SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Download to read offline
1 
จุดประสงค์การเรียนรู้ปลายทาง 
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทรงตัว และสามารถ 
ปฏิบัติได้ถูกต้อง
2 
ความหมายของการทรงตัว 
ดร. สมชาย ประเสริฐศิริพันธ์ (2546 : 73) ได้กล่าวไว้ว่า การทรงตัว 
หมายถึง การรักษาสมดุลของร่างกาย เพื่อไม่ให้เสียหลักหรือหกล้ม การทรงตัวโดย 
ทั่วไปจะมี 2 ลักษณะ คือ การทรงตัวขณะอยู่กับที่ และ การทรงตัวขณะเคลื่อนที่ 
ซึ่งทักษะทั้งสองลักษณะมีความสา คัญและเป็นทักษะพื้นฐานของกีฬายิมนาสติก 
การทรงตัวท่าหกกบ 
ขั้นตอนการทาหกกบ 
1. วางมือให้ห่าง 1 ช่วงไหล่ของตัวเองปลายนิ้วชี้ไปข้างหน้าหันเข้าหากันเล็กน้อย 
2. เอาหน้าขาวางบนข้อศอก 
3.โน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อยพร้อมกับยกปลายเท้าขึ้นให้น้า หนักตัวตกอยู่ 
ระหว่างแขน ทั้งสองข้าง
3 
แบบฝึกการทรงตัว 
ท่าที่ 1 หกกบ 
ท่าเตรียมยืนตรง เท้าชิด
4 
1.นั่งยอง ๆ วางมือทั้งสองในลักษณะนิ้วมอืกางออก 
บนพื้นข้างหน้าห่างกันประมาณ 1 ช่วงไหล่ 
ในลักษณะตั้งข้อศอก
5 
2.เอาเข่ามาวางเหนือข้อศอก 
ค่อย ๆ ถ่ายน้าหนักตัวมาที่แขน
6 
3. จนกระทั่งเท้าท้งัสองลอยพ้นพื้น 
เงยหน้าพยายามเกร็งแขนรับนับถึง10
7 
4.เอาปลายเท้าลงสู่พื้น
8 
5.ยืนทรงตัว แล้วค่อยเดินลงจากเบาะ
9 
แบบฝึกและแบบช่วยเหลือท่าหกกบ
10 
จับไหล่พยุงตัว
11
12 
ศีรษะรองเบาะแล้วค่อย ๆ ยกเท้า
13
14 
ใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่ใกล้ตัวช่วยในการฝึก 
ศีรษะรองหมอนแล้วค่อย ๆ ยกเท้า
15 
การทรงตัวท่าหกสูง 
วิธีปฏิบัติ 
หกสูงเท้าแตะผนัง 
1. ยืนเท้าที่ถนัดอยู่ข้างหน้า ชูมือเฉียงขึ้นไปข้างหน้า 
2. ก้มตัว วางมือห่างจากผนังประมาณ 1 คืบ 
3. แขนทั้งสองข้างเหยียดให้ตรง 
4. เตะเท้าทั้งสองขึ้นให้เท้าแตะผนังเท้าชิดขาเหยียดตรง หลังแอ่น 
ให้น้า หนักตัว อยู่ระหว่างแขนทั้งสองข้างสายตามองไปข้างหน้า 
5. พับเอวรวบเท้าชิดลงมายืนทรงตัว 
วิธีฝึก 
ให้นักเรียนหาที่ว่างฝึกทรงตัวให้ได้นาน ๆ แต่อย่างน้อยให้ได้ 10 วินาที 
จะทา บนเบาะก็ได้หรือบนพื้น แล้วแต่ความถนัดใช้เวลาฝึกประมาณ 20 นาที
16 
แบบฝึกการทรงตัว 
ท่าที่ 2 หกสูง 
ท่าเตรียมยืนตรง เท้าชิด
17 
1.ยืนให้เท้าที่ถนัดอยู่ข้างหน้า 
ชูมือขึ้นเฉียงไปข้างหน้า 
ก้มตัววางมือห่างจากผู้ช่วยเหลือประมาณ 1 คืบ
18 
2.แขนทั้งสองข้างเหยียดให้ตรง 
เตะเท้าท้งัสองข้นึ 
ให้ผู้ช่วยเหลือจับที่ข้อเท้า เท้าชิดขาเหยียดตรง 
หลังแอ่น ปลายเท้างุ้มเงยหน้าให้น้าหนัก 
ตัวอยู่ระหว่างมือทั้งสองข้าง
19 
3. ผู้ช่วยเหลือปล่อยมือ 
คนที่ทารวบเท้าให้ชิดพับเอว 
กดเท้าลงสู่พื้น แขนเหยียดตรง 
มือวางที่เบาะอย่ายุบแขน
20 
4.ผลักมือขึ้น
21 
5.ยืนทรงตัว 
แล้วค่อยเดินลงจากเบาะ
22 
แบบฝึกการช่วยเหลือ 
การทรงตัว 
ท่าหกสูงสาหรับนักเรียนที่เตะเท้าขึ้นเองไม่ได้ 
วางมือห่างจากผนัง 1 คืบ
23 
เกร็งแขนผู้ช่วยเหลือจับขายก
24 
วางเท้าแตะผนัง
25 
การทรงตัวท่าสะพานโค้ง 
วิธีปฏิบัติ 
สะพานโค้งมีเพื่อนช่วย 
1. เพื่อนที่จะช่วยมี 2 คน ยืนหันหน้าเข้าหากันจับมือประสานกันคนหนึ่งจับมือขวา 
อีกคนหนึ่งจับ มือซ้าย 
2 .คนที่จะทา ขึ้นมายืนหันหลังให้คนช่วยเหลือข้างที่จับมือประสานให้แขนผู้ช่วย 
เหลือรองระดับเอวของคนทา 
3. คนที่ทา ยืนแยกเท้าเล็กน้อยมือทั้งสองข้างชูขึ้นด้านบนเหยียดแขนให้ตรง 
4. เอนตัวไปด้านหลังลงไปวางมือที่พื้นให้ห่าง 1 ช่วงไหล่พร้อมกับสายตามองที่พื้น 
ระหว่างมือทั้งสองข้าง จัดระเบียบร่างกายให้แขนทั้งสองข้างเหยียดตรงขา ลา ตัวจัด 
ให้โค้งให้ได้ส่วนสวยงามถ้าโค้งได้ดีแสดงถึงความอ่อนตัวมาก 
5. เวลายกตัวขึ้นให้คนช่วยเหลือใช้มือข้างที่ไม่ได้จับมือประสานรองที่ต้นคอแล้วช่วย 
พยุงยกเพื่อนขึ้นมาอยู่ในท่ายืนชูมือขึ้นด้านบนเหมือนเดิม 
วิธีการฝึก 
1. ให้นักเรียนจับกลุ่มกัน 3 คน เอาตัวเท่า ๆ กัน 
2. เพื่อนที่จะช่วยมี 2 คน ยืนหันหน้าเข้าหากันจับมือประสานกันคนหนึ่งจับมือขวา 
อีกคนหนึ่ง จับมือซ้าย 
3. คนที่จะทา ขึ้นมายืนหันหลังให้คนช่วยเหลือข้างที่จับมือประสานให้แขนผู้ช่วยเหลือ 
รองระดับเอวของคนทา 
4. คนที่ทา ยืนแยกเท้าเล็กน้อยมือทั้งสองข้างชูขึ้นด้านบนเหยียดแขนให้ตรง 
5. เอนตัวไปด้านหลังลงไปวางมือที่พื้นให้ห่าง 1 ช่วงไหล่พร้อมกับสายตามองที่พื้น 
ระหว่างมือทั้งสองข้าง จัดระเบียบร่างกายให้แขนทั้งสองข้างเหยียดตรงขา ลา ตัวจัดให้ 
โค้งให้ได้ส่วนสวยงาม ถ้าโค้งได้ดีแสดงถึงความอ่อนตัวมาก 
6. เวลายกตัวขึ้นให้คนช่วยเหลือใช้มือข้างที่ไม่ได้จับมือประสานรองที่ต้นคอแล้วช่วย 
พยุงยกเพื่อนขึ้นมาอยู่ในท่ายืนชูมือขึ้นด้านบนเหมือนเดิม
26 
ใครจัดระเรียบร่างกายได้ดีแล้วลองสร้างความเชื่อมั่นให้กับตัวเองและตัดสินใจที่ 
จะลงเองโดยไม่มีเพื่อนช่วย 
ในการทรงตัวใช้เวลา 10 วินาที ถ้าลงเองครบ 10 วินาทีให้ยุบตัวลงพื้นนอนลง 
หรือจะยกมือ ยกตัวขึ้นเองก็ได้
27 
แบบฝึกการทรงตัว 
ท่าที่ 3 สะพานโค้งมีผู้ช่วยเหลือ 
ท่าเตรียมยืนตรง เท้าชิด
28 
1.ยืนชูมือขึ้นเหยียดแขนให้ตรง 
ผู้ช่วยเหลือจะใช้ 1 คน 
หรือ 2 คนก็ได้ยืนประคองด้านข้าง
29 
2.ถ้าใช้ผู้ช่วยเหลือ 2 คน 
ให้จับมือประสานมัดข้าวต้ม 
รองที่เอว เอนตัวไปด้านหลัง
30 
3. วางมือที่เบาะให้มือห่างกัน 1 ช่วงไหล่ 
ตามองที่พื้นเบาะเหยียดแขนให้ตรง 
จัดระเบียบร่างกายทรงตัว 
ถ้าพร้อมบอกให้เพื่อนปล่อย
31 
4.ผู้ช่วยเหลือปล่อยมือ 
ให้ทรงตัวเอง 10 วินาที
32 
5.ผู้ช่วยเหลือเข้าประคอง 
จับมือประสานรองที่หลัง 
ผลักมือขึ้นยืนทรงตัว 
แล้วค่อยเดินลงจากเบาะ
33 
แบบฝึกทักษะการทรงตัวท่าสะพานโค้ง 
ใช้หีบกระโดด
34 
ใช้คนรองยืนชูมือ
35 
เอนตัวตามองตามมือวางมือที่เบาะ
36 
ยืนก้มวางมือ
37 
เตะเท้าขึ้นหกสูงหลังพาดปล่อยเท้าลงสู่พื้น
38 
แบบฝึกการทรงตัว 
ท่าที่ 4 สะพานโค้ง( ลงเอง ) 
ท่าเตรียมยืนตรง เท้าชิด
39 
1.ยืนชูมือขึ้นเหยียดแขนให้ตรง
40 
2. เอนตัวไปด้านหลัง แขนเหยียดตรง 
ตามองตามมือ
41 
3. วางมือที่เบาะให้มือห่างกัน 1 ช่วงไหล่ 
ตามองที่พื้นเบาะเหยียดแขนให้ตรง 
จัดระเบียบร่างกายทรงตัว 10 วินาที 
( นับ 1-10 )
42 
4.ผลักมือขึ้น ดึงตัวขึ้นมา
43 
5. ยืนทรงตัว แล้วค่อยเดินลงจากเบาะ
44 
แบบสังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ LT 
คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมายเครื่องหมายถูก (/) ถ้านักเรียนมีพฤติกรรมตามรายการสังเกต 
กลุ่มที่ 
ชื่อสกุล 
รายการสังเกต 
รวม 
15 
สรุป 
การแบ่ง หน้าที่ ภายใน กลุ่ม (A) 
การรู้จัก แสดง ความ คิดเห็น (A) 
การ ทางาน ตาม ขั้นตอน (P) 
ปฏิบัติ 
งาน เสร็จ ทันเวลา (A) 
สาระ ถูกต้อง เป็น ระเบียบ และ สะอาด (APK) 
ผ่าน 
ไม่ ผ่าน 
3 
2 
1 
3 
2 
1 
3 
2 
1 
3 
2 
1 
3 
2 
1 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
บันทึกเพิ่มเติม………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………… 
ลงชื่อ……………………………………ผู้ประเมิน 
(……………………………….) 
ผู้ประเมิน ตนเอง เพื่อน ผู้สอน 
วันที่ ……….เดือน…………………………พ.ศ…………….
45 
เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการร่วมมือกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ LT 
รายการประเมิน 
3 
2 
1 
การแบ่งหน้าที่ภายใน กลุ่ม (A) 
มีการแบ่งหน้าที่ ภายในกลุ่มอย่าง ชัดเจน มีความ รับผิดชอบงานตาม บทบาทหน้าที่ 
มีการแบ่งหน้าที่ ภายในกลุ่มอย่าง ชัดเจนแต่ไม่ทางาน ตามบทบาทหน้าที่ของ ตน 
มีการแบ่งหน้าที่ ภายในกลุ่มอย่าง ชัดเจนแต่ไม่ทางาน ตามบทบาทหน้าที่ของ ตน 
การรู้จักแสดงความ คิดเห็น(A) 
รู้จักแสดงความ คิดเห็นในกลุ่มดีมาก 
รู้จักแสดงความ คิดเห็นในกลุ่ม 
ไม่แสดงความคิดเห็น ในกลุ่มเลย 
การทางานตาม ขั้นตอน(P) 
มีการทางานตาม ขั้นตอนดีมาก 
มีการทางานตาม ขั้นตอน 
ทางานไม่ตามขั้นตอน 
ปฏิบัติ 
งานเสร็จทันเวลา(A) 
ปฏิบัติงานเสร็จ ทันเวลาตามกาหนด เรียบร้อยดีมาก 
ปฏิบัติงานเสร็จ ทันเวลาตามกาหนด 
ไม่เสร็จทันเวลาตามที่ กาหนด 
สาระถูกต้องเป็น ระเบียบและสะอาด (APK) 
ชิ้นงานโดยภาพรวม ตัวอักษรอ่านง่าย สะอาดและเป็น ระเบียบสวยงาม 
ชิ้นงานโดยภาพรวม ตัวอักษรอ่านยาก 
ชิ้นงานโดยภาพรวม ตัวอักษรอ่านยาก สกปรกมากไม่เป็น ระเบียบ 
เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินพฤติกรรมระหว่างร่วมกิจกรรมกลุ่ม กาหนดไว้ดังนี้ 
3 หมายถึง ดีมาก 
2 หมายถึง ดี 
1 หมายถึง ปรับปรุง 
คะแนน 13 – 15 คะแนน หมายถึง ดีมาก 
คะแนน 10 – 12 คะแนน หมายถึง ดี 
คะแนน 1 – 9 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
46 
แบบประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม 
เรื่อง การทรงตัวท่า.......................... 
คาชี้แจง ให้ผู้ประเมินทา เครื่องหมาย / ลงในช่องคะแนนที่นักเรียนปฏิบัติได้ 
เลขที่ ชื่อ – สกุล 
ระดับคะแนน 
หมายเหตุ 
3 2 1 0 
1 
2 
3 
4 
5 
ลงชื่อ ………………………… 
(นายสมบัติ แสนทวีสุข) 
ผู้ประเมิน
47 
เกณฑ์การให้คะแนนการทรงตัวท่า........................................................... 
ลักษณะการปฏิบัติ 
ระดับคะแนน 
ปฏิบัติได้ครบ 5 ลักษณะ ดังนี้ 
1. ท่าเตรียมพร้อมถูกต้อง 
2. การลงสู่พื้นถูกต้อง 
3. การวางมือถูกต้อง 
4. การจัดระเบียบร่างกายในการทรงตัวถูกต้อง 
5. การยืนทรงตัวถูกต้อง 
3 
ปฏิบัติได้ 3-4 ลักษณะ 
2 
ปฏิบัติได้ 1-2 ลักษณะ 
1 
ปฏิบัติไม่ได้ 
0 
รายคะแนนที่ปฏิบัติได้เป็นคะแนนด้วยแบบประเมินค่า (Rating Scale) ใช้มาตรฐาน 4 ระดับ คะแนนคือ 3 2 1 0 โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้ 
3 คะแนน : การปฏิบัติถูกต้องเป็นไปอย่างอัตโนมัติความสมบูรณ์ถูกต้องตาม รูปแบบ 
2 คะแนน : การปฏิบัติระดับกลาง ความผิดพลาดสามารถเห็นได้ชัด ในด้านใด ด้านหนึ่ง ระหว่างการปฏิบัติอย่างอัตโนมัติกับรูปแบบ 
1 คะแนน : การปฏิบัติแย่ผิดพลาดทั้งการปฏิบัติอย่างอัตโนมัติและรูปแบบ 
0 คะแนน : ไม่ถูกต้องหรือปฏิบัติไม่ได้ การปฏิบัติอย่างอัตโนมัติไม่ถูกต้องหรือ ขาดความสมบูรณ์ของรูปแบบ 
เกณฑ์การประเมิน 
ระดับ 
คะแนน 
ดี 
2.05-3.00 
ปานกลาง 
1.05-2.00 
พอใช้ 
0.55-1.00 
ปรับปรุง 
0.05-0.50
48 
แบบทดสอบย่อยท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 
เรื่อง การทรงตัว 
คาสั่ง ให้เลือกคา ตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทา เครื่องหมาย X ลงในช่อง 
ก , ข , ค , และ ง ในกระดาษคา ตอบ 
1. ข้อใดคือการทรงตัว 
ก. การเดิน 
ข. การยืนด้วยมือ 
ค. การยืนอยู่กับที่ 
ง. ถูกทุกข้อ 
2. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับหลักของความมั่นคงในการทรงตัว 
ก. จุดศูนย์ถ่วงของผู้ชายจะอยู่ต่า กว่าจุดศูนย์ถ่วงของผู้หญิง 
ข. การทรงตัวที่ดี แนวเส้นของจุดศูนย์ถ่วงจะต้องตกอยู่ภายในฐาน 
ค. วัตถุจะทรงตัวอยู่ไม่ได้ ถ้าแนวของจุดศูนย์ถ่วงตกอยู่ตรงปลายฐาน 
ง. ข้อ ก และข้อ ข ถูก 
3. ในการยืน เราควรยืนในลักษณะใด จึงจะมีการทรงตัวดี 
ก. ยืน 2 เท้าชิดกัน 
ข. ยืนด้วยเท้าข้างเดียว 
ค. ยืนแยกเท้าทั้งสองข้างออกห่างจากกันประมาณ 1 ฟุต 
ง. ยืนย่อเข่าทั้งสอง โดยที่เท้าทั้งสองข้างห่างจากกัน ประมาณ 1 ช่วงไหล่
49 
4. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการทรงตัว 
ก. คนที่แข็งแรงทรงตัวได้ดีกว่าคนอ่อนแอ 
ข. คนที่ยืนลืมตาทรงตัวได้ดีกว่าคนที่ยืนหลับตา 
ค. คนที่ยืนบนพื้นหินขัด ทรงตัวได้ดีกว่าคนที่ยืนบนพื้นดิน 
ง. ข้อ ข และข้อ ค ถูก 
5. ขณะที่ทา ท่าหกกบ น้า หนักตัวตกอยู่ที่ใด 
ก. ก้น 
ข. เข่า 
ค. แขน 
ง. ศีรษะ 
6. ข้อใดเป็นการทา ท่าหกกบที่ถูกต้อง 
ก. ข้อศอกหนีบเข่า 
ข. เข่าหนีบข้อศอก 
ค. วางข้อศอกบนเข่า 
ง. วางเข่าบนข้อศอก 
7. ลักษณะของเท้าที่เตะขึ้นหกสูง 
ก. เท้างอ เตะขึ้นข้างบน 
ข. เท้างอ เตะไปข้างหลัง 
ค. เท้าเหยียด เตะขึ้นข้างบน 
ง. เท้าเหยียด เตะไปข้างหลัง
50 
8. ก่อนที่นักเรียนจะทา ท่าหกสูงได้ นักเรียนควรฝึกอะไรก่อน 
ก. ฝึกการเตะเท้าขึ้นเบา ๆ 
ข. ฝึกการเตะเท้าขึ้นพิงกา แพง 
ค. ฝึกการเตะเท้าขึ้นโดยมีคนช่วยจับ 
ง. ถูกทั้งข้อ ก ข้อ ข และข้อ ค 
9. ถ้านักเรียนทา ท่าหกสูงบนพื้นปูนซิเมนต์ ควรจะลงโดยวิธีใด 
ก. ลงม้วนหน้า 
ข. ลงสะพานโค้ง 
ค. พับเอวเอาเท้าลง 
ง. ลงยุบข้อลงสะพานลาด 
10. ถา้เตะเท้าหกสูง แต่เตะเท้าไม่แรงพอ เวลาลงควรทา อย่างไร 
ก. ลงม้วนหน้า 
ข. ลงสะพานโค้ง 
ค. บิดตัวเอาเท้าลง 
ง. ดึงเข่าข้างที่ไม่ถนัดเข้าหาหน้าอก ลงด้านเดียวกับที่เตะเท้าขึ้น
51 
กระดาษคาตอบแบบทดสอบย่อยท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 
รายวิชายดืหยุ่น (พ21104) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร 
ชื่อ....................................สกุล..................................ห้อง.......................เลขที่................................ 
.............................................................................................................................................................. 
ข้อที่ ก ข ค ง คะแนน 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
นายสมบัติ แสนทวีสุข ครูผู้สอน

More Related Content

What's hot

แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหารแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหารประพันธ์ เวารัมย์
 
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)tumetr1
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนVorawut Wongumpornpinit
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
ยุวกาชาด UDRU
ยุวกาชาด UDRUยุวกาชาด UDRU
ยุวกาชาด UDRUSmaile Marketing
 

What's hot (9)

แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหารแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
 
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
 
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
Posaconazole
PosaconazolePosaconazole
Posaconazole
 
ยุวกาชาด UDRU
ยุวกาชาด UDRUยุวกาชาด UDRU
ยุวกาชาด UDRU
 

Similar to E5

การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2sonsukda
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1sonsukda
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบkrutitirut
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูArt Nan
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4sonsukda
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...Padvee Academy
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)krutitirut
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyleAtivitt Crystalbell
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมSirirat Channok
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 

Similar to E5 (20)

การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
Worksheet 007
Worksheet 007Worksheet 007
Worksheet 007
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyle
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
ลองของ
ลองของลองของ
ลองของ
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรม
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 

E5

  • 2. 2 ความหมายของการทรงตัว ดร. สมชาย ประเสริฐศิริพันธ์ (2546 : 73) ได้กล่าวไว้ว่า การทรงตัว หมายถึง การรักษาสมดุลของร่างกาย เพื่อไม่ให้เสียหลักหรือหกล้ม การทรงตัวโดย ทั่วไปจะมี 2 ลักษณะ คือ การทรงตัวขณะอยู่กับที่ และ การทรงตัวขณะเคลื่อนที่ ซึ่งทักษะทั้งสองลักษณะมีความสา คัญและเป็นทักษะพื้นฐานของกีฬายิมนาสติก การทรงตัวท่าหกกบ ขั้นตอนการทาหกกบ 1. วางมือให้ห่าง 1 ช่วงไหล่ของตัวเองปลายนิ้วชี้ไปข้างหน้าหันเข้าหากันเล็กน้อย 2. เอาหน้าขาวางบนข้อศอก 3.โน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อยพร้อมกับยกปลายเท้าขึ้นให้น้า หนักตัวตกอยู่ ระหว่างแขน ทั้งสองข้าง
  • 3. 3 แบบฝึกการทรงตัว ท่าที่ 1 หกกบ ท่าเตรียมยืนตรง เท้าชิด
  • 4. 4 1.นั่งยอง ๆ วางมือทั้งสองในลักษณะนิ้วมอืกางออก บนพื้นข้างหน้าห่างกันประมาณ 1 ช่วงไหล่ ในลักษณะตั้งข้อศอก
  • 5. 5 2.เอาเข่ามาวางเหนือข้อศอก ค่อย ๆ ถ่ายน้าหนักตัวมาที่แขน
  • 6. 6 3. จนกระทั่งเท้าท้งัสองลอยพ้นพื้น เงยหน้าพยายามเกร็งแขนรับนับถึง10
  • 11. 11
  • 13. 13
  • 15. 15 การทรงตัวท่าหกสูง วิธีปฏิบัติ หกสูงเท้าแตะผนัง 1. ยืนเท้าที่ถนัดอยู่ข้างหน้า ชูมือเฉียงขึ้นไปข้างหน้า 2. ก้มตัว วางมือห่างจากผนังประมาณ 1 คืบ 3. แขนทั้งสองข้างเหยียดให้ตรง 4. เตะเท้าทั้งสองขึ้นให้เท้าแตะผนังเท้าชิดขาเหยียดตรง หลังแอ่น ให้น้า หนักตัว อยู่ระหว่างแขนทั้งสองข้างสายตามองไปข้างหน้า 5. พับเอวรวบเท้าชิดลงมายืนทรงตัว วิธีฝึก ให้นักเรียนหาที่ว่างฝึกทรงตัวให้ได้นาน ๆ แต่อย่างน้อยให้ได้ 10 วินาที จะทา บนเบาะก็ได้หรือบนพื้น แล้วแต่ความถนัดใช้เวลาฝึกประมาณ 20 นาที
  • 16. 16 แบบฝึกการทรงตัว ท่าที่ 2 หกสูง ท่าเตรียมยืนตรง เท้าชิด
  • 17. 17 1.ยืนให้เท้าที่ถนัดอยู่ข้างหน้า ชูมือขึ้นเฉียงไปข้างหน้า ก้มตัววางมือห่างจากผู้ช่วยเหลือประมาณ 1 คืบ
  • 18. 18 2.แขนทั้งสองข้างเหยียดให้ตรง เตะเท้าท้งัสองข้นึ ให้ผู้ช่วยเหลือจับที่ข้อเท้า เท้าชิดขาเหยียดตรง หลังแอ่น ปลายเท้างุ้มเงยหน้าให้น้าหนัก ตัวอยู่ระหว่างมือทั้งสองข้าง
  • 19. 19 3. ผู้ช่วยเหลือปล่อยมือ คนที่ทารวบเท้าให้ชิดพับเอว กดเท้าลงสู่พื้น แขนเหยียดตรง มือวางที่เบาะอย่ายุบแขน
  • 22. 22 แบบฝึกการช่วยเหลือ การทรงตัว ท่าหกสูงสาหรับนักเรียนที่เตะเท้าขึ้นเองไม่ได้ วางมือห่างจากผนัง 1 คืบ
  • 25. 25 การทรงตัวท่าสะพานโค้ง วิธีปฏิบัติ สะพานโค้งมีเพื่อนช่วย 1. เพื่อนที่จะช่วยมี 2 คน ยืนหันหน้าเข้าหากันจับมือประสานกันคนหนึ่งจับมือขวา อีกคนหนึ่งจับ มือซ้าย 2 .คนที่จะทา ขึ้นมายืนหันหลังให้คนช่วยเหลือข้างที่จับมือประสานให้แขนผู้ช่วย เหลือรองระดับเอวของคนทา 3. คนที่ทา ยืนแยกเท้าเล็กน้อยมือทั้งสองข้างชูขึ้นด้านบนเหยียดแขนให้ตรง 4. เอนตัวไปด้านหลังลงไปวางมือที่พื้นให้ห่าง 1 ช่วงไหล่พร้อมกับสายตามองที่พื้น ระหว่างมือทั้งสองข้าง จัดระเบียบร่างกายให้แขนทั้งสองข้างเหยียดตรงขา ลา ตัวจัด ให้โค้งให้ได้ส่วนสวยงามถ้าโค้งได้ดีแสดงถึงความอ่อนตัวมาก 5. เวลายกตัวขึ้นให้คนช่วยเหลือใช้มือข้างที่ไม่ได้จับมือประสานรองที่ต้นคอแล้วช่วย พยุงยกเพื่อนขึ้นมาอยู่ในท่ายืนชูมือขึ้นด้านบนเหมือนเดิม วิธีการฝึก 1. ให้นักเรียนจับกลุ่มกัน 3 คน เอาตัวเท่า ๆ กัน 2. เพื่อนที่จะช่วยมี 2 คน ยืนหันหน้าเข้าหากันจับมือประสานกันคนหนึ่งจับมือขวา อีกคนหนึ่ง จับมือซ้าย 3. คนที่จะทา ขึ้นมายืนหันหลังให้คนช่วยเหลือข้างที่จับมือประสานให้แขนผู้ช่วยเหลือ รองระดับเอวของคนทา 4. คนที่ทา ยืนแยกเท้าเล็กน้อยมือทั้งสองข้างชูขึ้นด้านบนเหยียดแขนให้ตรง 5. เอนตัวไปด้านหลังลงไปวางมือที่พื้นให้ห่าง 1 ช่วงไหล่พร้อมกับสายตามองที่พื้น ระหว่างมือทั้งสองข้าง จัดระเบียบร่างกายให้แขนทั้งสองข้างเหยียดตรงขา ลา ตัวจัดให้ โค้งให้ได้ส่วนสวยงาม ถ้าโค้งได้ดีแสดงถึงความอ่อนตัวมาก 6. เวลายกตัวขึ้นให้คนช่วยเหลือใช้มือข้างที่ไม่ได้จับมือประสานรองที่ต้นคอแล้วช่วย พยุงยกเพื่อนขึ้นมาอยู่ในท่ายืนชูมือขึ้นด้านบนเหมือนเดิม
  • 26. 26 ใครจัดระเรียบร่างกายได้ดีแล้วลองสร้างความเชื่อมั่นให้กับตัวเองและตัดสินใจที่ จะลงเองโดยไม่มีเพื่อนช่วย ในการทรงตัวใช้เวลา 10 วินาที ถ้าลงเองครบ 10 วินาทีให้ยุบตัวลงพื้นนอนลง หรือจะยกมือ ยกตัวขึ้นเองก็ได้
  • 27. 27 แบบฝึกการทรงตัว ท่าที่ 3 สะพานโค้งมีผู้ช่วยเหลือ ท่าเตรียมยืนตรง เท้าชิด
  • 28. 28 1.ยืนชูมือขึ้นเหยียดแขนให้ตรง ผู้ช่วยเหลือจะใช้ 1 คน หรือ 2 คนก็ได้ยืนประคองด้านข้าง
  • 29. 29 2.ถ้าใช้ผู้ช่วยเหลือ 2 คน ให้จับมือประสานมัดข้าวต้ม รองที่เอว เอนตัวไปด้านหลัง
  • 30. 30 3. วางมือที่เบาะให้มือห่างกัน 1 ช่วงไหล่ ตามองที่พื้นเบาะเหยียดแขนให้ตรง จัดระเบียบร่างกายทรงตัว ถ้าพร้อมบอกให้เพื่อนปล่อย
  • 32. 32 5.ผู้ช่วยเหลือเข้าประคอง จับมือประสานรองที่หลัง ผลักมือขึ้นยืนทรงตัว แล้วค่อยเดินลงจากเบาะ
  • 38. 38 แบบฝึกการทรงตัว ท่าที่ 4 สะพานโค้ง( ลงเอง ) ท่าเตรียมยืนตรง เท้าชิด
  • 40. 40 2. เอนตัวไปด้านหลัง แขนเหยียดตรง ตามองตามมือ
  • 41. 41 3. วางมือที่เบาะให้มือห่างกัน 1 ช่วงไหล่ ตามองที่พื้นเบาะเหยียดแขนให้ตรง จัดระเบียบร่างกายทรงตัว 10 วินาที ( นับ 1-10 )
  • 43. 43 5. ยืนทรงตัว แล้วค่อยเดินลงจากเบาะ
  • 44. 44 แบบสังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ LT คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมายเครื่องหมายถูก (/) ถ้านักเรียนมีพฤติกรรมตามรายการสังเกต กลุ่มที่ ชื่อสกุล รายการสังเกต รวม 15 สรุป การแบ่ง หน้าที่ ภายใน กลุ่ม (A) การรู้จัก แสดง ความ คิดเห็น (A) การ ทางาน ตาม ขั้นตอน (P) ปฏิบัติ งาน เสร็จ ทันเวลา (A) สาระ ถูกต้อง เป็น ระเบียบ และ สะอาด (APK) ผ่าน ไม่ ผ่าน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 บันทึกเพิ่มเติม………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………ผู้ประเมิน (……………………………….) ผู้ประเมิน ตนเอง เพื่อน ผู้สอน วันที่ ……….เดือน…………………………พ.ศ…………….
  • 45. 45 เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการร่วมมือกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ LT รายการประเมิน 3 2 1 การแบ่งหน้าที่ภายใน กลุ่ม (A) มีการแบ่งหน้าที่ ภายในกลุ่มอย่าง ชัดเจน มีความ รับผิดชอบงานตาม บทบาทหน้าที่ มีการแบ่งหน้าที่ ภายในกลุ่มอย่าง ชัดเจนแต่ไม่ทางาน ตามบทบาทหน้าที่ของ ตน มีการแบ่งหน้าที่ ภายในกลุ่มอย่าง ชัดเจนแต่ไม่ทางาน ตามบทบาทหน้าที่ของ ตน การรู้จักแสดงความ คิดเห็น(A) รู้จักแสดงความ คิดเห็นในกลุ่มดีมาก รู้จักแสดงความ คิดเห็นในกลุ่ม ไม่แสดงความคิดเห็น ในกลุ่มเลย การทางานตาม ขั้นตอน(P) มีการทางานตาม ขั้นตอนดีมาก มีการทางานตาม ขั้นตอน ทางานไม่ตามขั้นตอน ปฏิบัติ งานเสร็จทันเวลา(A) ปฏิบัติงานเสร็จ ทันเวลาตามกาหนด เรียบร้อยดีมาก ปฏิบัติงานเสร็จ ทันเวลาตามกาหนด ไม่เสร็จทันเวลาตามที่ กาหนด สาระถูกต้องเป็น ระเบียบและสะอาด (APK) ชิ้นงานโดยภาพรวม ตัวอักษรอ่านง่าย สะอาดและเป็น ระเบียบสวยงาม ชิ้นงานโดยภาพรวม ตัวอักษรอ่านยาก ชิ้นงานโดยภาพรวม ตัวอักษรอ่านยาก สกปรกมากไม่เป็น ระเบียบ เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินพฤติกรรมระหว่างร่วมกิจกรรมกลุ่ม กาหนดไว้ดังนี้ 3 หมายถึง ดีมาก 2 หมายถึง ดี 1 หมายถึง ปรับปรุง คะแนน 13 – 15 คะแนน หมายถึง ดีมาก คะแนน 10 – 12 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 1 – 9 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
  • 46. 46 แบบประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง การทรงตัวท่า.......................... คาชี้แจง ให้ผู้ประเมินทา เครื่องหมาย / ลงในช่องคะแนนที่นักเรียนปฏิบัติได้ เลขที่ ชื่อ – สกุล ระดับคะแนน หมายเหตุ 3 2 1 0 1 2 3 4 5 ลงชื่อ ………………………… (นายสมบัติ แสนทวีสุข) ผู้ประเมิน
  • 47. 47 เกณฑ์การให้คะแนนการทรงตัวท่า........................................................... ลักษณะการปฏิบัติ ระดับคะแนน ปฏิบัติได้ครบ 5 ลักษณะ ดังนี้ 1. ท่าเตรียมพร้อมถูกต้อง 2. การลงสู่พื้นถูกต้อง 3. การวางมือถูกต้อง 4. การจัดระเบียบร่างกายในการทรงตัวถูกต้อง 5. การยืนทรงตัวถูกต้อง 3 ปฏิบัติได้ 3-4 ลักษณะ 2 ปฏิบัติได้ 1-2 ลักษณะ 1 ปฏิบัติไม่ได้ 0 รายคะแนนที่ปฏิบัติได้เป็นคะแนนด้วยแบบประเมินค่า (Rating Scale) ใช้มาตรฐาน 4 ระดับ คะแนนคือ 3 2 1 0 โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้ 3 คะแนน : การปฏิบัติถูกต้องเป็นไปอย่างอัตโนมัติความสมบูรณ์ถูกต้องตาม รูปแบบ 2 คะแนน : การปฏิบัติระดับกลาง ความผิดพลาดสามารถเห็นได้ชัด ในด้านใด ด้านหนึ่ง ระหว่างการปฏิบัติอย่างอัตโนมัติกับรูปแบบ 1 คะแนน : การปฏิบัติแย่ผิดพลาดทั้งการปฏิบัติอย่างอัตโนมัติและรูปแบบ 0 คะแนน : ไม่ถูกต้องหรือปฏิบัติไม่ได้ การปฏิบัติอย่างอัตโนมัติไม่ถูกต้องหรือ ขาดความสมบูรณ์ของรูปแบบ เกณฑ์การประเมิน ระดับ คะแนน ดี 2.05-3.00 ปานกลาง 1.05-2.00 พอใช้ 0.55-1.00 ปรับปรุง 0.05-0.50
  • 48. 48 แบบทดสอบย่อยท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การทรงตัว คาสั่ง ให้เลือกคา ตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทา เครื่องหมาย X ลงในช่อง ก , ข , ค , และ ง ในกระดาษคา ตอบ 1. ข้อใดคือการทรงตัว ก. การเดิน ข. การยืนด้วยมือ ค. การยืนอยู่กับที่ ง. ถูกทุกข้อ 2. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับหลักของความมั่นคงในการทรงตัว ก. จุดศูนย์ถ่วงของผู้ชายจะอยู่ต่า กว่าจุดศูนย์ถ่วงของผู้หญิง ข. การทรงตัวที่ดี แนวเส้นของจุดศูนย์ถ่วงจะต้องตกอยู่ภายในฐาน ค. วัตถุจะทรงตัวอยู่ไม่ได้ ถ้าแนวของจุดศูนย์ถ่วงตกอยู่ตรงปลายฐาน ง. ข้อ ก และข้อ ข ถูก 3. ในการยืน เราควรยืนในลักษณะใด จึงจะมีการทรงตัวดี ก. ยืน 2 เท้าชิดกัน ข. ยืนด้วยเท้าข้างเดียว ค. ยืนแยกเท้าทั้งสองข้างออกห่างจากกันประมาณ 1 ฟุต ง. ยืนย่อเข่าทั้งสอง โดยที่เท้าทั้งสองข้างห่างจากกัน ประมาณ 1 ช่วงไหล่
  • 49. 49 4. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการทรงตัว ก. คนที่แข็งแรงทรงตัวได้ดีกว่าคนอ่อนแอ ข. คนที่ยืนลืมตาทรงตัวได้ดีกว่าคนที่ยืนหลับตา ค. คนที่ยืนบนพื้นหินขัด ทรงตัวได้ดีกว่าคนที่ยืนบนพื้นดิน ง. ข้อ ข และข้อ ค ถูก 5. ขณะที่ทา ท่าหกกบ น้า หนักตัวตกอยู่ที่ใด ก. ก้น ข. เข่า ค. แขน ง. ศีรษะ 6. ข้อใดเป็นการทา ท่าหกกบที่ถูกต้อง ก. ข้อศอกหนีบเข่า ข. เข่าหนีบข้อศอก ค. วางข้อศอกบนเข่า ง. วางเข่าบนข้อศอก 7. ลักษณะของเท้าที่เตะขึ้นหกสูง ก. เท้างอ เตะขึ้นข้างบน ข. เท้างอ เตะไปข้างหลัง ค. เท้าเหยียด เตะขึ้นข้างบน ง. เท้าเหยียด เตะไปข้างหลัง
  • 50. 50 8. ก่อนที่นักเรียนจะทา ท่าหกสูงได้ นักเรียนควรฝึกอะไรก่อน ก. ฝึกการเตะเท้าขึ้นเบา ๆ ข. ฝึกการเตะเท้าขึ้นพิงกา แพง ค. ฝึกการเตะเท้าขึ้นโดยมีคนช่วยจับ ง. ถูกทั้งข้อ ก ข้อ ข และข้อ ค 9. ถ้านักเรียนทา ท่าหกสูงบนพื้นปูนซิเมนต์ ควรจะลงโดยวิธีใด ก. ลงม้วนหน้า ข. ลงสะพานโค้ง ค. พับเอวเอาเท้าลง ง. ลงยุบข้อลงสะพานลาด 10. ถา้เตะเท้าหกสูง แต่เตะเท้าไม่แรงพอ เวลาลงควรทา อย่างไร ก. ลงม้วนหน้า ข. ลงสะพานโค้ง ค. บิดตัวเอาเท้าลง ง. ดึงเข่าข้างที่ไม่ถนัดเข้าหาหน้าอก ลงด้านเดียวกับที่เตะเท้าขึ้น
  • 51. 51 กระดาษคาตอบแบบทดสอบย่อยท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 รายวิชายดืหยุ่น (พ21104) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร ชื่อ....................................สกุล..................................ห้อง.......................เลขที่................................ .............................................................................................................................................................. ข้อที่ ก ข ค ง คะแนน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 นายสมบัติ แสนทวีสุข ครูผู้สอน