝึกวิ่งการฝึกวิ่ง
การฝึกวิ่ง
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับผู้สูงอายุ 60-89 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับผู้สูงอายุ 60-89 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับผู้สูงอายุ 60-89 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับผู้สูงอายุ 60-89 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
E5
E5E5
E5
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
 
ทักษะการวิ่งกระโดดไกล
ทักษะการวิ่งกระโดดไกลทักษะการวิ่งกระโดดไกล
ทักษะการวิ่งกระโดดไกล
 

Similar to Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)

ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
sonsukda
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
taem
 
อ.ไก่น้อย
อ.ไก่น้อยอ.ไก่น้อย
อ.ไก่น้อย
ts02216345
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
Phet103
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
teeradejmwk
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
supap6259
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
Bunsita Baisang
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
Bunsita Baisang
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
nidkybynew
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
Phet103
 

Similar to Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ) (20)

ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt
2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt
2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt
 
อ.ไก่น้อย
อ.ไก่น้อยอ.ไก่น้อย
อ.ไก่น้อย
 
_____________-1.pdf
_____________-1.pdf_____________-1.pdf
_____________-1.pdf
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
ความสำคัญของการออกกำลังกาย
ความสำคัญของการออกกำลังกายความสำคัญของการออกกำลังกาย
ความสำคัญของการออกกำลังกาย
 
krittipong
krittipongkrittipong
krittipong
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 

Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)

  • 1. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ความหมายของสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย (Physical Performance or Physical Fitness) หมายถึง ความสามารถ ของบุคคลในการควบคุมและสั่งการใหรางกายปฏิบัติภารกิจตางๆในชีวิตประจําวันและปฏิบัติงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ มีความคลองแคลววองไว กระฉับกระเฉง ทนทานโดยไมแสดงอาการ เหน็ดเหนื่อย เมื่อยลา หรือออนเพลียใหปรากฏและสามารถฟนตัวสูสภาพปกติไดในเวลาอันรวดเร็ว การมีสมรรถภาพทางกายที่ดีจะมีผลตอการมีสุขภาพดีหางไกลจากโรคตางๆ เชน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง ลดไขมันในเลือด ชวยระบบไหลเวียนของเลือด การหายใจ การยอยอาหาร ชวย ควบคุมน้ําหนัก ทําใหรางกายมีสัดสวนดี กลามเนื้อแข็งแรง ขอตอเคลื่อนไหวคลองตัว และเมื่อ รวมกับการมีสุขภาพจิตที่ดี การมีคานิยมดานคุณธรรม จริยธรรมและศีลธรรมอันดีงาม จะสงผลให บุคคลนั้นเปนประชากรที่มีคุณภาพ เปนคนดีของครอบครัวและสังคม มีประสิทธิภาพในการทํางาน เพิ่มผลผลิต เพิ่มรายไดใหกับครอบครัวและสังคมอีกดวย องคประกอบของสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย มีองคประกอบ 2 กลุม ไดแก 1. สมรรถภาพทางกายขั้นพื้นฐาน สําหรับบุคคลทุกๆคน มี 5 องคประกอบยอย 2. สมรรถภาพทางกายขั้นพิเศษ (Special Physical Fitness) หรือความสามารถทางกลไก (Motor Ability) สําหรับการพัฒนานักกีฬา มี 7 องคประกอบ องคประกอบของสมรรถภาพทางกายขั้นพื้นฐาน 1. ศักยภาพหรือความสามารถของระบบหายใจและระบบไหลเวียนเลือด(Circulo - respiratory Capacity) หรือ ความอดทนของระบบไหลเวียนเลือด (Circulo-respiratory or Cardiovascular Endurance or Aerobic Capacity) หมายถึง คุณสมบัติหรือความสามารถอดทน ยืนหยัดตอการปฏิบัติกิจกรรมหนักไดติดตอกันเปนเวลานานๆ เชน วิ่งระยะไกล วายน้ํา ขี่จักรยาน เลนฟุตบอล เตนแอโรบิก ฯลฯ สวนใหญเปนกิจกรรมที่ใชกลามเนื้อมัดใหญ 2. ความอดทนของกลามเนื้อ (Muscular Endurance) หมายถึงคุณสมบัติที่บุคคลสามารถ เพียรพยายามทํางานในกิจกรรมที่ตองใชกลามเนื้อมัดหนึ่งหรือหลายมัดในกลุมเดียวกันอยาง ตอเนื่อง สม่ําเสมอ โดยไมหยุดยั้ง เปนระยะเวลานานๆ เชน ดึงขอ ดันพื้น (วิดพื้น) ลุกนั่ง (Sit up) 3. ความแข็งแรงของกลามเนื้อ (Muscular Strength) หมายถึง ความสามารถในการออกแรง ยก ดัน ดึง หรือบีบวัตถุที่มีแรงตานใหวัตถุนั้นสามารถเคลื่อนที่ไปไดสูงสุดเพียงครั้งเดียว มีอยู 2 ลักษณะดังตอไปนี้
  • 2. 3.1 ความแข็งแรงแบบอยูกับที่ (Isometric or Static Strength) หมายถึง ลักษณะของ การใชแรงจํานวนสูงสุดในครั้งเดียวที่บุคคลสามารถกระทําตอแรงตานทานชนิดอยูกับที่ในขณะที่ กลามเนื้อมีการหดเกร็ง โดยไมมีการเคลื่อนไหวรางกาย เชน การดันสิ่งของ หิ้วกระปองน้ํา 3.2 ความแข็งแรงแบบไมอยูกับที่ (Isotonic or Dynamic Strength) หมายถึง จํานวนความ ตานทานที่บุคคลสามารถกระทําใหผานพนไปไดระหวางการใชแรงในขณะมีการเคลื่อนที่อยางเต็ม แรงของขอตอเฉพาะแหงหรือขอตอหลาย ๆ แหงของรางกายรวมอยูดวยเชน การงอแขนยกน้ําหนัก 4. ความยืดหยุนหรือความออนตัว (Flexibility) หมายถึง ศักยภาพหรือความสามารถ พื้นฐานของขอตอที่เคลื่อนไหวไดตามธรรมชาติ เชน พับ งอ บิด ดัดตัว แอนตัว เปนตน ความ ยืดหยุนจึงคอนขางเจาะจงลงที่ขอตอซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะของกลามเนื้อและเอ็น (Musculature and Connective Tissue) รอบๆขอตอนั้นมากกวาโครงสรางของกระดูกขอตอเอง (ยกเวนกรณีที่เปนโรค กระดูกเสื่อมหรือไมสามารถทํางานได) การยืดหยุนหรือออนตัวที่มากกวาปกติ คือความสามารถ พิเศษที่เกิดจากการฝกฝนของคนแตละคน เชน ทาทางตางๆของนักกายกรรมหรือนักยิมนาสติก ซึ่งเปนการกระทําที่คนปกติทําไมได 5. สวนประกอบในรางกาย (Body Composition) หมายถึง เนื้อเยื่อและของเหลวที่ประกอบ ขึ้นเปนรางกาย ซึ่งมีความหนาแนน หยาบหรือนุมแตกตางกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งไขมันสวนเกินที่ เก็บเอาไวในรางกาย มีความเกี่ยวของกับสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย การวัดสวนประกอบใน รางกายจึงวัดออกมาเปนเปอรเซ็นตไขมันในรางกาย (% fat) องคประกอบของความสามารถทางกลไก (Motor Ability) หรือสมรรถภาพทางกายขั้นพิเศษ (Special Physical Fitness) ความสามารถทางกลไก หมายถึง ความสามารถในการทํางานเฉพาะอยางของกลไกรางกาย ซึ่งสามารถตรวจสอบและทดสอบได โดยมีองคประกอบและความหมายดังนี้ 1. การทรงตัว (Balance) หมายถึง ความสามารถในการรักษาสมดุลของรางกายเอาไวไดทั้ง ในขณะอยูกับที่ เชน การยืนบนขาเดียว และขณะเคลื่อนที่ดวยรูปแบบและความเร็วตาง ๆ เชน การ เลี้ยงลูกบาสเกตบอลและวิ่งไปดวยโดยไมลมหรือซวนเซการเดินบนรางรถไฟ เปนตน 2. พลังหรือกําลัง (Power) หมายถึง ความตองการที่จะเคลื่อนไหวรางกายอยางทันทีทันใด เชน กระโดดสูง พุงแหลน ทุมน้ําหนัก ขวางลูกเบสบอล การวิ่งเร็วเต็มที่ นั่นหมายถึงวา รางกายตอง ใชแรงเปนจํานวนมากในระยะเวลาสั้น ๆ และสั้นที่สุดเทาที่จะสั้นได โดยใหเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด 3. ความคลองตัว (Agility) หมายถึง ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางอยางรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ ซึ่งควบคุมไดในขณะเคลื่อนไหวดวยการใชแรงเต็มที่ ใหมากที่สุดเทาที่จะมากได เชน การวิ่งเก็บของ การวิ่งซิกแซ็กวิ่งกลับตัวหรือหลบหลีกไดคลองแคลว
  • 3. 4. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนไหว รางกายทั้งหมดอยาง รวดเร็วจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เชน การวิ่ง 100 เมตร 5. เวลาเคลื่อนไหว (Movement Time) มีความหมายตางจากความเร็ว เพราะหมายรวมถึง การเคลื่อนที่ดวยสวนใดสวนหนึ่งของรางกายจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เชน การวัดเวลา เคลื่อนไหวของแขนและไหลโดยการขวางลูกเบสบอลใหไกลที่สุด 6. เวลาปฏิกิริยา (Reaction Time) หมายถึง ระยะเวลาที่จําเปนตองใชเคลื่อนไหวเพื่อการ ตอบสนองตอสิ่งเราเฉพาะอยาง ถาเวลาเคลื่อนไหวบวกกับเวลาปฏิกิริยาจะกลายเปนเวลา ตอบสนอง (Response Time) 7. การทํางานประสานสัมพันธ (Coordination) หมายถึง การสั่งการของระบบประสาทและ ระบบกลามเนื้อมีความสัมพันธกันดี สามารถปฏิบัติตัวหรือเคลื่อนไหวไดถูกตองตามที่จิตสั่ง เชน การตักอาหารเขาปากไดถูกตอง การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness Test) มีจุดมุงหมายที่จะประเมินสมรรถภาพรางกายและสุขภาพของบุคคลทั่วไปหรือนักกีฬา วามีจุดออนและจุดแข็งอะไรบาง เพื่อนําไปสูการวางแผนปรับปรุงขอบกพรองตางๆ สงเสริมการ ฝกฝนของแตละบุคคลใหมีสมรรถภาพทางกายถึงจุดสูงสุดและเหมาะสมกับการปฏิบัติกิจกรรม หรือการเลนกีฬาแตละชนิด วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย วิธีการทดสอบมีหลายแบบ มีเครื่องมือหลากหลายชนิด ผูทําการทดสอบจะตองรูจักเลือก วิธีการทดสอบและเครื่องมือที่ดี มีความเที่ยงตรง ใหผลเชื่อถือได มีความเปนมาตรฐาน (เปนสากล) ตองศึกษาเรียนรูวิธีการ ขั้นตอนการทดสอบ การเตรียมสถานที่ อุปกรณ และแบบบันทึกผลการ ทดสอบใหเขาใจอยางทองแทและฝกฝนจนชํานาญ อธิบายรายละเอียดใหผูรับการทดสอบทราบ ประเมินความพรอมของผูรับการทดสอบวามีขอหามหรือไม และเมื่อทดสอบแลวตองรีบทําการ วิเคราะหแจงผลใหผูรับการทดสอบทราบโดยเร็ว พรอมทั้งสามารถใหคําแนะนําและชวยวาง แผนการพัฒนาสมรรถภาพใหแตละบุคคลได การทดสอบสมรรถภาพทางกายวิธีที่นิยม มีดังนี้ 1. การตรวจรางกายโดยทั่วไป เพื่อใหทราบขอบกพรองทางสุขภาพในเบื้องตน 2. การวัดสัดสวนรางกาย (Anthropometry) เพื่อประเมินรูปราง ขนาด ภาวะโภชนาการ และสวนประกอบในรางกาย (รอยละของไขมัน) เชน ความสัมพันธระหวางน้ําหนักกับสวนสูง คํานวณเปนคาดัชนีมวลกาย (Body mass index, BMI) สัดสวนระหวางเอวกับสะโพก (Waist to hip ratio, WHR) การวัดเสนรอบเอว (Waist Circumference) การวัดความหนาของชั้นไขมันใตผิวหนัง
  • 4. ดวย Skin fold caliper 4 ตําแหนง คือ แขนสวนบนดานหนาและดานหลัง สีขางเหนือกระดูกเชิง กราน และใตกระดูกสะบัก (Triceps, Biceps, Supra-iliac และ Sub-scapular) 3. สมรรถภาพของหัวใจและปอด เปนการประเมินผลการทํางานของระบบหายใจรวมกับ ระบบหัวใจและไหลเวียนเลือดในการนําเอาออกซิเจนไปเลี้ยงสวนตางๆของรางกายวามี ประสิทธิภาพมากนอยเพียงใด ประกอบดวย 3.1 การวัดสมรรถภาพระบบไหลเวียนเลือด ไดแก การประเมินในสวนของสัญญาณชีพ (Vital Sign: ชีพจรและความดันโลหิต) และการวัดขนาดหัวใจดวยเอกซเรย โดยปกติคนที่มี สมรรถภาพทางกายดีจะมีชีพจรขณะพักต่ํากวาผูที่มีสมรรถภาพทางกายไมคอยดี 3.2 การวัดความอดทน (Aerobic Capacity) โดยการประเมินเพื่อหาประสิทธิภาพของการ ใชออกซิเจนสูงสุด (VO2 Max.) ในขณะออกกําลังกาย สวนนี้คือสวนของการวัดสมรรถภาพของ หัวใจและปอดโดยตรง ในการทดสอบจะแบงเปน 2 แบบ คือ • การทดสอบในหอง ไดแก การวัดดวยจักรยานวัดงาน (Bicycle ergometer) 6 นาที การใชลูกล (Treadmill) หรือการกาวขึ้น-ลงขั้นบันได 3 นาที (3-Minute step test) อานคาอัตราเตน ของหัวใจ นําไปคํานวณหาคา VO2 Max. ดวยตารางมาตรฐาน ปรับตัวคูณดวยอายุ และอัตราการ จับออกซิเจนสูงสุด ( Maximum Oxygen uptake) วิธีดังกลาวนี้จําเปนตองมีเครื่องมือจักรยานวัดงาน ลูกล และขั้นบันได ตองเรียนรูวิธีการใชเครื่องมือและตารางคามาตรฐานใหชํานาญ จึงไมเหมาะที่ จะใชกับคนเปนกลุมใหญ • การทดสอบในสนาม ดวยการวิ่งหรือเดินใหเร็วที่สุดในระยะทางหรือเวลาที่ กําหนด แลวจับเวลาหรือระยะทาง และชีพจร แลวนําคาที่ไดไปเปดตารางมาตรฐาน เชน การ ทดสอบดวยการเดิน-วิ่ง 2.4 กิโลเมตร 3.3 การวัดสมรรถภาพของระบบหายใจ โดยการประเมินความจุปอด (Lung or Vital Capacity) ดวยเครื่องมือไปโรมิเตอร (Spiro meter) หรือ สไปโรเปท (Spiropet) ทํา 2 ครั้งหาคาเฉลี่ย จากปริมาตรของอากาศที่เปาออกมาตอน้ําหนักตัว เมื่อนําไปเปรียบเทียบกับตารางมาตรฐาน จะทํา ใหทราบ สมรรถภาพของปอดวาอยูในเกณฑใด 4. ความออนตัว (Flexibility) เปนการประเมินความยืดหยุนของขอตอ รวมทั้งกลามเนื้อ และเอ็นที่อยูรอบๆ โดยใชเครื่องมือวัดความออนตัว (Flexibilimeter) ที่สามารถอานคาบวกและลบ ได โดยวิธีนั่งงอตัวไปขางหนา พรอมกับเหยียดแขนทั้ง 2 ขางตรงไปขางหนาใหไกลที่สุด (Sit and reach test) อีกวิธีหนึ่งคือ การแตะมือดานหลัง (Shoulder girdle flexibility test) ผูที่มีความออนตัว นอย จะมีโอกาสบาดเจ็บจากการทํางานหรือออกกําลังกายสูงกวาผูที่มีความออนตัวดี 5. ความแข็งแรงและความอดทนของกลามเนื้อ(Muscular Fitness & Endurance) ประกอบดวยการวัดความแข็งแรงของกลามเนื้อมือ แขน หลังและขา ดวยเครื่องมือวัด แรง เชน Hand grip dynamometer การวัดกําลังของกลามเนื้อขาโดยการยืนกระโดดไกลหรือยืน
  • 5. กระโดดสูง การวัดความอดทนของกลามเนื้อดวยการดึงขอ (แขน) ลุกนั่ง (ทอง) ยืนกระโดดสูงซ้ําๆ (เขา) การดันพื้น (Push-up แขนและหนาอก) วัดความคลองตัวดวยการวิ่งกลับตัว วัดความเร็วดวย การวิ่ง 50 เมตร เปนตน ขอปฏิบัติสําหรับผูเขารับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1. กอนการทดสอบ พักผอนใหเพียงพอ งดออกกําลังกายอยางหนักอยางนอย 24 ชั่วโมง รับประทานอาหารประจําวันตามปกติ หลีกเลียงการดื่มสุรา ไมใชความคิดหนักและงดกินยาที่ออก ฤทธิ์นาน 2. วันที่ทําการทดสอบ สวมเครื่องแตงกายใหเหมาะสม รับประทานอาหารหนักกอนการ ทดสอบไมนอยกวา 2 ชั่วโมง ไมกินยาหรือสิ่งกระตุนใดๆ เชน ชา กาแฟ และบุหรี่ 3. ในระหวางการทดสอบ ตั้งใจทดสอบอยางเต็มความสามารถ แตไมฝนถารูสึกไมสบาย เชน เหนื่อยหายใจไมทัน เจ็บหนาอก ใจสั่น คลื่นไส ฯลฯ ใหรีบแจงเจาหนาที่ทันที วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายอยางงาย อัตราการเตนของหัวใจขณะพัก (Resting Heart Rate) การประเมินสมรรถภาพของหัวใจวิธีหนึ่ง คือ การตรวจอัตราการเตนของหัวใจขณะพัก ทํา ไดโดยวิธีการดังนี้ 1. ใหผูรับการตรวจนั่งพักประมาณ 5 - 10 นาที 2. ใชปลายนิ่วชี้และนิ้วกลางของมือขางที่ถนัด คลําชีพจรที่ขอมือดานหัวแมมือ หรือที่เสน เลือดใหญบริเวณลําคอ หรือโดยการใชเครื่องชวยฟงของบุคลากรทางการแพทยฟงที่หัวใจ 3. นับจํานวนครั้งการเตนของหัวใจตอนาที 4. นําไปเปรียบเทียบกับตารางคามาตรฐานของชายหรือหญิง คามาตรฐานอัตราการเตนของหัวใจขณะพัก (ครั้งตอนาที) ชาย อายุ 18 -25 26 -35 36 -45 46 - 55 56 -65 65+ นักกีฬา 49-55 49-54 50-56 50-57 51-56 50-55 ดีเยี่ยม 56-61 55-61 57-62 58-63 57-61 56-61 ดี 62-65 62-65 63-66 64-67 62-67 62-65 ดีกวาปกติ 66-69 66-70 67-70 68-71 68-71 66-69 ปกติ 70-73 71-74 71-75 72-76 72-75 70-73 ต่ํากวาปกติ 74-81 75-81 76-82 77-83 76-81 74-79 ต่ํา 82+ 82+ 83+ 84+ 82+ 80+
  • 6. หญิง อายุ 18 -25 26 -35 36 -45 46 - 55 56 -65 65+ นักกีฬา 54-60 54-59 54-59 54-60 54-59 54-59 ดีเยี่ยม 61-65 60-64 60-64 61-65 60-64 60-64 ดี 66-69 65-68 65-69 66-69 65-68 65-68 ดีกวาปกติ 70-73 69-72 70-73 70-73 69-73 69-72 ปกติ 74-78 73-76 74-78 74-77 74-77 73-76 ต่ํากวาปกติ 79-84 77-82 79-84 78-83 78-83 77-84 ต่ํา 85+ 83+ 85+ 84+ 84+ 84+ ที่มา: http://www.netfit.co.uk/fitness/test/resting-heart-rate.htm ความดันโลหิต (Blood pressure) ใชเครื่องมือวัดความดันโลหิตชนิดปรอทหรือดิจิตอลก็ได วัดคาความดันโลหิตขณะที่หัวใจ บีบตัว(Systolic)เปนคาบนและขณะหัวใจคลายตัว(Diastolic)เปนคาลาง คามาตรฐานมีดังนี้ คามาตรฐานความดันโลหิตในผูใหญอายุ 18 ปขึ้นไป Systolic BP (ม.ม.ปรอท) Diastolic BP (ม.ม.ปรอท) ความหมาย หมายเหตุ < 120 < 80 ดี เหมาะสม 120-129 80-84 ปกติ 130-139 85-89 ปกติคอนไปทางสูง 140-159 90-99 สูงเล็กนอย (ระดับ 1) 160-179 100-109 สูงปานกลาง (ระดับ 2) >= 180 >= 110 สูงมาก (ระดับ 3) คา Systolic และ Diastolic นั้น คาใดมี ความรุนแรงกวา ใหใช คานั้นเปนเกณฑ ที่มา: American College of Sports Medicine. ACSM’s Guideline for Exercise Testing and Prescription. 6th ed. Philadelphia. Lippincott Williams and Wkilins: 2000. การวัดความหนาของชั้นไขมันใตผิวหนัง เครื่องมือที่ใช คือ Skin fold caliper วัดที่ 4 ตําแหนง ไดแก แขนสวนบนดานหนาและ ดานหลัง สีขางเหนือกระดูกเชิงกราน และใตกระดูกสะบัก (Triceps, Biceps, Supra-iliac และ Sub- scapular) โดยวัดที่ดานขวาของรางกายทั้งหมด(เนื่องจากคนสวนใหญถนัดขวาและสะดวกในการ วัด) ผูวัดใชหัวแมมือและนิ้วชี้ของมือซายจับชั้นไขมันใตผิวหนังบีบเบาๆเขาหากันโดยไมใหมี
  • 7. กลามเนื้อติดมา และใหนิ้วทั้งสองอยูหางกันประมาณ 2 – 3 ซม ในขณะเดียวกันใชมือขวาจับ เครื่องมือ Skin fold caliper วัดความหนาของชั้นไขมัน โดยใหปลายของเครื่องมืออยูหางนิ้วมือซาย ประมาณ 1 ซม ปลอยใหเครื่องมือกดบนผิวหนังประมาณ 2 วินาทีแลวอานผล บันทึกความหนา ทั้ง 4 จุดเปนคามิลลิเมตร นํามารวมกันแลวหาคารอยละของไขมันในรางกาย (% Fat) ตามอายุและ เพศ โดยเทียบผลจากตารางตอไปนี้ Triceps Biceps Sub-scapular Supra-iliac ตารางแสดงคาเปอรเซ็นตไขมันของรางกายจากการวัด 4 จุด % ไขมันเพศชายจําแนกตามชวงอายุ (ป) % ไขมันเพศหญิงจําแนกตามชวงอายุ (ป)ผลรวมของ ไขมัน 4 จุด (ม.ม.) 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป 15 5.0 4.6 9.1 8.5 8.4 10.4 10.2 13.5 16.4 17.8 16 5.7 5.4 9.7 9.3 9.3 11.2 11.1 14.3 17.2 18.6 17 6.4 6.1 10.4 10.1 10.2 12.0 11.9 15.0 17.9 19.4 18 7.1 6.7 10.9 10.8 11.0 12.7 12.7 15.7 18.5 20.1 19 7.7 7.4 11.5 11.5 11.8 13.4 13.4 16.3 19.2 20.8 20 8.3 8.0 12.0 12.2 12.6 14.1 14.1 16.9 19.8 21.4 21 8.9 8.5 12.5 12.9 13.3 14.7 14.7 17.5 20.4 22.1 22 9.4 9.1 13.0 13.5 14.0 15.3 15.4 18.1 20.9 22.6 23 9.9 9.6 13.4 14.1 14.6 15.8 16.0 18.6 21.4 23.2 24 10.4 10.1 13.9 14.6 15.2 16.4 16.6 19.2 22.0 23.7 25 10.9 10.6 14.3 15.2 15.8 16.9 17.1 19.7 22.4 24.3 26 11.4 11.0 14.7 15.7 16.4 17.4 17.7 20.1 22.9 24.8 27 11.8 11.5 15.1 16.2 17.0 17.9 18.2 20.6 23.4 25.2 28 12.3 11.9 15.5 16.7 17.5 18.4 18.7 21.1 23.8 25.7 29 12.7 12.3 15.8 17.1 18.1 18.9 19.2 21.5 24.2 26.2 30 13.1 12.7 16.2 17.6 18.6 19.3 19.6 21.9 24.6 26.6 31 13.5 13.1 16.5 18.0 19.1 19.7 20.1 22.3 25.0 27.0 32 13.8 13.5 16.8 18.5 19.5 20.2 20.5 22.7 25.4 27.4
  • 8. 33 14.2 13.9 17.2 18.9 20.0 20.6 21.0 23.1 25.8 27.8 ตารางแสดงคาเปอรเซ็นตไขมันของรางกายจากการวัด 4 จุด(ตอ) % ไขมันเพศชายจําแนกตามชวงอายุ (ป) % ไขมันเพศหญิงจําแนกตามชวงอายุ (ป)ผลรวมของ ไขมัน 4 จุด (ม.ม.) 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป 34 14.6 14.2 17.5 19.3 20.4 21.0 21.4 23.5 26.2 28.2 35 14.9 14.6 17.8 19.7 20.9 21.3 21.8 23.8 26.5 28.6 36 15.2 14.9 18.1 20.1 21.3 21.7 22.2 24.2 26.9 28.9 37 15.6 15.2 18.4 20.4 21.7 22.1 22.6 24.5 27.2 29.3 38 15.9 15.6 18.6 20.8 22.1 22.4 22.9 24.8 27.5 29.6 39 16.2 15.9 18.9 21.1 22.5 22.8 23.3 25.2 27.8 30.0 40 16.5 16.2 19.2 21.5 22.9 23.1 23.7 25.5 28.1 30.3 41 16.8 16.5 19.4 21.8 23.3 23.4 24.0 25.8 28.4 30.6 42 17.1 16.8 19.7 22.2 23.7 23.8 24.4 26.1 28.7 31.0 43 17.4 17.0 19.9 22.5 24.0 24.1 24.7 26.4 29.0 31.3 44 17.7 17.3 20.2 22.8 24.4 24.4 25.0 26.7 29.3 31.6 45 17.9 17.6 20.4 23.1 24.7 24.7 25.3 27.0 29.6 31.9 46 18.2 17.9 20.6 23.4 25.1 25.0 25.7 27.2 29.9 32.1 47 18.5 18.1 20.9 23.7 25.4 25.3 26.0 27.5 30.1 32.4 48 18.7 18.4 21.1 24.0 25.7 25.5 26.3 27.8 30.4 32.7 49 19.0 18.6 21.3 24.3 26.0 25.8 26.6 28.0 30.6 33.0 50 19.2 18.9 21.5 24.6 26.4 26.1 26.8 28.3 30.9 33.2 51 19.5 19.1 21.7 24.8 26.7 26.4 27.1 28.5 31.1 33.5 52 19.7 19.4 21.9 25.1 27.0 26.6 27.4 28.8 31.4 33.8 53 19.9 19.6 22.1 25.4 27.3 26.9 27.7 29.0 31.6 34.0 54 20.1 19.8 22.3 25.6 27.5 27.1 27.9 29.3 31.9 34.3 55 20.4 20.0 22.5 25.9 27.8 27.4 28.2 29.5 32.1 34.5 56 20.6 20.3 22.7 26.1 28.1 27.6 28.5 29.7 32.3 34.8 57 20.8 20.5 22.9 26.4 28.4 27.9 28.7 30.0 32.5 35.0 58 21.0 20.7 23.1 26.6 28.7 28.1 29.0 30.2 32.7 35.2 59 21.2 20.9 23.3 26.9 28.9 28.3 29.2 30.4 33.0 35.4 60 21.4 21.1 23.5 27.1 29.2 28.6 29.5 30.6 33.2 35.7 61 21.6 21.3 23.6 27.3 29.5 28.8 29.7 30.8 33.4 35.9 62 21.8 21.5 23.8 27.6 29.7 29.0 29.9 31.0 33.6 36.1 63 22.0 21.7 24.0 27.8 30.0 29.2 30.2 31.2 33.8 36.3 64 22.2 21.9 24.2 28.0 30.2 29.4 30.4 31.4 34.0 36.5
  • 9. 65 22.4 22.1 24.3 28.2 30.5 29.7 30.6 31.6 34.2 36.7 ตารางแสดงคาเปอรเซ็นตไขมันของรางกายจากการวัด 4 จุด (ตอ) % ไขมันเพศชายจําแนกตามชวงอายุ (ป) % ไขมันเพศหญิงจําแนกตามชวงอายุ (ป)ผลรวมของ ไขมัน 4 จุด (ม.ม.) 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป 66 22.6 22.3 24.5 28.4 30.7 29.9 30.8 31.8 34.4 36.9 67 22.8 22.5 24.7 28.6 30.9 30.1 31.1 32.0 34.6 37.1 68 23.0 22.7 24.8 28.9 31.2 30.3 31.3 32.2 34.7 37.3 69 23.2 22.8 25.0 29.1 31.4 30.5 31.5 32.4 34.9 37.5 70 23.3 23.0 25.1 29.3 31.6 30.7 31.7 32.6 35.1 37.7 71 23.5 23.2 25.3 29.5 31.9 30.9 31.9 32.8 35.3 37.9 72 23.7 23.4 25.4 29.7 32.1 31.1 32.1 33.0 35.5 38.1 73 23.9 23.5 25.6 29.9 32.3 31.3 32.3 33.1 35.6 38.3 74 24.0 23.7 25.7 30.0 32.5 31.4 32.5 33.3 35.8 38.5 75 24.2 23.9 25.9 30.2 32.7 31.6 32.7 33.5 36.0 38.7 76 24.4 24.0 26.0 30.4 32.9 31.8 32.9 33.7 36.2 38.8 77 24.5 24.2 26.2 30.6 33.1 32.0 33.1 33.8 36.3 39.0 78 24.7 24.4 26.3 30.8 33.3 32.2 33.3 34.0 36.5 39.2 79 24.8 24.5 26.4 31.0 33.6 32.3 33.5 34.2 36.6 39.4 80 25.0 24.7 26.6 31.2 33.8 32.5 33.7 34.3 36.8 39.5 81 25.2 24.8 26.7 31.3 34.0 32.7 33.8 34.5 37.0 39.7 82 25.3 25.0 26.8 31.5 34.1 32.9 34.0 34.7 37.1 39.9 83 25.5 25.1 27.0 31.7 34.3 33.0 34.2 34.8 37.3 40.0 84 25.6 25.3 27.1 31.8 34.5 33.2 34.4 35.0 37.4 40.2 85 25.8 25.4 27.2 32.0 34.7 33.4 34.6 35.1 37.6 40.4 86 25.9 25.6 27.4 32.2 34.9 33.5 34.7 35.3 37.7 40.5 87 26.0 25.7 27.5 32.3 35.1 33.7 34.9 35.4 37.9 40.7 88 26.2 25.9 27.6 32.5 35.3 33.8 35.1 35.6 38.0 40.8 89 26.3 26.0 27.7 32.7 35.5 34.0 35.2 35.7 38.2 41.0 90 26.5 26.1 27.9 32.8 35.6 34.2 35.4 35.9 38.3 41.1 91 26.6 26.3 28.0 33.0 35.8 34.3 35.6 36.0 38.5 41.3 92 26.7 26.4 28.1 33.1 36.0 34.5 35.7 36.2 38.6 41.4 93 26.9 26.6 28.2 33.3 36.2 34.6 35.9 36.3 38.7 41.6 94 27.0 26.7 28.3 33.5 36.3 34.8 36.0 36.4 38.9 41.7 95 27.2 26.8 28.4 33.6 36.5 34.9 36.2 36.6 39.0 41.9 96 27.3 27.0 28.6 33.8 36.7 35.1 36.4 36.7 39.1 42.0
  • 10. 97 27.4 27.1 28.7 33.9 36.9 35.2 36.5 36.9 39.3 42.2 ตารางแสดงคาเปอรเซ็นตไขมันของรางกายจากการวัด 4 จุด (ตอ) % ไขมันเพศชายจําแนกตามชวงอายุ (ป) % ไขมันเพศหญิงจําแนกตามชวงอายุ (ป)ผลรวมของ ไขมัน 4 จุด (ม.ม.) 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป 17–19 20-29 30-39 40-49 50 ขึ้นไป 98 27.5 27.2 28.8 34.1 37.0 35.3 36.7 37.0 39.4 42.3 99 27.7 27.3 28.9 34.2 37.2 35.5 36.8 37.1 39.5 42.4 100 27.8 27.5 29.0 34.3 37.3 35.6 37.0 37.3 39.7 42.6 101 27.9 27.6 29.1 34.5 37.5 35.8 37.1 37.4 39.8 42.7 102 28.0 27.7 29.2 34.6 37.7 35.9 37.3 37.5 39.9 42.9 103 28.2 27.9 29.3 34.8 37.8 36.0 37.4 37.6 40.0 43.0 104 28.3 28.0 29.4 34.9 38.0 36.2 37.6 37.8 40.2 43.1 105 28.4 28.1 29.5 35.0 38.1 36.3 37.7 37.9 40.3 43.3 106 28.5 28.2 29.6 35.2 38.3 36.4 37.8 38.0 40.4 43.4 107 28.7 28.3 29.7 35.3 38.4 36.6 38.0 38.1 40.5 43.5 108 28.8 28.5 29.8 35.5 38.6 36.7 38.1 38.3 40.7 43.6 109 28.9 28.6 29.9 35.6 38.8 36.8 38.3 38.4 40.8 43.8 110 29.0 28.7 30.0 35.7 38.9 37.0 38.4 38.5 40.9 43.9 111 29.1 28.8 30.1 35.9 39.0 37.1 38.5 38.6 41.0 44.0 112 29.2 28.9 30.2 36.0 39.2 37.2 38.7 38.7 41.1 44.1 113 29.3 29.0 30.3 36.1 39.3 37.3 38.8 38.9 41.2 44.3 114 29.5 29.1 30.4 36.2 39.5 37.5 38.9 39.0 41.4 44.4 115 29.6 29.2 30.5 36.4 39.6 37.6 39.1 39.1 41.5 44.5 116 29.7 29.4 30.6 36.5 39.8 37.7 39.2 39.2 41.6 44.6 117 29.8 29.5 30.7 36.6 39.9 37.8 39.3 39.3 41.7 44.8 118 29.9 29.6 30.8 36.7 40.1 38.0 39.4 39.4 41.8 44.9 119 30.0 29.7 30.9 36.9 40.2 38.1 39.6 39.6 41.9 45.0 120 30.1 29.8 31.0 37.0 40.3 38.2 39.7 39.7 42.0 45.1 ที่มา: คูมือการทดสอบสมรรถภาพทางกายประชาชนไทย กองวิทยาศาสตรการกีฬา ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา การ กีฬาแหงประเทศไทย 2545 คามาตรฐานปริมาณไขมันในรางกาย (%) ของประชาชนไทย ระดับ ชาย อายุ ( ป) สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72 ดีมาก 5.7-8.1 7.3-9.5 13.7-15.8 17.0-19.4 19.1-21.6 15.7-18.8 ดี 8.2-10.6 9.6-11.9 15.9-18.0 19.5-21.9 21.7-24.2 18.9-22.0 ปานกลาง 10.7-15.7 12.0-16.8 18.1-22.5 22.0-27.0 24.3-29.5 22.1-28.5 ต่ํา 15.8-18.2 19.9-19.2 22.6-24.7 27.1-29.5 29.6-32.1 28.6-31.7
  • 11. ต่ํามาก 18.3 19.3 24.8 29.6 32.2 31.8 ระดับ หญิง อายุ( ป) สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72 ดีมาก 20.3-22.3 20.4-22.6 24.4-26.5 29.8-31.6 32.6-34.5 27.5-30.3 ดี 22.4-24.4 22.7-24.9 26.6-28.7 31.7-33.5 34.6-36.5 30.4-33.2 ปานกลาง 24.5-28.7 25.0-29.6 28.8-33.2 33.6-37.4 36.6-40.6 33.3-39.1 ต่ํา 28.8-30.8 29.7-31.5 33.3-35.4 37.5-39.3 40.7-42.6 9.2-42.0 ต่ํามาก 30.9 31.6 35.5 39.4 42.7 42.1 ที่มา : ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา. เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกาย ประชาชนไทย. 2543 คามาตรฐานปริมาณไขมันในรางกาย (%) ที่สัมพันธกับสุขภาพ ชาย ไม ระดับปริมาณไขมัน แนะนํา ต่ํา กลาง สูง อวน วัยผูใหญตอนตน (<35 ป) < 8 8 13 22 > 22 วัยผูใหญตอนกลาง (35-55 ป) < 10 10 18 25 > 25 วัยสูงอายุ (55 ป) < 10 10 16 23 > 23 หญิง ไม ระดับปริมาณไขมัน แนะนํา ต่ํา กลาง สูง อวน วัยผูใหญตอนตน (<35 ป) <20 20 28 35 >35 วัยผูใหญตอนกลาง (35-55 ป) <25 25 32 38 >38 วัยสูงอายุ (55 ป) <25 25 30 35 >35 ที่มา : ACSM Health and Fitness Journal, 1:30, 1997 อางใน : Workshop on "Body composition assessment" August 2-4th, 2000. Institute of Nutrition, Mahidol University การวัดความอดทนของระบบการไหลเวียนเลือดและการหายใจ (Aerobic capacity or Circulo – respiratory endurance or Cardio-vascular capacity) 1. โดยการประเมินประสิทธิภาพการใชออกซิเจนสูงสุด (VO2 Max) ดวยจักรยานวัดงาน ทําการ ทดสอบดังนี้ 1.1 ใหผูทดสอบขึ้นนั่งบนอาน จัดระดับอานใหพอเหมาะโดยเขาขางที่เทาเหยียบบันไดต่ําสุด งอ เล็กนอย ประมาณ 5 องศา (หรือกอนขึ้นนั่งใหผูทดสอบยืนขางจักรยานและ จัดระดับอานต่ํา กวาระดับสะดือประมาณ 4 นิ้วมือ)
  • 12. 1.2 ตั้งเครื่องเคาะจังหวะ ที่ความเร็ว 100 ครั้ง หรือ 50 รอบตอนาที ใหผูทดสอบ ปนจักรยานตาม เสียงจังหวะเพื่อรักษาความเร็วใหคงที่ โดยเทาขางใดขางหนึ่งตองอยูที่บันไดต่ําสุดขณะเสียง เคาะจังหวะดัง 1.3 ใหผูทดสอบถีบจักรยาน 2-3 นาที เพื่ออบอุนรางกายและสรางความคุนเคยกับจักรยาน 1.4 การเลือกน้ําหนักถวงขึ้นอยูกับอายุ เพศ สุขภาพ และสมรรถภาพของแตละคน โดยทําให อัตราการเตนของหัวใจอยูระหวาง 120-170 ครั้งตอนาที ดังนี้ ชาย ที่ไมออกกําลังกาย 1-2 กิโลปอนด (300-600 kpm.min-1 ) ชาย ที่ออกกําลังกาย 2-3 กิโลปอนด (600-900 kpm.min-1 ) หญิงที่ไมออกกําลังกาย 1- 1½ กิโลปอนด (300-450 kpm.min-1 ) หญิง ที่ออกกําลังกาย 1½ -2 กิโลปอนด (450-600 kpm.min-1 ) เริ่มจับเวลาเมื่อผูทดสอบสามารถปนจักรยานรักษาความเร็วคงที่ 50 รอบตอนาที ตามน้ําหนักถวงที่กําหนดให 1.5 นับและบันทึกอัตราการเตนของหัวใจทุกนาที เปนเวลา 6 นาที (นับจากวินาทีที่ 45 ถึงวินาที ที่ 60 ของแตละนาที) โดยใชเครื่องชวยหูฟง ฟงที่บริเวณ Apex หรือ Carotid Artery 1.6 ถาถึงนาทีที่ 2 อัตราการเตนของหัวใจยังต่ํากวา 120 ครั้งตอนาที ใหเพิ่มน้ําหนักถวงอีก 0.5 กิโลปอนด และขยายเวลาออกไปอีก 1 นาทีหรือมากกวา เพื่อใหอัตราการเตนของหัวใจ สม่ําเสมอและเขาสูสภาวะคงที่ (Steady state) 1.7 นําอัตราการเตนของหัวใจชวงนาทีที่ 5 และนาทีที่ 6 มาหาคาเฉลี่ย ถาอัตราการเตนของ หัวใจทั้ง 2 ชวง แตกตางกันมากกวา 5 ครั้งตอนาที ใหขยายระยะเวลาการทดสอบออกไปอีก 1 นาทีหรือมากกวา จนกวาอัตราการเตนของหัวใจจะแตกตางกัน ไมเกิน 5 ครั้งตอนาที 1.8 หยุดการทดสอบ หากอัตราการเตนหัวใจของผูทดสอบมากกวา 85% ของอัตราการเตนหัวใจ สูงสุด [220 - อายุ (ป)] หรือผูทดสอบไมสามารถปฏิบัติตามขอกําหนดการทดสอบได หรือ ผูทดสอบมีอาการที่บงบอกวามีปญหาของหัวใจหรือมีภาวะฉุกเฉินหรือผูทดสอบรองขอ หยุดการทดสอบ 1.9 นําอัตราการเตนของหัวใจที่วัดไดในขอ 7 และน้ําหนักที่ใชถวงในขอ 6 ไปหาคาปริมาณการ จับออกซิเจนสูงสุด (Maximum oxygen uptake) จากตารางมาตรฐานจําแนกชายและหญิง คํานวณคาประสิทธิภาพการใชออกซิเจนสูงสุด (VO2 Max) ปรับคาตัวแปรดานอายุ และน้ําหนักตัว โดยคํานวณจากสูตรดังนี้ ปริมาณการใชออกซิเจนสูงสุด (ลิตร/นาที) = (Age Factor) x (Max. Oxygen uptake) x 1000 น้ําหนักตัว (กิโลกรัม)
  • 13. ตาราง ทํานายปริมาณการใชออกซิเจนสูงสุดที่สัมพันธกับอัตราการเตนหัวใจขณะที่ออกกําลังและน้ําหนักที่ใช ถวงจักรยานวัดงาน (Bicycle Ergometer) ชาย Maximal Oxygen Uptake Liters / min Maximal Oxygen Uptake Liters / min Working Pulse 300 kpm/ min 50w 600 kpm/ min 100w 900 kpm/ min 150w 1200 kpm/ min 200w 1500 kpm/ min 250w Working Pulse 300 kpm/ min 50w 600 kpm/ min 100w 900 kpm/ min 150w 1200 kpm/ min 200w 1500 kpm/ min 250w 120 2.2 3.5 4.8 146 2.4 3.3 4.4 5.6 121 2.2 3.4 4.7 147 2.4 3.3 4.4 5.5 122 2.2 3.4 4.6 148 2.4 3.2 4.3 5.4 123 2.1 3.4 4.6 149 2.3 3.2 4.3 5.4 124 2.1 3.3 4.5 6.0 150 2.3 3.2 4.2 5.3 125 2.0 3.2 4.4 5.9 151 2.3 3.1 4.2 5.2 126 2.0 3.2 4.4 5.8 152 2.3 3.1 4.1 5.2 127 2.0 3.1 4.3 5.7 153 2.2 3.0 4.1 5.1 128 2.0 3.1 4.2 5.6 154 2.2 3.0 4.0 5.1 129 1.9 3.0 4.2 5.6 155 2.2 3.0 4.0 5.0 130 1.9 3.0 4.1 5.5 156 2.2 2.9 4.0 5.0 131 1.9 2.9 4.0 5.4 157 2.1 2.9 3.9 4.9 132 1.8 2.9 4.0 5.3 158 2.1 2.9 3.9 4.9 133 1.8 2.8 3.9 5.3 159 2.1 2.8 3.8 4.8 134 1.8 2.8 3.9 5.2 160 2.1 2.8 3.8 4.8 135 1.7 2.8 3.8 5.1 161 2.0 2.8 3.7 4.7 136 1.7 2.7 3.8 5.0 162 2.0 2.8 3.7 4.6 137 1.7 2.7 3.7 5.0 163 2.0 2.8 3.7 4.6 138 1.6 2.7 3.7 4.9 164 2.0 2.7 3.6 4.5 139 1.6 2.6 3.6 4.8 165 2.0 2.7 3.6 4.5
  • 14. Maximal Oxygen Uptake Liters / min Maximal Oxygen Uptake Liters / min Working Pulse 300 kpm/ min 50w 600 kpm/ min 100w 900 kpm/ min 150w 1200 kpm/ min 200w 1500 kpm/ min 250w Working Pulse 300 kpm/ min 50w 600 kpm/ min 100w 900 kpm/ min 150w 1200 kpm/ min 200w 1500 kpm/ min 250w 140 1.6 2.6 3.6 4.8 6.0 166 1.9 2.7 3.6 4.5 141 2.6 3.5 4.7 5.9 167 1.9 2.6 3.5 4.4 142 2.5 3.5 4.6 5.8 168 1.9 2.6 3.5 4.4 143 2.5 3.4 4.6 5.7 169 1.9 2.6 3.5 4.3 144 2.5 3.4 4.5 5.7 170 1.8 2.6 3.4 4.3 145 2.4 3.4 4.5 5.6 ที่มา : Astrand’s Acta Physiol. Scand. 49 (suppl. 169), 1960 by P-O. Astrand in Work Test with the Bicycle Ergometer. Varberg, Sweden : Monark, 1965. หญิง Maximal Oxygen Uptake Liters / min Maximal Oxygen Uptake Liters / min Working Pulse 300 kpm/ min 50w 600 kpm/ min 100w 900 kpm/ min 150w 1200 kpm/ min 200w 1500 kpm/ min 250w Working Pulse 300 kpm/ min 50w 600 kpm/ min 100w 900 kpm/ min 150w 1200 kpm/ min 200w 1500 kpm/ min 250w 120 2.6 3.4 4.1 4.8 146 1.6 2.2 2.6 3.2 3.7 121 2.5 3.3 4.0 4.8 147 1.6 2.1 2.6 3.1 3.6 122 2.5 3.2 3.9 4.7 148 1.6 2.1 2.6 3.1 3.6 123 2.4 3.1 3.9 4.6 149 2.1 2.6 3.0 3.5 124 2.4 3.1 3.8 4.5 150 2.0 2.5 3.0 3.5 125 2.3 3.0 3.7 4.4 151 2.0 2.5 3.0 3.4 126 2.3 3.0 3.6 4.3 152 2.0 2.5 2.9 3.4 127 2.2 2.9 3.5 4.2 153 2.0 2.4 2.9 3.3 128 2.2 2.8 3.5 4.2 4.8 154 2.0 2.4 2.8 3.3 129 2.2 2.8 3.4 4.1 4.8 155 1.9 2.4 2.8 3.2 130 2.1 2.7 3.4 4.0 4.7 156 1.9 2.3 2.8 3.2 131 2.1 2.7 3.4 4.0 4.6 157 1.9 2.3 2.7 3.2 132 2.0 2.7 3.3 3.9 4.5 158 1.8 2.3 2.7 3.1 133 2.0 2.6 3.2 3.8 4.4 159 1.8 2.2 2.7 3.1 134 2.0 2.6 3.2 3.8 4.4 160 1.8 2.2 2.6 3.0
  • 15. Maximal Oxygen Uptake Liters / min Maximal Oxygen Uptake Liters / min Working Pulse 300 kpm/ min 50w 600 kpm/ min 100w 900 kpm/ min 150w 1200 kpm/ min 200w 1500 kpm/ min 250w Working Pulse 300 kpm/ min 50w 600 kpm/ min 100w 900 kpm/ min 150w 1200 kpm/ min 200w 1500 kpm/ min 250w 135 2.0 2.6 3.1 3.7 4.3 161 1.8 2.2 2.6 3.0 136 1.9 2.5 3.1 3.6 4.2 162 1.8 2.2 2.6 3.0 137 1.9 2.5 3.0 3.6 4.2 163 1.7 2.2 2.6 2.9 138 1.8 2.4 3.0 3.5 4.1 164 1.7 2.1 2.5 2.9 139 1.8 2.4 2.9 3.5 4.0 165 1.7 2.1 2.5 2.9 140 1.8 2.4 2.8 3.4 4.0 166 1.7 2.1 2.5 2.8 141 1.8 2.3 2.8 3.4 3.9 167 1.6 2.1 2.4 2.8 142 1.7 2.3 2.8 3.3 3.9 168 1.6 2.0 2.4 2.8 143 1.7 2.2 2.7 3.3 3.8 169 1.6 2.0 2.4 2.8 144 1.7 2.2 2.7 3.2 3.8 170 1.6 2.0 2.4 2.7 145 1.6 2.2 2.7 3.2 3.7 ที่มา : Astrand’s Acta Physiol. Scand. 49 (suppl. 169), 1960 by P-O. Astrand in Work Test with the Bicycle Ergometer. Varberg, Sweden : Monark, 1965. คา Age Factor ปรับแกปริมาณการใชออกซิเจนสูงสุดตามอายุ อายุ Factor อายุ Factor อายุ Factor 15 = 1.10 27 = 0.974 39 = 0.838 16 = 1.09 28 = 0.961 40 = 0.830 17 = 1.08 29 = 0.948 41 = 0.820 18 = 1.07 30 = 0.935 42 = 0.810 19 = 1.06 31 = 0.922 43 = 0.800 20 = 1.05 32 = 0.909 44 = 0.790 21 = 1.04 33 = 0.896 45 = 0.780 22 = 1.03 34 = 0.883 46 = 0.774 23 = 1.02 35 = 0.870 47 = 0.768 24 = 1.01 36 = 0.862 48 = 0.762 25 = 1.00 37 = 0.854 49 = 0.756
  • 16. 26 = 0.987 38 = 0.846 50 = 0.750 คา Age Factor ปรับแกปริมาณการใชออกซิเจนสูงสุดตามอายุ (ตอ) อายุ Factor อายุ Factor อายุ Factor 51 = 0.742 56 = 0.704 61 = 0.674 52 = 0.734 57 = 0.698 62 = 0.668 53 = 0.726 58 = 0.692 63 = 0.662 54 = 0.718 59 = 0.686 64 = 0.656 55 = 0.710 60 = 0.680 65 0.650 คามาตรฐานปริมาณการใชออกซิเจนสูงสุดของประชาชนไทย (มิลลิลิตร/กิโลกรัม/นาที) ระดับ ชาย อายุ (ป) สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72 ดีมาก 55.5 51.6 43.3 37.4 33.9 30.7 ดี 50.6-55.4 47.1-51.5 39.4-43.2 34.1-37.3 30.7-33.8 27.9-30.6 ปานกลาง 40.7-50.5 38.0-47.0 31.5-39.3 27.4-34.0 24.2-30.6 22.2-27.8 ต่ํา 35.8-40.6 33.5-37.9 27.6-31.4 24.1-27.3 21.0-24.1 19.4-22.1 ต่ํามาก 35.7 33.4 27.5 24.0 20.9 19.3 ระดับ หญิง อายุ (ป) สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72 ดีมาก 48.0 45.8 40.2 35.8 30.9 30.8 ดี 43.9-47.9 41.9-45.7 36.9-40.1 32.4-35.7 28.3-30.8 27.8-30.7 ปานกลาง 35.6-43.8 34.0-41.8 28.7-36.8 25.5-32.3 23.0-28.2 21.7-27.7 ต่ํา 31.5-35.5 30.1-33.9 24.9-28.6 22.1-25.4 20.4-22.9 18.7-21.6 ต่ํามาก 31.4 30.0 24.8 22.0 20.3 18.6 ที่มา : ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา. เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกายประชาชนไทย. การกีฬาแหงประเทศไทย.2543 2. การทดสอบดวยการกาวขึ้นลงขั้นบันได (YMCA - 3 Minute Step test) เครื่องมือที่ใชประกอบดวย มาสําหรับการกาวขึ้นลง สูง 12 นิ้ว เครื่องเคาะจังหวะ (metronome) นาฬิกาจับเวลาเปนนาทีและวินาที และเครื่องชวยฟงเสียงหัวใจเตน โดยมีวิธีการ ทดสอบ ดังนี้
  • 17. 2.1 ใหผูทดสอบยืนหางจากมาพอประมาณ กาวยกเทาซายหรือขวากอนวางบนมา นับ 1 แลวดึง เทาหลังตามขึ้นมายืนบนมาเขาตรงนับ2 ดึงเทาแรกกาวถอยหลังลงวางบนพื้นนับ 3 และดึง เทาหลังลงมายืนบนพื้นนับ 4 ครบ 1 รอบ ใหเขากับเสียงเคาะจังหวะของเครื่องเคาะจังหวะ ซึ่งตั้งไว 24 รอบตอ 1 นาที (1 รอบ เคาะ 4 ครั้ง) เพื่อใหกาวขึ้นลง 24 รอบ ตอ 1 นาที 2.2 ผูทดสอบกาวขึ้นลงบนมาสูง 12 นิ้ว เปนเวลา 3 นาที กอนครบ 3 นาที อาจใหสัญญาณ โดย การชวยนับ "ขึ้น 1 2 3 หยุด ลงนั่ง" 2.3 ใหผูทดสอบนั่งลงทันที เมื่อครบ 3 นาที และภายใน 5 วินาที ใหผูทําการทดสอบฟงและนับ การเตนหัวใจดวยเครื่องชวยหูฟง เปนเวลาเต็ม 1 นาที อัตราการเตนของหัวใจ 1 นาทีนี้ ถือ เปนอัตราการเตนหัวใจเมื่อสิ้นสุดการออกกําลังกาย ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงความ สามารถ ของหัวใจในการปรับตัวคืนสูสภาวะปกติ 2.4 บันทึกคาหัวใจที่ไดและเปรียบเทียบกับคามาตรฐานจากตาราง คามาตรฐานอัตราการเตนของหัวใจ (ครั้งตอนาที) ตามแบบ YMCA Step Test ระดับ ชาย อายุ (ป) สมรรถภาพ 18-25 26-35 36-45 46-55 56-65 >65 ป ดีเยี่ยม 70-78 73-79 72-81 78-84 72-82 72-86 ดีมาก 82-88 83-88 86-94 89-96 89-97 89-95 ดี 91-97 91-97 98-102 98-103 98-101 97-102 ปานกลาง 101-104 101-106 105-111 109-115 105-111 104-113 พอใช 107-114 109-116 113-118 118-121 113-118 114-119 ต่ํา 118-128 119-128 120-128 124-130 122-128 122-126 ต่ํามาก 131-164 130-164 132-168 135-158 131-150 133-152 ระดับ หญิง อายุ (ป) สมรรถภาพ 18-25 26-35 36-45 46-55 56-65 >65 ป ดีเยี่ยม 72-83 72-88 74-87 76-83 74-92 73-86 ดีมาก 88-97 91-97 93-101 96-102 97-103 93-100 ดี 100-106 103-110 104-109 106-113 106-111 104-114 ปานกลาง 110-116 112-118 111-117 117-120 113-117 117-121 พอใช 118-124 121-127 120-127 121-126 119-127 123-127 ต่ํา 125-137 129-135 130-136 127-133 129-136 129-134 ต่ํามาก 142-155 141-154 143-152 138-152 142-151 136-151 ที่มา : Golding LA, Myers CR, Sinning WE, eds. Y's Way to Physical Fitness. 3rd ed. Champaign, IL. Human Kinetics, 1989.
  • 18. 3. การทดสอบดวยการวิ่ง/เดิน ระยะทาง 2.4 กิโลเมตร โดยมีวิธีการ ดังนี้ 3.1 ใหผูทดสอบวิ่งหรือเดิน เปนระยะทาง 2.4 กิโลเมตรใหเร็วที่สุดเทาที่เปนไปได 3.2 จับเวลาที่ทําไดเปนนาทีและวินาที แลวนําไปเปรียบเทียบกับตารางตามกลุมอายุและเพศ คามาตรฐานระยะเวลา (นาที : วินาที) ที่ใชในการวิ่ง/เดิน 2.4 ก.ม. ระดับ ชาย อายุ (ป) สมรรถภาพ 13-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60 ป ดีเยี่ยม < 8:37 < 9:45 < 10:00 < 10:30 < 11:00 < 11:15 ดีมาก 8:37-9:40 9:45-10:45 10:00-11:00 10:30-11:30 11:00-12:30 11:15-13:59 ดี 9:41-10:48 10:46-12:00 11:01-12:30 11:31-13:00 12:31-14:30 14:00-16:15 ปานกลาง 10:49-12:10 12:01-14:00 12:31-14:44 13:01-15:35 14:31-17:00 16:16-19:00 ตํ่า 12:11-15:30 14:01-16:00 14:45-16:30 15:36-17:30 17:01-19:00 19:01-20:00 ตํ่ามาก >=15:31 >= 16:01 >= 16:31 >= 17:31 >= 19:01 >= 20:01 ระดับ หญิง อายุ (ป) สมรรถภาพ 13-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60 ป ดีเยี่ยม < 11:50 < 12:30 < 13:00 < 13:45 < 14:30 < 16:30 ดีมาก 11:50-12:29 12:30-13:30 13:00-14:30 13:45-15:55 14:30-16:30 16:30-17:30 ดี 12:30-14:30 13:31-15:54 14:31-16:30 15:56-17:30 16:31-19:00 17:31-19:30 ปานกลาง 14:31-16:54 15:55-18:30 16:31-19:00 17:31-19:30 19:01-20:00 19:31-20:30 ตํ่า 16:55-18:30 18:31-19:00 19:01-19:30 19:31-20:00 20:01-20:30 20:31-21:00 ตํ่ามาก >= 18:31 >=19:01 >= 19:31 >= 20:01 >= 20:31 >= 21:01 ที่มา : Cooper, K. The Aerobics Program for Total Well-Being. New York: M. Evans and Co. อางใน Williams, MH. Lifetime Fitness and Wellness. 4th ed. Madison, WI. Brown and Benchmark Publishers. 1996. การวัดความจุปอดดวย สไปโรมิเตอร Spirometer การวัดสมรรถภาพของระบบหายใจ โดยการประเมินความจุปอด (Lung or Vital Capacity) สามารถทําไดดวยเครื่องมือ Spirometer ดังนี้ 1. ตั้งระดับเข็มบนสเกลใหอยูที่ศูนย (0) ใหผูทดสอบยืนตัวตรงหนาเครื่อง จับหลอดเปาอยู ระดับปาก หายใจเขาเต็มที่สุด และเปาลมเขาในหลอดใหมากที่สุดเทาที่จะทําได โดย ไมใหตัวงอ หรือแขนบีบหนาอก) ทดสอบ 2 ครั้ง ใชคาที่มาก 2. ผลการทดสอบวัดเปนมิลลิลิตร นําผลที่ไดมาหารดวยน้ําหนักตัวผูทดสอบเปรียบเทียบ กับ คามาตรฐาน
  • 19. คามาตรฐานความจุปอด (มิลลิลิตร/กิโลกรัม ) ของประชาชนไทย ระดับ ชาย อายุ (ป) สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72 ดีมาก 61.9 60.3 57.2 53.2 47.6 43.3 ดี 57.7-61.8 56.1-60.2 52.5-57.1 48.1-52.2 43.4-47.5 39.2-43.2 ปานกลาง 49.2-57.6 47.6-56.0 43.0-52.4 39.6-48.0 34.9-43.3 30.9-39.1 ต่ํา 45.0-49.1 43.4-47.5 38.3-42.9 35.4-39.5 30.7-34.8 26.8-30.8 ต่ํามาก 44.9 43.3 38.2 35.3 30.6 26.7 ระดับ หญิง อายุ(ป) สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72 ดีมาก 49.3 49.0 45.1 42.1 37.8 35.2 ดี 45.7-49.2 45.3-48.9 41.3-45.0 38.1-42.0 34.4-37.7 31.2-35.1 ปานกลาง 38.4-45.6 37.8-45.2 33.8-41.2 30.0-38.0 27.5-34.3 23.1-31.1 ต่ํา 34.8-38.3 34.1-37.7 30.1-33.7 26.0-29.9 24.1-27.4 19.1-23.0 ต่ํามาก 34.7 34.0 30.0 25.9 24.0 19.0 ที่มา : ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา. เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย. การกีฬาแหงประเทศไทย. 2543. การทดสอบการออนตัว (Flexibility) ทําการทดสอบโดยวิธี Sit and reach test คือ การนั่งงอตัวไปขางหนา โดยมีเครื่องมือ ประกอบดวย มาวัดความออนตัว 1 ตัว มีที่ยันเทาและมาตรวัดระยะทางเปน +30 ซม. หรือ +35 ซม. และ -30 ซม. จุด "0" อยูตรงที่ยันเทา มีเสื่อหรือพรมหรือกระดานสําหรับรองพื้นนั่ง วิธีการทดสอบ ทําดังนี้ 1. ใหผูทดสอบอบอุนรางกายสักครูหนึ่ง แลวใหถอดรองเทาและนั่งเหยียดขาตรง สอดเขาใตมา วัด ใหฝาเทาตั้งฉากกับพื้น และจรดแนบกับที่ยันเทาของมาวัด และเทาชิดกัน 2. เหยียดแขนตรงไปขางหนาแลวกมตัวไปขางหนา มือวางอยูบนมาวัดคอยๆ กมตัวลงใหมือ เคลื่อนดันไมบรรทัดอยางนุมนวลไปบนมาวัดใหไกลที่สุด 3. หามโยกตัวหรืองอตัวแรง ๆ กระแทกไมบรรทัด ขณะกมตัว เขาตองตึง 4. วัดระยะทางเปนเซนติเมตรจากจุด "0" ถึงปลายนิ้วมือ ถาปลายนิ้วมือเหยียดเลย ปลายเทาหรือ จุดศูนย บันทึกคาเปนบวก ถาไมถึงปลายเทาคาเปนลบ ทําการทดสอบ 3 ครั้ง ใชคาที่ดีที่สุด
  • 20. คามาตรฐานการนั่งงอตัวไปขางหนา (เซนติเมตร) ของประชาชนไทย ระดับ ชาย อายุ (ป) สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72 ดีมาก 21 20 19 17 17 14 ดี 17-20 17-19 15-18 13-16 13-16 10-13 ปานกลาง 18-16 9-16 6-14 5-12 4-12 2-9 ต่ํา 4-7 6-8 2-5 1-4 0-3 (-2)-1 ต่ํามาก 3 5 1 0 (-1) (-3) ระดับ หญิง อายุ (ป) สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72 ดีมาก 19 20 21 20 18 18 ดี 16-18 17-19 17-20 16-19 15-17 15-17 ปานกลาง 9-15 10-16 8-16 8-15 8-14 8-14 ต่ํา 6-8 7-9 4-7 4-7 5-7 5-7 ต่ํามาก 5 6 3 3 4 4 ที่มา : ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา. เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย. การกีฬาแหงประเทศไทย. 2543. การทดสอบแรงบีบมือ การทดสอบความแข็งแรงของกลามเนื้อ โดยใชเครื่องมือ Hand grip dynamometer วัดแรง บีบของมือ ทําการทดสอบดังนี้ 1. จัดระดับที่จับของเครื่องมือใหเหมาะสมกับผูทดสอบ ใชมือขางที่ถนัด ใหผูทดสอบ ปลอยแขนตามสบายขางลําตัว มือกําที่จับ หามแนบลําตัว 2. ใหออกแรงกํามือใหแรงที่สุด ทําการทดสอบ 2 ครั้ง ใชคาที่มาก การทดสอบที่วัดได เปนกิโลกรัม นําผลที่ไดมาหารดวยน้ําหนักตัวของผูทดสอบ
  • 21. คามาตรฐานแรงบีบมือตอน้ําหนักตัว (กก./น.น.ตัว) ของคนไทย ระดับ ชาย อายุ (ป) สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72 ดีมาก 0.86 0.84 0.81 0.77 0.72 0.65 ดี 0.80-0.85 0.79-0.83 0.76-0.80 0.72-0.76 0.67-0.71 0.60-0.64 ปานกลาง 0.67-0.79 0.68-0.78 0.65-0.75 0.61-0.71 0.56-0.66 0.49-0.59 ต่ํา 0.61-0.66 0.63-0.67 0.60-0.64 0.56-0.60 0.51-0.55 0.44-0.48 ต่ํามาก 0.60 0.62 0.59 0.55 0.50 0.43 ระดับ หญิง อายุ(ป) สมรรถภาพ 17-19 20-29 30-39 40-49 50-59 60-72 ดีมาก 0.65 0.66 0.61 0.57 0.52 0.49 ดี 0.60-0.64 0.61-0.65 0.57-0.60 0.53-0.56 0.48-0.51 0.45-0.48 ปานกลาง 0.49-0.59 0.50-0.60 0.48-0.56 0.44-0.52 0.39-0.47 0.36-0.44 ต่ํา 0.44-0.48 0.45-0.49 0.44-0.47 0.40-0.43 0.35-0.38 0.32-0.35 ต่ํามาก 0.43 0.44 0.43 0.39 0.34 0.31 ที่มา : ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา. เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย. การกีฬาแหงประเทศไทย. 2543. การทดสอบความอดทนของกลามเนื้อ (Muscular endurance) ดวยการวิดพื้น ความตอเนื่องหรือการทํางานซ้ําๆของกลามเนื้อกลุมใดกลุมหนึ่ง แสดงถึงความ สมรรถภาพดานความอดทนของกลามเนื้อ การทดสอบที่ไมตองใชเครื่องมือใดๆและทําไดงาย คือ การดันพื้นหรือวิดพื้น มีวิธีการดังนี้ 1. ใหผูทําการทดสอบ นอนคว่ําตัวลงกับพื้น วางฝามือสองขางบนพื้นหางกันประมาณ ชวงไหล ชายใหปลายเทาตั้งบนพื้นไมใหหัวเขาแตะพื้น สวนหญิงใหหัวเขาแตะพื้น เหยียดแขนสองขางดันพื้นจนแขนตรง ใหถายน้ําหนักตัวบนแขน ฝามือ และปลายเทา ในชาย หรือหัวเขาในหญิง 2. งอศอกหยอนลําตัวลงจนกระทั่งหนาอกแตะพื้น พยายามรักษาหลังใหตรงตลอดเวลา และทองไมสัมผัสพื้น 3. เหยียดศอกดันตัวกลับสูตําแหนงเดิม นับเปน 1 ครั้ง 4. ใหทําซ้ําๆกันไปโดยไมหยุดพัก จนถึงจุดที่ทําไมไหว 5. บันทึกจํานวนครั้งที่ทําได นําไปเปรียบเทียบกันเกณฑมาตรฐานตามอายุและเพศ
  • 22. คามาตรฐานดันพื้นหรือวิดพื้น (จํานวนครั้ง) ชาย อายุระดับ สมรรถภาพ 20-29 30-39 40-49 50-59 60-69 ดี >= 30 >= 24 >= 19 >= 14 >= 11 ปานกลาง 24-29 19-23 13-18 10-13 9-10 คอนขางต่ํา 18-23 14-18 10-12 7-9 6-7 ต่ํา <= 17 <= 13 <= 9 <= 6 <= 5 หญิง อายุระดับ สมรรถภาพ 20-29 30-39 40-49 50-59 60-69 ดี >= 22 >= 21 >= 18 >= 13 >= 12 ปานกลาง 16-21 14-20 12-17 9-12 6-11 คอนขางต่ํา 11-15 10-13 7-11 3-8 2-5 ต่ํา <= 10 <= 9 <= 6 <= 2 <= 1 ที่มา : ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา. เกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย. การกีฬาแหงประเทศไทย. 2543.