SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
รายการที่ 16

ความหลากหลายทางชีวภาพ
วิทยากร อ.สมาน แกวไวยุทธ
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
1. ในวิวัฒนาการ ขอใดนาจะแสดงลําดับของการเกิดขึ้นของกลุมสิ่งมีชีวิตแบบตางๆ
1. Autotrophic, Anaerobic heterotrophic, Aerobic heterotrophic
2. Aerobic heterotrophic, Anaerobic heterotrophic, Autotrophic
3. Anaerobic heterotrophic, Aerobic heterotrophic, Water oxidizing autotrophic
4. Anaerobic heterotrophic, Water oxidizing autotrophic, Aerobic heterotrophic
2. ทิศทางหลักของวิวัฒนาการของพืชบก คือ
1. การแยกกันอยางชัดเจนของชวง Sporophyte และ Gametophyte
2. การที่ชวง Haploid สั้นลง
3. การที่ชวงสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศสั้นลง
4. การที่ Gametophyte มีความซับซอนเพิ่มขึ้น
3. เกณฑขอใดนําไปใชสรางไดโคโตมัสคียได
1. รากมีการแตกแขนง – ลําตนมีลักษณะเปนหัว
2. ใบออนมวนขดเปนวง – ใบออนจีบคลายพัด
3. ขาเดินมีลักษณะเปนขอ - เคลื่อนที่โดยใชกลามเนื้อผนังลําตัว
4. ผิวหนังมีเกล็ดหอหุม - โครงกระดูกเปนกระดูกออนตลอดชีวิต
.
4. สิ่งมีชีวิตขอใดมีความสัมพันธกันมากที่สุดในแงอนุกรมวิธาน
1. เห็ด ไลเคน ลิเวอรเวิรต
2. หญาถอดปลอง ขาวโพด ไผ
3. สาหรายหางกระรอก ออย มะขาม
4. จอกหูหนู แหนแดง กระจับ
5. กลุมของสิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธใกลชิดกันมากที่สุด ไดแก
1. ปลา ไก คน
2. ปลาดาว แมงกระพรุน ปลิงทะเล
3. ไสเดือนดิน หนอนตัวกลม พลานาเรีย
4. แมงมุม แมงดาทะเล แมงกระพรุน
"ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : ความหลากหลายทางชีวภาพ

1
6. อาจกลาวไดวาสายวิวัฒนาการของพวกไบรโอไฟตเปนเสนทางตัน เนื่องจาก
1. ไมมีรากที่แทจริง
2. เนื้อเยื่อที่ใชในการลําเลียงมีการพัฒนานอย
3. ในวัฏจักรชีวิตมีแกมีโตไฟตเปนชวงชีวิตที่เดน
4. การสืบพันธุแบบอาศัยเพศตองอาศัยน้ํา
7. ตามทฤษฎีวิวัฒนาการของดารวิน ปจจัยใดเปนสิ่งสําคัญสําหรับการคัดเลือกตามธรรมชาติ
1 = มิวเทชัน
2 = สภาวะแวดลอม
3. = ความแตกตางแปรผันทางพันธุกรรม
1. เฉพาะขอ 1 และ 2
2. เฉพาะขอ 1 และ 3
4. ทั้ง 1, 2 และ 3
3. เฉพาะขอ 2 และ 3
8. ในภาวะที่ปราศจากการอพยพ การเกิดมิวเทชัน การคัดเลือกตามธรรมชาติในประชากรของสิ่งมีชีวิตที่มี
การผสมพันธุแบบสุมนั้น จะเปนอยางไร
1. ไมมีการเปลี่ยนแปลงของ Gene pool
2. จะเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการไปรวดเร็วมาก
3. จะไมเกิดการรวมกลุมใหมของยีน (Genetic recombination)
4. Heterozygote จะไดเปรียบกวา Homozygote
9. การแยกประชากรยอยออกจากประชากรบรรพบุรุษ จะเกิดผลอยางไรในระยะยาว
1. Speciation
2. Adaptation
3. Macroevolution
4. Phyletic evolution
10. กระบวนการ Speciation จะสําเร็จสมบูรณหรือไมขึ้นอยูกับกลไกใด
1. สภาวะแวดลอมที่คอนขางคงที่
2. การแบงแยกกันทางการสืบพันธุ
3. ประชากรที่มีขนาดใหญและปรับตัวไดดี
4. ความสามารถในการผสมพันธุกันระหวางกลุมยอย

"ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : ความหลากหลายทางชีวภาพ

2
11. ปรากฏการณใดที่เอื้ออํานวยใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด
1. Anagenesis
2. Cladogenesis
3. Phyletic evolution
4. Sympatric speciation
12. การสูญพันธุของสปชีสใด สปชีสหนึ่ง เกิดจากสาเหตุใด
1. ปริมาณของ DNA คงที่
2. ประชากรมีจํานวนมากเกินไป
3. การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิสิ่งแวดลอม
4. ขาดความหลากหลายทางพันธุกรรมที่จะปรับใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอม
13. การแตกแขนงสปชีสของประชากรมนุษย จนถึงขั้นแบงแยกออกเปน 2 หรือ 3 สปชีส คงจะไมเกิดขึ้น
ในอนาคตเพราะเหตุใด
1. มนุษยมีการปรับตัวมากเกินไป
2. มนุษยไดววัฒนาการจนถึงจุดสุดทายแลว
ิ
3. ความหลากหลายทางพันธุกรรมของมนุษยมีไมมากนัก
4. ประชากรมนุษยสวนมากมีขนาดใหญ และไมไดแบงแยกตัดขาดออกจากกันอยางชัดเจนจึงยังมี
การถายทอดยีนระหวางประชากร
14. ถาประชากร 2 แหง มีการติดตอและถายทอดยีนกันอยางสม่ําเสมอ จะมีอะไรเกิดขึ้นกับประชากรทั้ง
2 แหงนั้น
1. มีความแตกตางของจีโนไทปเพิ่มขึ้น
2. มีความถี่อัลลีลใกลเคียงกันมาก
3. ความแตกตางแปรผันทางพันธุกรรมลดลง
4. มี Genetic drift เพิ่มขึ้น
15. ขอใดเปนตัวอยางของ Convergent evolution
ก = คางคาว แมลง และนก มีปกสําหรับบิน
ข = ใบพาย (Paddle) ของโลมา แมวน้ํา ปลาวาฬ
ค = นกเพนกวิน ปลาโลมา ปลาฉลาม มีรูปรางเรียวเหมือนปลา
ง = สลัดได แคคตัส มีหนามแหลมปองกันการเสียน้ํา
1. เฉพาะ ก และ ข
2. เฉพาะ ค และ ง
3. เฉพาะ ก, ข และ ค
4. ทั้ง ก, ข, ค และ ง

"ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : ความหลากหลายทางชีวภาพ

3
16. ปรากฏการณที่จําเปนตอการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Natural selection) ของสิ่งมีชีวิต ไดแก
1. การมีมิวเทชันและการรวมกลุมใหมของยีน
2. การอพยพยายถิ่นและการแยกตามสภาพภูมิศาสตร
3. การผสมพันธุแบบอาศัยเพศและการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม
4. การมีประชากรจํานวนมาก และการแขงขันเพื่อความอยูรอด
17. ขอใดเปนกลไกพื้นฐานที่ทําใหเกิดวิวัฒนาการในระดับยีน (Microevolution)
1. การปรับเปลี่ยน (Modifications)
2. ความยืดหยุนของ Phenotype
3. Mutations
4. การเปลี่ยนแบบ Phenotype (Phenocopies)
18. ขอใดที่ไมสนับสนุนทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของชารลส ดารวิน
2. การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ
1. การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ
3. ความแตกตางแปรผันของลักษณะพันธุกรรม 4. สภาพแวดลอมของธรรมชาติที่แตกตางกัน
19. ลักษณะใหมๆ มักเกิดขึ้นในวิวัฒนาการเนื่องจาก
1. การสะสมมิวเทชันในยีนแตละยีนซึ่งเดิมเคยควบคุมลักษณะอื่น
2. การ Duplicate ยีน และสะสมมิวเทชันในยีนสวนที่เพิ่มขึ้นมา
3. การเกิดมิวเทชันที่ยีนควบคุม
4. การบันทึกความจําลงไปใน Genotype เกี่ยวกับ Phenotype ที่ปรับตัวไดดี
20. ประชากรแหงหนึ่งมีคุณสมบัติตามหลักฮารดีไวนเบิรก มีอัลลีลดอยควบคุมตาสีฟา (b) ประมาณรอยละ
20 จงคาดคะเนวาในรุนลูกจะมีคนที่เปนพาหะ (carrier) สําหรับอัลลีลนี้ประมาณรอยละเทาไร
1. 4
2. 8
3. 16
4. 32

"ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : ความหลากหลายทางชีวภาพ

4

More Related Content

What's hot

สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
Wichai Likitponrak
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
สำเร็จ นางสีคุณ
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
G biology bio8
G biology bio8G biology bio8
G biology bio8
Bios Logos
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
Nattapong Boonpong
 
Ig biology bio1
Ig biology bio1Ig biology bio1
Ig biology bio1
Bios Logos
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
Phattarawan Wai
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
Bios Logos
 

What's hot (20)

สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
G biology bio8
G biology bio8G biology bio8
G biology bio8
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
Ig biology bio1
Ig biology bio1Ig biology bio1
Ig biology bio1
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 

Similar to Biology bio16

2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
sincerecin
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ข้อสอบวิทยาศาสตร์
ข้อสอบวิทยาศาสตร์
Phichak Penpattanakul
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
Supisara Jaibaan
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์
SiwadolChaimano
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
just2miwz
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
Preeyaporn Chamnan
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย)
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย)2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย)
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย)
Phakhanat Wayruvanarak
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
neenpd11
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
LPRU
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
sutham
 
2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)
2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)
2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)
teerachon
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
Nattarika Wonkumdang
 
วิชา วิทยาศาสตร์
วิชา วิทยาศาสตร์วิชา วิทยาศาสตร์
วิชา วิทยาศาสตร์
Chariyakornkul
 

Similar to Biology bio16 (20)

=U;t
=U;t=U;t
=U;t
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ข้อสอบวิทยาศาสตร์
ข้อสอบวิทยาศาสตร์
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย)
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย)2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย)
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย)
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
 
2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)
2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)
2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
2
22
2
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิชา วิทยาศาสตร์
วิชา วิทยาศาสตร์วิชา วิทยาศาสตร์
วิชา วิทยาศาสตร์
 
2
22
2
 

More from Bios Logos

Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Bios Logos
 
Biology bio12
 Biology bio12 Biology bio12
Biology bio12
Bios Logos
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
Bios Logos
 
Biology bio15
 Biology bio15 Biology bio15
Biology bio15
Bios Logos
 
Biology bio14
 Biology bio14 Biology bio14
Biology bio14
Bios Logos
 
Biology bio13
 Biology bio13 Biology bio13
Biology bio13
Bios Logos
 
Biology bio11
 Biology bio11 Biology bio11
Biology bio11
Bios Logos
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10
Bios Logos
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
Bios Logos
 
G biology bio6
G biology bio6G biology bio6
G biology bio6
Bios Logos
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5
Bios Logos
 
ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1
Bios Logos
 
นอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลนอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดล
Bios Logos
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Bios Logos
 

More from Bios Logos (20)

Movement
MovementMovement
Movement
 
Keygatpat1 53
Keygatpat1 53Keygatpat1 53
Keygatpat1 53
 
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
 
Biology bio12
 Biology bio12 Biology bio12
Biology bio12
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
 
Biology bio15
 Biology bio15 Biology bio15
Biology bio15
 
Biology bio14
 Biology bio14 Biology bio14
Biology bio14
 
Biology bio13
 Biology bio13 Biology bio13
Biology bio13
 
Biology bio11
 Biology bio11 Biology bio11
Biology bio11
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
 
G biology bio6
G biology bio6G biology bio6
G biology bio6
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5
 
ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1
 
นอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลนอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดล
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
Endocrine
EndocrineEndocrine
Endocrine
 
Ecs
EcsEcs
Ecs
 
Ccs (2)
Ccs (2)Ccs (2)
Ccs (2)
 

Biology bio16

  • 1. รายการที่ 16 ความหลากหลายทางชีวภาพ วิทยากร อ.สมาน แกวไวยุทธ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 1. ในวิวัฒนาการ ขอใดนาจะแสดงลําดับของการเกิดขึ้นของกลุมสิ่งมีชีวิตแบบตางๆ 1. Autotrophic, Anaerobic heterotrophic, Aerobic heterotrophic 2. Aerobic heterotrophic, Anaerobic heterotrophic, Autotrophic 3. Anaerobic heterotrophic, Aerobic heterotrophic, Water oxidizing autotrophic 4. Anaerobic heterotrophic, Water oxidizing autotrophic, Aerobic heterotrophic 2. ทิศทางหลักของวิวัฒนาการของพืชบก คือ 1. การแยกกันอยางชัดเจนของชวง Sporophyte และ Gametophyte 2. การที่ชวง Haploid สั้นลง 3. การที่ชวงสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศสั้นลง 4. การที่ Gametophyte มีความซับซอนเพิ่มขึ้น 3. เกณฑขอใดนําไปใชสรางไดโคโตมัสคียได 1. รากมีการแตกแขนง – ลําตนมีลักษณะเปนหัว 2. ใบออนมวนขดเปนวง – ใบออนจีบคลายพัด 3. ขาเดินมีลักษณะเปนขอ - เคลื่อนที่โดยใชกลามเนื้อผนังลําตัว 4. ผิวหนังมีเกล็ดหอหุม - โครงกระดูกเปนกระดูกออนตลอดชีวิต . 4. สิ่งมีชีวิตขอใดมีความสัมพันธกันมากที่สุดในแงอนุกรมวิธาน 1. เห็ด ไลเคน ลิเวอรเวิรต 2. หญาถอดปลอง ขาวโพด ไผ 3. สาหรายหางกระรอก ออย มะขาม 4. จอกหูหนู แหนแดง กระจับ 5. กลุมของสิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธใกลชิดกันมากที่สุด ไดแก 1. ปลา ไก คน 2. ปลาดาว แมงกระพรุน ปลิงทะเล 3. ไสเดือนดิน หนอนตัวกลม พลานาเรีย 4. แมงมุม แมงดาทะเล แมงกระพรุน "ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : ความหลากหลายทางชีวภาพ 1
  • 2. 6. อาจกลาวไดวาสายวิวัฒนาการของพวกไบรโอไฟตเปนเสนทางตัน เนื่องจาก 1. ไมมีรากที่แทจริง 2. เนื้อเยื่อที่ใชในการลําเลียงมีการพัฒนานอย 3. ในวัฏจักรชีวิตมีแกมีโตไฟตเปนชวงชีวิตที่เดน 4. การสืบพันธุแบบอาศัยเพศตองอาศัยน้ํา 7. ตามทฤษฎีวิวัฒนาการของดารวิน ปจจัยใดเปนสิ่งสําคัญสําหรับการคัดเลือกตามธรรมชาติ 1 = มิวเทชัน 2 = สภาวะแวดลอม 3. = ความแตกตางแปรผันทางพันธุกรรม 1. เฉพาะขอ 1 และ 2 2. เฉพาะขอ 1 และ 3 4. ทั้ง 1, 2 และ 3 3. เฉพาะขอ 2 และ 3 8. ในภาวะที่ปราศจากการอพยพ การเกิดมิวเทชัน การคัดเลือกตามธรรมชาติในประชากรของสิ่งมีชีวิตที่มี การผสมพันธุแบบสุมนั้น จะเปนอยางไร 1. ไมมีการเปลี่ยนแปลงของ Gene pool 2. จะเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการไปรวดเร็วมาก 3. จะไมเกิดการรวมกลุมใหมของยีน (Genetic recombination) 4. Heterozygote จะไดเปรียบกวา Homozygote 9. การแยกประชากรยอยออกจากประชากรบรรพบุรุษ จะเกิดผลอยางไรในระยะยาว 1. Speciation 2. Adaptation 3. Macroevolution 4. Phyletic evolution 10. กระบวนการ Speciation จะสําเร็จสมบูรณหรือไมขึ้นอยูกับกลไกใด 1. สภาวะแวดลอมที่คอนขางคงที่ 2. การแบงแยกกันทางการสืบพันธุ 3. ประชากรที่มีขนาดใหญและปรับตัวไดดี 4. ความสามารถในการผสมพันธุกันระหวางกลุมยอย "ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : ความหลากหลายทางชีวภาพ 2
  • 3. 11. ปรากฏการณใดที่เอื้ออํานวยใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด 1. Anagenesis 2. Cladogenesis 3. Phyletic evolution 4. Sympatric speciation 12. การสูญพันธุของสปชีสใด สปชีสหนึ่ง เกิดจากสาเหตุใด 1. ปริมาณของ DNA คงที่ 2. ประชากรมีจํานวนมากเกินไป 3. การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิสิ่งแวดลอม 4. ขาดความหลากหลายทางพันธุกรรมที่จะปรับใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอม 13. การแตกแขนงสปชีสของประชากรมนุษย จนถึงขั้นแบงแยกออกเปน 2 หรือ 3 สปชีส คงจะไมเกิดขึ้น ในอนาคตเพราะเหตุใด 1. มนุษยมีการปรับตัวมากเกินไป 2. มนุษยไดววัฒนาการจนถึงจุดสุดทายแลว ิ 3. ความหลากหลายทางพันธุกรรมของมนุษยมีไมมากนัก 4. ประชากรมนุษยสวนมากมีขนาดใหญ และไมไดแบงแยกตัดขาดออกจากกันอยางชัดเจนจึงยังมี การถายทอดยีนระหวางประชากร 14. ถาประชากร 2 แหง มีการติดตอและถายทอดยีนกันอยางสม่ําเสมอ จะมีอะไรเกิดขึ้นกับประชากรทั้ง 2 แหงนั้น 1. มีความแตกตางของจีโนไทปเพิ่มขึ้น 2. มีความถี่อัลลีลใกลเคียงกันมาก 3. ความแตกตางแปรผันทางพันธุกรรมลดลง 4. มี Genetic drift เพิ่มขึ้น 15. ขอใดเปนตัวอยางของ Convergent evolution ก = คางคาว แมลง และนก มีปกสําหรับบิน ข = ใบพาย (Paddle) ของโลมา แมวน้ํา ปลาวาฬ ค = นกเพนกวิน ปลาโลมา ปลาฉลาม มีรูปรางเรียวเหมือนปลา ง = สลัดได แคคตัส มีหนามแหลมปองกันการเสียน้ํา 1. เฉพาะ ก และ ข 2. เฉพาะ ค และ ง 3. เฉพาะ ก, ข และ ค 4. ทั้ง ก, ข, ค และ ง "ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : ความหลากหลายทางชีวภาพ 3
  • 4. 16. ปรากฏการณที่จําเปนตอการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Natural selection) ของสิ่งมีชีวิต ไดแก 1. การมีมิวเทชันและการรวมกลุมใหมของยีน 2. การอพยพยายถิ่นและการแยกตามสภาพภูมิศาสตร 3. การผสมพันธุแบบอาศัยเพศและการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม 4. การมีประชากรจํานวนมาก และการแขงขันเพื่อความอยูรอด 17. ขอใดเปนกลไกพื้นฐานที่ทําใหเกิดวิวัฒนาการในระดับยีน (Microevolution) 1. การปรับเปลี่ยน (Modifications) 2. ความยืดหยุนของ Phenotype 3. Mutations 4. การเปลี่ยนแบบ Phenotype (Phenocopies) 18. ขอใดที่ไมสนับสนุนทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของชารลส ดารวิน 2. การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ 1. การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ 3. ความแตกตางแปรผันของลักษณะพันธุกรรม 4. สภาพแวดลอมของธรรมชาติที่แตกตางกัน 19. ลักษณะใหมๆ มักเกิดขึ้นในวิวัฒนาการเนื่องจาก 1. การสะสมมิวเทชันในยีนแตละยีนซึ่งเดิมเคยควบคุมลักษณะอื่น 2. การ Duplicate ยีน และสะสมมิวเทชันในยีนสวนที่เพิ่มขึ้นมา 3. การเกิดมิวเทชันที่ยีนควบคุม 4. การบันทึกความจําลงไปใน Genotype เกี่ยวกับ Phenotype ที่ปรับตัวไดดี 20. ประชากรแหงหนึ่งมีคุณสมบัติตามหลักฮารดีไวนเบิรก มีอัลลีลดอยควบคุมตาสีฟา (b) ประมาณรอยละ 20 จงคาดคะเนวาในรุนลูกจะมีคนที่เปนพาหะ (carrier) สําหรับอัลลีลนี้ประมาณรอยละเทาไร 1. 4 2. 8 3. 16 4. 32 "ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : ความหลากหลายทางชีวภาพ 4