SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
เต็ ม ใจให้ บ ริ ก าร ด้ ว“ยผลงานคุ ณ ภาพ
                              Add your company slogan ”




                     ศูนย์เครืองมือ
                              ่
                      วิทยาศาสตร์
                มหาวิทยาลัยสงขลา
                           นคริเลิศ
  หน่วยงานที่มีแนวปฏิบติเป็น
                        ั       นทร์

“ ด้านการพัฒนาการบริหารจัดการ
                      เชิงรุก ”

                                           LOGO
ก่อนจะได้เริ่มบริหารจัดการเชิงรุก
      การดำาเนินงานในระยะ 15 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.
     2535
        เป็นการดำาเนินงานแบบย่างก้าวอย่างสุขุม
     รอบคอบ
      การดำาเนินงานในช่วง 5 ปีหลัง เป็นการเดิน
     ทางแบบก้าวกระโดด
        โดยใช้หลักการประเมินความพร้อมของ
     องค์กรที่เรียกว่า “ หลัก 7C’s ”
ก่อนจะได้เริ่มบริหารจัดการเชิงรุก
     หลัก 7C’s ประกอบด้วย
      ความสามารถองค์กร (Capacity)
      ความสามารถของคน (Capability)
      วัฒนธรรมองค์กร (Culture)
      บรรยากาศและสิ่งแวดล้อม (Climate)
      ทัศนคติและความเชื่อของลูกค้าที่มีต่อองค์กร
     (Customer Experience)
      ความรู้และความเข้าใจในเป้าหมายร่วมกัน
     (Cohesiveness)
      ความสามารถที่จะปรับเปลี่ยนตามปัจจัย
     ภายนอกหรือสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ
        (Change Readiness)
ก่อนจะได้เริ่มบริหารจัดการเชิงรุก
     ปีพ.ศ. 2545 พบปัญหาบุคลากรไม่เพียงพอ ดัง
     นั้นจะต้องพยายามปรับฐานทรัพยากรบุคคลให้
     เพียงพอต่อการให้บริการและพึ่งพาตนเอง จึง
     ทำาให้ปัจจุบันมี
      บุคลากรฝ่ายบริการฯ (นักวิทยาศาสตร์)
     จำานวน 19 คน
      บุคลากรฝ่ายซ่อมบำารุงฯ จำานวน 4 คน
      บุคลากรสำานักเลขานุการ จำานวน 6 คน
      รวมทั้งสิ้น 29 คน
     โดยแบ่งตามวุฒิการศึกษา
      ปริญญาตรี 13 คน
การวางรากฐานการบริหารจัดการเชิง
รุก
     สนับสนุนการฝึกอบรม การทำาวิจัย
     การสร้างวัฒนธรรมองค์กรในสังคมเป็นสังคม
    คุณภาพ คือ
       “ การเป็นคนดีและมีระบบที่ดี ”
     การเป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ คือ
       “ คิดเป็นและนำาไปประยุกต์ใช้ได้ ”
     เป็นสังคมสมานฉันท์และเอืออาทร คือ
                              ้
       “ มีความรักและสามัคคี โดยมีระบบคุณภาพ
    ISO 9001:2000
       และ ISO/IEC 17025 กำากับการปฏิบัติงาน ”
     เน้นการทำางานเป็นทีม
       โดยจัดตั้งทีม BSC ทีม KM และทีมการตลาด
การวางรากฐานการบริหารจัดการเชิง
รุก
     การส่งเสริมให้มีการสร้างนวัตกรรมและสิ่งประ
    ดิษฐ์ใหม่ๆ
     การใช้งานวิจัยเป็นฐานในการตัดสินใจและเพิ่ม
    การเรียนรู้
     การสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทั้ง
    ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
     การสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการ
    ทำางาน
     การกำาหนดคุณภาพของการบริการในระดับ
    ความพึงพอในมากกว่า 85%
     การจัด Workshop นอกสถานที่เพื่อการแลก
    เปลี่ยนเรียนรู้และ
Best Practice - การพัฒนาการบริหาร
จัดการเชิงรุก
  Best Practice หรือ หน่วยงานที่มแนวปฏิบติเป็นเลิศ
                                     ี      ั
  คือหน่วยงานที่มรปแบบการดำาเนินงานด้านใดด้านหนึง
                 ี ู                                ่
  ที่ได้คดสรรว่า
         ั
  เป็นรูปแบบการดำาเนินงานที่ดำาเนินการได้อย่างดี หรือ
  เป็นรูปแบบทียังไม่มีที่ไหนปฏิบัติรุก (Dynamic
               ่
  การพัฒนาการบริหารจัดการเชิง
  Management)
  คือการสร้าง/ ทำาให้มีระบบการบริหารที่ให้ความสำาคัญ
  กับ
   การวางแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อความเป็นเลิศทางธุรกิจ
  (Strategic Management Planing)
   การวัดประเมินผลและดัชนีชี้วัดผลสำาเร็จของงาน
  (Balanced Scorecard and KPIs)
   การบริหารเวลา (Effective Time Management)
การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์
เครื่องมือวิทยาศาสตร์

       “ เป็นการบริหารแบบป้องกันและริเริ่ม
 ในการดำาเนินการไปสู่การพัฒนาและความก้าวหน้า
ซึ่งต้องอาศัยวิสัยทัศน์และความสามารถของผู้บริหาร
            ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
       เห็นทิศทางการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
    เพื่อกำาหนดรูปแบบการบริหารจัดการในเชิงรุก
ที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
     และตักตวงโอกาสตลอดจนหลีกเลี่ยงอุปสรรค
 ที่จะกระทบศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ไว้ล่วงหน้า ”
การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
      1. การวางแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อความเป็นเลิศ
      ทางธุรกิจ
      (Strategic Management Planning)
     ภาพระยะยาวที่ต้องการให้ศูนย์เครื่องมือฯเป็น
    และกำาหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
       เพื่อเป็นทิศทางและเป็นหลักชัยในการทำางาน
     เป็นวิสัยทัศน์ร่วมของบุคลากรทุกฝ่าย และเป็น
    วิสัยทัศน์ที่สอดคล้องกับ
       มหาวิทยาลัย บริบทท้องถิน และชุมชน
                                ่
การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
2. การวัดประเมินผลและดัชนีชี้วัดผลสำาเร็จของงาน
(Balanced Scorecard and KPIs)ีบทบาทสำาคัญในการทำา
                                ที่ม
                                 หน้าที่วัดประเมินผลความ
 ฝ่ายประกันคุณภาพ               สำาเร็จของการดำาเนินงานของ
 คณะทำางาน Balanced       Scorecard (BSC)
                                 ระบบคุณภาพ และแผน
                                 ยุทธศาสตร์ของศูนย์เครื่อง
                                 มือฯ
 1. KPI ที่ศนย์
            ู        2. KPI ตาม               3. ตามแผน
เครืองมือฯ
    ่                มาตรฐานระบบ              ยุทธศาสตร์
ได้ทำาข้อตกลงไว้กบ
                 ั   ประกันคุณภาพที่          ของศูนย์เครื่อง
มหาวิทยาลัย          ศูนย์เครื่องมือฯได้นำา   มือฯ ซึงคณะ
                                                     ่
                     มาปฏิบัติ ได้แก่         ทำางานได้
                     มาตรฐาน ISO              กำาหนด KPI
                     9001:2000 และ            โดยคำานึงถึง
                     มาตรฐาน ISO/IEC          หลัก
การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
    3. การบริหารเวลา (Effective Time
    Management)
    การกำาหนดแผนในการปฏิบัติงานในทุกๆ เรื่อง
    กระบวนการภายใน ได้แก่
     แผนปฏิบัติงานประจำาปีของศูนย์เครื่องมือฯ
     แผนการดำาเนินงานระบบประกันคุณภาพ
     แผนการซ่อมบำารุงฯ
     แผนการสอบเทียบ
     แผนการตรวจติดตามคุณภาพภายใน
การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
    3. การบริหารเวลา (Effective Time
    Management)
    การพัฒนางานและการบริการลูกค้า
     การลดระยะเวลาปฏิบัติงานในการบริการ
    ทดสอบ
     การลดระยะเวลาการติดต่อชำาระค่าบริการของ
    ลูกค้า
     การใช้แผนการตลาดและประชาสัมพันธ์เชิงรุก
     แผนการดำาเนินงาน BSC
การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
    4. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
    การบริหารความเสี่ยงผ่านทางระบบประกัน
    คุณภาพ โดยมีเป้าหมายการดำาเนินงานในแต่ละ
    กระบวนการเป็นตัวควบคุม เช่น
     การควบคุมให้เครื่องมืออยูในสภาพพร้อมใช้
                               ่
    งานไม่ตำ่ากว่า 92%
     การควบคุมระดับความพึงพอใจของลูกค้าไม่
    ตำ่ากว่า 85%
การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
    4. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
    การบริหารความเสี่ยงผ่านระบบการบริหาร
    ทรัพยากรบุคคล เพื่อทำานุบำารุงรักษาไว้ซึ่ง
    บุคลากรที่มีคุณภาพของศูนย์เครื่องมือฯ
     การจัดบรรยากาศการทำางาน
     การสนับสนุนการพัฒนาตนเองในหลากหลาย
    รูปแบบ
     การส่งเสริมความก้าวหน้าของบุคลากรแต่ละ
    คนโดยการให้รับตำาแหน่งในเชิง
       การบริหาร
การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
    5. การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change
    Management)
    เป็นการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงรุก คือ เน้นที่
    การเปลี่ยนแปลงตนเอง ก่อนที่จะได้รับการ
    เปลี่ยนแปลงจากผู้อน ซึ่งต้องอาศัยการวิเคราะห์
                       ื่
    สถานการณ์ และแนวโน้มของสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน
    อนาคต เพื่อเตรียมรองรับถ้าการเปลี่ยนแปลงที่
    เกิดขึ้นมีผลในเชิงลบ
     การจัดกิจกรรม Road Show ยังโรงงาน
    อุตสาหกรรม
     การจัดทำาสื่อประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ
     การจัดกิจกรรม Open House
การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  จากการที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีนโยบายที่มงสู่
                                               ุ่
  การเป็น
  “ มหาวิทยาลัยที่เน้นวิจัย (Research-Oriented
  University) ”
  และมหาวิทยาลัยที่มงบริการวิชาการในลักษณะของ
                      ุ่
  การเป็นผู้นำาทางวิชาการ

  ทำาให้ศนย์เครืองมือวิทยาศาสตร์ซึ่งมีความพร้อมทั้งใน
         ู      ่
  ด้านทรัพยากรบุคคล
  และทรัพยากรที่เป็นองค์ความรูดานบริการทดสอบ การ
                              ้ ้
  ใช้งานเครืองมือฯ
            ่
  และการซ่อมบำารุงฯ
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

  การนำาองค์กรของคณะผู้บริหาร
  ในช่วงปีงบประมาณ 2548 คณะผู้บริหารศูนย์เครืองมือ
                                                ่
  วิทยาศาสตร์ได้กำาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ
  ยุทธศาสตร์ 5 ด้านหลักเพื่อเป็นแนวทางในการบรรลุ
  วิสัยทัศน์ ภายใต้ชื่อแผนยุทธศาสตร์ระยะ 3 ปี (2549
  – 2551)
   การวางแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อความเป็นเลิศทางธุรกิจ
  (Strategic Management Planing)
   การวัดประเมินผลและดัชนีชี้วัดผลสำาเร็จของงาน
  (Balanced Scorecard and KPIs')
                 โดยผ่านกระบวนการ
   การบริหารเวลา (Effective Analysis
             วิเคราะห์ SWOT Time Management)
   การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

  การนำาองค์กรของคณะผู้บริหาร

   ภายใต้แนวคิดสำาคัญ คือ
   “ การคำานึงถึงความต้องการหรือผลประโยชน์ของผู้รับ
                 บริการ และผู้มส่วนได้เสีย
                               ี
       โดยยึดหลักความโปร่งใสและความชัดเจน ”

   สร้างมาตรฐานในการทำางาน
    “ ใช้มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9001:2000 และ
              มาตรฐาน ISO/IEC 17025
             มาเป็นกรอบในการปฏิบัตงาน ”
                                  ิ
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

  การนำาองค์กรของคณะผู้บริหาร

   มีการจัดตังคณะทำางาน Balanced Scorecard
               ้
  (BSC)
     “ เพื่อทำาหน้าที่ในการติดตามและประเมินผลแผน
                 ยุทธศาสตร์ของศูนย์เครื่องมือฯ
     โดยใช้ KPI เป็นเครืองมือในการรายงานระดับผล
                          ่
                 สัมฤทธิของแผนยุทธศาสตร์ ”
                        ์

   มีการจัดตังคณะทำางาน Knowledge Management
              ้
  (KM)
  “ ที่มบทบาทสำาคัญในการกระตุนให้เกิดการแลกเปลี่ยน
        ี                    ้
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

  การนำาองค์กรของคณะผู้บริหาร

   การคัดเลือกบุคลากรคุณภาพประจำาปี
   “ การให้ความสำาคัญกับการส่งเสริมให้บคลากรทำางาน
                                       ุ
                     อย่างถูกต้อง
       ตามกฎระเบียบ มาตรฐาน และหลักจริยธรรม
     โดยการกำาหนดให้มการคัดเลือกบุคลากรคุณภาพ
                      ี
                        ประจำาปี
       การมอบรางวัล และการให้ความดีความชอบ ”

   ผลงานสำาคัญ
     “ การนำาองค์กรที่โดดเด่นของคณะผู้บริหาร คือ
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ



  ช่วยให้บุคลากรพัฒนาตนเอง
     และใช้ศกยภาพให้เต็มที่
            ั
                                      วิสัยทัศน์
                                     ยุทธศาสตร์
างบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิบัตงาน
                              ิ
                                    ผลการดำาเนิน
                                    งานทีเป็นเลิศ
                                           ่
บสนุนความเจริญก้าวหน้าของบุคลากร
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

การจัดโครงสร้างองค์กรและระบบการทำางานทั้งที่
เป็นทางการ
และไม่เป็นทางการเพื่อส่งเสริมศักยภาพและขีด
ความสามรถของบุคลากร
               เช่น ฝ่ายประกันคุณภาพ ,
       ทางการ คณะทำางานพัฒนาความ
                 สามารถของห้องปฏิบัตการ
                                    ิ
                 ตามมาตรฐาน มอก. 17025

                  คณะทำางาน KM
       ไม่เป็น    คณะทำางาน BSC
       ทางการ     คณะทำางาน การตลาดและ
                  ประชาสัมพันธ์เชิงรุก
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

    กำาหนดโครงสร้างของระบบการพัฒนา
บุคลากร
ข้อตกลงการปฏิบัติงานกำาหนดให้
          พัฒนา/ อบรม
 2 เรื่อง/ คน/ ปี และกำาหนดเป็น
     KPI ของศูนย์เครื่องมือฯ              การจัดทำา
                                        Competencies
  การประเมิน                           ของแต่ละตำาแหน่ง
 ประสิทธิผลของ
  ทุกการอบรม


                          การจัดทำา Job Description Training
                           Needs ในทุกตำาแหน่งงาน และจัดทำา
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ
     การสร้างช่องทางการพัฒนา
ตนเองที่หลากหลาย

                การอบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ
       การพัฒนา
                       On the job training
        ตนเอง
                                วิจัย

                         ศึกษาด้วยตนเอง

                พัฒนาเทคนิควิธีการทดสอบใหม่
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ
     การสร้างความผาสุกและความพึง
พอใจให้กับบุคลากร
                      สภาพแวดล้อม
                       ที่เหมือนบ้าน
                (สิ่งอำานวยความสะดวก)

      จัดกิจกรรม                      จัดระบบ
    นอกสถานที่ปีละ               ความปลอดภัยสำาหรับ
    อย่างน้อย 2 ครั้ง                การทำางาน
                        จัดกิจกรรม   ยามวิกาล
                      ร่วมกันใน
                    เทศกาลสำาคัญๆ
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ
     การพัฒนาระบบคุณภาพ

     ภาระงานหลักของศูนย์เครื่องมือฯ คือให้บริการการ
     ใช้เครืองมือวิจยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการ
            ่       ั
     เรียนการสอน การวิจย และการบริการวิชาการ แก่
                          ั
     คณาจารย์ นักวิจัย นักศึกษา ตลอดจนให้บริการทาง
     วิชาการแก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก
     มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐ เอกชน

     ศูนย์เครื่องมือฯ จึงได้ให้ความสำาคัญกับการตอบ
     สนองความพึงพอใจสูงสุดแก่ ผู้ใช้บริการ ที่ผ่านมา
     ได้มการพัฒนาและปรับปรุงระบบการปฏิบตงาน
         ี                                    ั ิ
     ตลอดจนการให้บริการที่มคณภาพ โดยใช้ระบบ
                                ี ุ
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

     การใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศในการปฏิบัติ
     งานและการตัดสินใจ

     มีการดำาเนินการในการคัดเลือกและรวบรวมข้อมูล
     สารสนเทศที่มความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน เพื่อใช้
                  ี
     ในการติดตามผลการปฏิบัตงาน และผลการดำาเนิน
                              ิ
     งานของศูนย์เครืองมือฯ โดยรวม ภายใต้หลักการ
                    ่
     บริหารระบบสารสนเทศ 11 ประการ คือ
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

     การใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศในการปฏิบัติ
     งานและการตัดสินใจ
     มอบหมายให้วศวกรเป็นผู้ดแลอุปกรณ์ตางๆ และจัด
                    ิ        ู          ่
     ทำาโปรแกรมจัดการทางด้านฐานข้อมูลภายใต้การ
     ประสานงานอย่างใกล้ชิดของผู้ใช้งานข้อมูลและผู้ที่
     เกี่ยวข้อง โดยมีโปรแกรมใช้งานตามระบบงานของ
     ศูนย์เครื่องมือฯ เช่น
      โปรแกรมการรับตัวอย่าง
      ระบบฐานข้อมูลวัสดุ
      โปรแกรมออกใบเสร็จ
      โปรแกรมรายงานสถานะผลการทดสอบและการชำาระค่า
     บริการ
      โปรแกรมชั่วโมงการใช้งานเครื่องมือวิจยฯ
                                           ั
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ
โปรแกรมการรับ
   ตัวอย่าง
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ
โปรแกรมรายงานสถานะผล
การทดสอบ
และการชำาระค่าบริการ
(Lab_Status)
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ
โปรแกรมชั่วโมงการใช้
งานเครื่องมือวิจยฯ
                ั
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ
  โปรแกรม
ประเมินผู้บริหาร
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

     การให้ความสำาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วน
     ได้เสีย

     โดยมีการสำารวจระดับความพึงพอใจในทุกประเภท
     บริการทั้งแบบรายไตรมาส
     และแบบครึ่งปีงบประมาณ โดยระดับความพึงพอใจ
     จะต้องสูงกว่าร้อยละ 85

      มีการสำารวจความต้องการและความคาดหวังของผู้
     ใช้บริการเป็นประจำาทุกปี
      มีระบบการรับแจ้งข้อร้องเรียนทั้งทางเอกสาร ทาง
     Webboard ทาง E-mail หรือ
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

     การให้ความสำาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วน
     ได้เสีย

      การดำาเนินการในการสร้างความพึงพอใจในรูป
     แบบต่างๆ เช่น
        • การจัดทำาสื่อประชาสัมพันธ์ (แผ่นพับ โปสเตอร์
        ใบปลิว)
        • สาส์น
        • Website
        • การจัดกิจกรรม Open House
        • การจัดกิจกรรมร่วมกับเทศบาลนครหาดใหญ่ใน
        การออกให้บริการตรวจสอบ
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

     การตลาดและประชาสัมพันธ์เชิงรุก – ที่มา

      ปี 2546 ตังคณะทำางานการตลาดและ
                 ้
     ประชาสัมพันธ์เชิงรุก
      ปี 2548 (การประเมินคุณภาพภายใน) คณะผู้
     ประเมินต้องการให้พิจารณาบทบาท
       การดำาเนินงานอย่างจริงจัง เพื่อให้สามารถเลี้ยง
     ตัวเองได้ในระยะยาว
      ปี 2549 จัดสรรงบประมาณรายได้ 10% เพื่อการ
     ดำาเนินกิจกรรมการตลาด
      ปี 2550 ตั้งหน่วยบริการชุมชน ณ ห้าง
     สรรพสินค้าคาร์ฟูร์
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

     การตลาดและประชาสัมพันธ์เชิงรุก -
  กิจกรรม

 Road      Open                จัดอบรม     สาส์น
 Show      House                  เชิง     ศูนย์ฯ
                               ประชาสัม
                                 พันธ์
  ประชาสัมพั       ประชาสัมพัน         Website
   นธ์ร่วมกับ      ธ์ตรงไปยัง       หนังสือพิมพ์
   หน่วยงาน        กลุ่มเป้าหมาย
   ทั้งภายใน       เช่น เทศบาล      สื่อหน่วยงาน
       และ         อบต. บริษัท           อื่น
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

    การตลาดและประชาสัมพันธ์เชิงรุก - ทีมการ
  ตลาด
                        ความ                  ช่องทาง
                       พึงพอใจ                การรับสื่อ

      ประเมินผล
     กิจกรรม/โค
                    ประเมินผลและ
     รงการ การ        ศึกษาข้อมูล
        ตลาด       ลูกค้าตลอดเวลา
                                   ข้อมูล
              ความต้องการ        ลูกค้าใหม่
             / ความคาดหวัง
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

     ความร่วมมือของบุคลากรทุกคน

           ผู้บริหาร         ฝ่ายบริการเครื่องมือฯ



คณะทำางานพิเศษ         เชิงรุก     ฝ่ายซ่อมบำารุงฯ


     ฝ่ายประกันฯ             สำานักงานเลขานุการ
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

     การจัดการกระบวนการ

     การจัดการกระบวนการดำาเนินงานของศูนย์เครื่อง
     มือวิทยาศาสตร์เป็นการดำาเนินงานที่มุ่งเน้นความคุม
                                                     ้
     ค่าของการใช้ทรัพยากร และการจัดการเพื่อเพิ่ม
     ประสิทธิภาพในการให้บริการ ดังนี้
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

     การจัดการกระบวนการ

      การพัฒนาขีดความสามารถของนักวิทยาศาสตร์
     ให้สามารถปฏิบัตงาน
                     ิ
        ทดแทนกันได้ในกรณีที่ผู้ใดผู้หนึ่งไม่อยู่ปฏิบัติ
     งาน โดยเริมจากการกำาหนด
               ่
        แบ่งภาระงานระหว่างมือหลักกับมือรองที่
     อัตราส่วน 90:10 ในแต่ละเครื่องมือ
      การบริหารจัดการรายการเครื่องมือวิจัยทาง
     วิทยาศาสตร์ ได้ดำาเนินการจัดทำา
        แผนสำาหรับการเตรียมความพร้อมทั้งในส่วนของ
     การฝึกอบรมวิธีการ
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

     การจัดการกระบวนการ

      ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ได้รับการจัดสรรงบ
     ประมาณแผ่นดิน
        และการจัดสรรเงินรายได้เพื่อใช้ในการดำาเนิน
     งานในแต่ละปีงบประมาณ
        โดยในการบริหารการเงินและงบประมาณของ
     ศูนย์เครื่องมือฯนั้น
        ได้ให้ความสำาคัญกับการบริหารที่ยืดหยุ่นและ
     สร้างความคล่องตัวในการใช้จ่าย
        ที่สนับสนุนบริการทดสอบ และการซ่อมบำารุง
     เครืองมือฯ
         ่
        โดยจะมีการรายงานสถานะทางการเงิน และราย
ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ

     การจัดการกระบวนการ

      การจัดทำาระเบียบวิธีปฏิบัตในการดำาเนินงานใน
                                 ิ
     เกือบทุกกระบวนการดำาเนินงาน
        เช่น กระบวนการจัดซื้อและการตรวจรับพัสดุ
     การควบคุมพัสดุ การพัฒนาบุคลากร
        และการซ่อมบำารุง เป็นต้น
ผลสำาเร็จจากการพัฒนาการบริหาร
จัดการเชิงรุก
    การสนับสนุนงานวิจยของมหาวิทยาลัย
                     ั
     ส่วนลด 50% สำาหรับบริการทดสอบ แก่ลูกค้า
    ภายในมหาวิทยาลัยฯ
     ส่วนลด 20% สำาหรับบริการทดสอบ แก่ลูกค้า
จำานวนงานวิจัยที่
    จากหน่วยงานราชการภายนอก
                    2546 2547 2548 2549
   ได้สนับสนุน
                  51/      69/   120/    120/
นักศึกษา ตรี/ โท/
                  85/      89/   115/    170/
       เอก        24       41     45      50
 บุคลากร งานวิจัย    38    38     67      90
ผลสำาเร็จจากการพัฒนาการบริหาร
จัดการเชิงรุก
    ส่วนลดที่ได้สนับสนุนงานวิจัยและบริการวิชาการ
ผลสำาเร็จจากการพัฒนาการบริหาร
จัดการเชิงรุก
    การเจริญเติบโตของจำานวนลูกค้า
ผลสำาเร็จจากการพัฒนาการบริหาร
จัดการเชิงรุก
    สัดส่วนประเภทของลูกค้าที่ใช้บริการทดสอบในช่วง
    ปีงบประมาณ 2546 – 2549
ผลสำาเร็จจากการพัฒนาการบริหาร
จัดการเชิงรุก
    ระดับความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการ
ก้าวต่อไปสู่..อนาคต




  Quality Must Be Built In … Just Now !
ขอขอบคุณทุก
 ท่านครับ/ค่ะ

More Related Content

What's hot

Developing high professional
Developing high professionalDeveloping high professional
Developing high professional
1clickidea
 
Hr Mis Nu MBA Logistics
Hr  Mis Nu  MBA  LogisticsHr  Mis Nu  MBA  Logistics
Hr Mis Nu MBA Logistics
Ausda Sonngai
 
การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx for internal assessment
การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx for internal assessment
การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx for internal assessment
maruay songtanin
 
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria
maruay songtanin
 
ข้อกำหนดโดยรวมในเกณฑ์ Overall requirements in 2015 - 2016
ข้อกำหนดโดยรวมในเกณฑ์ Overall requirements in 2015 - 2016ข้อกำหนดโดยรวมในเกณฑ์ Overall requirements in 2015 - 2016
ข้อกำหนดโดยรวมในเกณฑ์ Overall requirements in 2015 - 2016
maruay songtanin
 

What's hot (20)

ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
 
Developing high professional
Developing high professionalDeveloping high professional
Developing high professional
 
Tqm1
Tqm1Tqm1
Tqm1
 
Hr Mis Nu MBA Logistics
Hr  Mis Nu  MBA  LogisticsHr  Mis Nu  MBA  Logistics
Hr Mis Nu MBA Logistics
 
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
 
Iqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark styleIqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark style
 
P C C H R& D K P I
P C C  H R& D  K P IP C C  H R& D  K P I
P C C H R& D K P I
 
การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx for internal assessment
การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx for internal assessment
การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx for internal assessment
 
Cmu qa manual 49 qa-glossary
Cmu qa manual 49 qa-glossaryCmu qa manual 49 qa-glossary
Cmu qa manual 49 qa-glossary
 
Hr Mis Nu
Hr  Mis NuHr  Mis Nu
Hr Mis Nu
 
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria
 
PMS for organization effectiveness
PMS for organization effectivenessPMS for organization effectiveness
PMS for organization effectiveness
 
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
 
รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์ Strategy insights
 รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์ Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์ Strategy insights
รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์ Strategy insights
 
Strategy Map K
Strategy Map KStrategy Map K
Strategy Map K
 
Kp iappliedart
Kp iappliedartKp iappliedart
Kp iappliedart
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
 
ข้อกำหนดโดยรวมในเกณฑ์ Overall requirements in 2015 - 2016
ข้อกำหนดโดยรวมในเกณฑ์ Overall requirements in 2015 - 2016ข้อกำหนดโดยรวมในเกณฑ์ Overall requirements in 2015 - 2016
ข้อกำหนดโดยรวมในเกณฑ์ Overall requirements in 2015 - 2016
 
Lesson 7 Quality Management
Lesson 7 Quality ManagementLesson 7 Quality Management
Lesson 7 Quality Management
 
ทบทวนค่านิยม Baldrige awareness series 11 core values
ทบทวนค่านิยม Baldrige awareness series    11 core values ทบทวนค่านิยม Baldrige awareness series    11 core values
ทบทวนค่านิยม Baldrige awareness series 11 core values
 

Viewers also liked (9)

บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 
การบริหารเวลา
การบริหารเวลาการบริหารเวลา
การบริหารเวลา
 
การบริหารเวลา
การบริหารเวลาการบริหารเวลา
การบริหารเวลา
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
 
Manpower Planning
Manpower PlanningManpower Planning
Manpower Planning
 
Manpower Planning(Hrm) Final
Manpower Planning(Hrm) FinalManpower Planning(Hrm) Final
Manpower Planning(Hrm) Final
 
Manpower Planning
Manpower PlanningManpower Planning
Manpower Planning
 
MANPOWER PLANNING
MANPOWER PLANNINGMANPOWER PLANNING
MANPOWER PLANNING
 
Manpower Planning
Manpower PlanningManpower Planning
Manpower Planning
 

Similar to บริหารเวลา

แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
K S
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
Radanat Chiachai
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
vorravan
 
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
pomswu
 
Strategicnew9
Strategicnew9Strategicnew9
Strategicnew9
TK Tof
 

Similar to บริหารเวลา (20)

8-kpi
8-kpi8-kpi
8-kpi
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
 
Balancescorecard
BalancescorecardBalancescorecard
Balancescorecard
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
Kung
KungKung
Kung
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
management style
management stylemanagement style
management style
 
Strategicnew9
Strategicnew9Strategicnew9
Strategicnew9
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
L1
L1L1
L1
 
การทำให้สำเร็จ Execution premium
การทำให้สำเร็จ Execution premium การทำให้สำเร็จ Execution premium
การทำให้สำเร็จ Execution premium
 
Ppt bsc
Ppt bscPpt bsc
Ppt bsc
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management
 
14321
1432114321
14321
 

บริหารเวลา

  • 1. เต็ ม ใจให้ บ ริ ก าร ด้ ว“ยผลงานคุ ณ ภาพ Add your company slogan ” ศูนย์เครืองมือ ่ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นคริเลิศ หน่วยงานที่มีแนวปฏิบติเป็น ั นทร์ “ ด้านการพัฒนาการบริหารจัดการ เชิงรุก ” LOGO
  • 2. ก่อนจะได้เริ่มบริหารจัดการเชิงรุก  การดำาเนินงานในระยะ 15 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 เป็นการดำาเนินงานแบบย่างก้าวอย่างสุขุม รอบคอบ  การดำาเนินงานในช่วง 5 ปีหลัง เป็นการเดิน ทางแบบก้าวกระโดด โดยใช้หลักการประเมินความพร้อมของ องค์กรที่เรียกว่า “ หลัก 7C’s ”
  • 3. ก่อนจะได้เริ่มบริหารจัดการเชิงรุก หลัก 7C’s ประกอบด้วย  ความสามารถองค์กร (Capacity)  ความสามารถของคน (Capability)  วัฒนธรรมองค์กร (Culture)  บรรยากาศและสิ่งแวดล้อม (Climate)  ทัศนคติและความเชื่อของลูกค้าที่มีต่อองค์กร (Customer Experience)  ความรู้และความเข้าใจในเป้าหมายร่วมกัน (Cohesiveness)  ความสามารถที่จะปรับเปลี่ยนตามปัจจัย ภายนอกหรือสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ (Change Readiness)
  • 4. ก่อนจะได้เริ่มบริหารจัดการเชิงรุก ปีพ.ศ. 2545 พบปัญหาบุคลากรไม่เพียงพอ ดัง นั้นจะต้องพยายามปรับฐานทรัพยากรบุคคลให้ เพียงพอต่อการให้บริการและพึ่งพาตนเอง จึง ทำาให้ปัจจุบันมี  บุคลากรฝ่ายบริการฯ (นักวิทยาศาสตร์) จำานวน 19 คน  บุคลากรฝ่ายซ่อมบำารุงฯ จำานวน 4 คน  บุคลากรสำานักเลขานุการ จำานวน 6 คน  รวมทั้งสิ้น 29 คน โดยแบ่งตามวุฒิการศึกษา  ปริญญาตรี 13 คน
  • 5. การวางรากฐานการบริหารจัดการเชิง รุก  สนับสนุนการฝึกอบรม การทำาวิจัย  การสร้างวัฒนธรรมองค์กรในสังคมเป็นสังคม คุณภาพ คือ “ การเป็นคนดีและมีระบบที่ดี ”  การเป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ คือ “ คิดเป็นและนำาไปประยุกต์ใช้ได้ ”  เป็นสังคมสมานฉันท์และเอืออาทร คือ ้ “ มีความรักและสามัคคี โดยมีระบบคุณภาพ ISO 9001:2000 และ ISO/IEC 17025 กำากับการปฏิบัติงาน ”  เน้นการทำางานเป็นทีม โดยจัดตั้งทีม BSC ทีม KM และทีมการตลาด
  • 6. การวางรากฐานการบริหารจัดการเชิง รุก  การส่งเสริมให้มีการสร้างนวัตกรรมและสิ่งประ ดิษฐ์ใหม่ๆ  การใช้งานวิจัยเป็นฐานในการตัดสินใจและเพิ่ม การเรียนรู้  การสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทั้ง ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย  การสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการ ทำางาน  การกำาหนดคุณภาพของการบริการในระดับ ความพึงพอในมากกว่า 85%  การจัด Workshop นอกสถานที่เพื่อการแลก เปลี่ยนเรียนรู้และ
  • 7. Best Practice - การพัฒนาการบริหาร จัดการเชิงรุก Best Practice หรือ หน่วยงานที่มแนวปฏิบติเป็นเลิศ ี ั คือหน่วยงานที่มรปแบบการดำาเนินงานด้านใดด้านหนึง ี ู ่ ที่ได้คดสรรว่า ั เป็นรูปแบบการดำาเนินงานที่ดำาเนินการได้อย่างดี หรือ เป็นรูปแบบทียังไม่มีที่ไหนปฏิบัติรุก (Dynamic ่ การพัฒนาการบริหารจัดการเชิง Management) คือการสร้าง/ ทำาให้มีระบบการบริหารที่ให้ความสำาคัญ กับ  การวางแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อความเป็นเลิศทางธุรกิจ (Strategic Management Planing)  การวัดประเมินผลและดัชนีชี้วัดผลสำาเร็จของงาน (Balanced Scorecard and KPIs)  การบริหารเวลา (Effective Time Management)
  • 8. การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ “ เป็นการบริหารแบบป้องกันและริเริ่ม ในการดำาเนินการไปสู่การพัฒนาและความก้าวหน้า ซึ่งต้องอาศัยวิสัยทัศน์และความสามารถของผู้บริหาร ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม เห็นทิศทางการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เพื่อกำาหนดรูปแบบการบริหารจัดการในเชิงรุก ที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต และตักตวงโอกาสตลอดจนหลีกเลี่ยงอุปสรรค ที่จะกระทบศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ไว้ล่วงหน้า ”
  • 9. การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 1. การวางแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อความเป็นเลิศ ทางธุรกิจ (Strategic Management Planning)  ภาพระยะยาวที่ต้องการให้ศูนย์เครื่องมือฯเป็น และกำาหนดเป้าหมายที่ชัดเจน เพื่อเป็นทิศทางและเป็นหลักชัยในการทำางาน  เป็นวิสัยทัศน์ร่วมของบุคลากรทุกฝ่าย และเป็น วิสัยทัศน์ที่สอดคล้องกับ มหาวิทยาลัย บริบทท้องถิน และชุมชน ่
  • 10. การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2. การวัดประเมินผลและดัชนีชี้วัดผลสำาเร็จของงาน (Balanced Scorecard and KPIs)ีบทบาทสำาคัญในการทำา ที่ม หน้าที่วัดประเมินผลความ  ฝ่ายประกันคุณภาพ สำาเร็จของการดำาเนินงานของ  คณะทำางาน Balanced Scorecard (BSC) ระบบคุณภาพ และแผน ยุทธศาสตร์ของศูนย์เครื่อง มือฯ 1. KPI ที่ศนย์ ู 2. KPI ตาม 3. ตามแผน เครืองมือฯ ่ มาตรฐานระบบ ยุทธศาสตร์ ได้ทำาข้อตกลงไว้กบ ั ประกันคุณภาพที่ ของศูนย์เครื่อง มหาวิทยาลัย ศูนย์เครื่องมือฯได้นำา มือฯ ซึงคณะ ่ มาปฏิบัติ ได้แก่ ทำางานได้ มาตรฐาน ISO กำาหนด KPI 9001:2000 และ โดยคำานึงถึง มาตรฐาน ISO/IEC หลัก
  • 11. การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 3. การบริหารเวลา (Effective Time Management) การกำาหนดแผนในการปฏิบัติงานในทุกๆ เรื่อง กระบวนการภายใน ได้แก่  แผนปฏิบัติงานประจำาปีของศูนย์เครื่องมือฯ  แผนการดำาเนินงานระบบประกันคุณภาพ  แผนการซ่อมบำารุงฯ  แผนการสอบเทียบ  แผนการตรวจติดตามคุณภาพภายใน
  • 12. การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 3. การบริหารเวลา (Effective Time Management) การพัฒนางานและการบริการลูกค้า  การลดระยะเวลาปฏิบัติงานในการบริการ ทดสอบ  การลดระยะเวลาการติดต่อชำาระค่าบริการของ ลูกค้า  การใช้แผนการตลาดและประชาสัมพันธ์เชิงรุก  แผนการดำาเนินงาน BSC
  • 13. การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 4. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงผ่านทางระบบประกัน คุณภาพ โดยมีเป้าหมายการดำาเนินงานในแต่ละ กระบวนการเป็นตัวควบคุม เช่น  การควบคุมให้เครื่องมืออยูในสภาพพร้อมใช้ ่ งานไม่ตำ่ากว่า 92%  การควบคุมระดับความพึงพอใจของลูกค้าไม่ ตำ่ากว่า 85%
  • 14. การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 4. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงผ่านระบบการบริหาร ทรัพยากรบุคคล เพื่อทำานุบำารุงรักษาไว้ซึ่ง บุคลากรที่มีคุณภาพของศูนย์เครื่องมือฯ  การจัดบรรยากาศการทำางาน  การสนับสนุนการพัฒนาตนเองในหลากหลาย รูปแบบ  การส่งเสริมความก้าวหน้าของบุคลากรแต่ละ คนโดยการให้รับตำาแหน่งในเชิง การบริหาร
  • 15. การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 5. การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) เป็นการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงรุก คือ เน้นที่ การเปลี่ยนแปลงตนเอง ก่อนที่จะได้รับการ เปลี่ยนแปลงจากผู้อน ซึ่งต้องอาศัยการวิเคราะห์ ื่ สถานการณ์ และแนวโน้มของสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต เพื่อเตรียมรองรับถ้าการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นมีผลในเชิงลบ  การจัดกิจกรรม Road Show ยังโรงงาน อุตสาหกรรม  การจัดทำาสื่อประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ  การจัดกิจกรรม Open House
  • 16. การบริหารเชิงรุกในรูปแบบของศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ จากการที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีนโยบายที่มงสู่ ุ่ การเป็น “ มหาวิทยาลัยที่เน้นวิจัย (Research-Oriented University) ” และมหาวิทยาลัยที่มงบริการวิชาการในลักษณะของ ุ่ การเป็นผู้นำาทางวิชาการ ทำาให้ศนย์เครืองมือวิทยาศาสตร์ซึ่งมีความพร้อมทั้งใน ู ่ ด้านทรัพยากรบุคคล และทรัพยากรที่เป็นองค์ความรูดานบริการทดสอบ การ ้ ้ ใช้งานเครืองมือฯ ่ และการซ่อมบำารุงฯ
  • 17. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การนำาองค์กรของคณะผู้บริหาร ในช่วงปีงบประมาณ 2548 คณะผู้บริหารศูนย์เครืองมือ ่ วิทยาศาสตร์ได้กำาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ยุทธศาสตร์ 5 ด้านหลักเพื่อเป็นแนวทางในการบรรลุ วิสัยทัศน์ ภายใต้ชื่อแผนยุทธศาสตร์ระยะ 3 ปี (2549 – 2551)  การวางแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อความเป็นเลิศทางธุรกิจ (Strategic Management Planing)  การวัดประเมินผลและดัชนีชี้วัดผลสำาเร็จของงาน (Balanced Scorecard and KPIs') โดยผ่านกระบวนการ  การบริหารเวลา (Effective Analysis วิเคราะห์ SWOT Time Management)  การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
  • 18. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การนำาองค์กรของคณะผู้บริหาร  ภายใต้แนวคิดสำาคัญ คือ “ การคำานึงถึงความต้องการหรือผลประโยชน์ของผู้รับ บริการ และผู้มส่วนได้เสีย ี โดยยึดหลักความโปร่งใสและความชัดเจน ”  สร้างมาตรฐานในการทำางาน “ ใช้มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9001:2000 และ มาตรฐาน ISO/IEC 17025 มาเป็นกรอบในการปฏิบัตงาน ” ิ
  • 19. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การนำาองค์กรของคณะผู้บริหาร  มีการจัดตังคณะทำางาน Balanced Scorecard ้ (BSC) “ เพื่อทำาหน้าที่ในการติดตามและประเมินผลแผน ยุทธศาสตร์ของศูนย์เครื่องมือฯ โดยใช้ KPI เป็นเครืองมือในการรายงานระดับผล ่ สัมฤทธิของแผนยุทธศาสตร์ ” ์  มีการจัดตังคณะทำางาน Knowledge Management ้ (KM) “ ที่มบทบาทสำาคัญในการกระตุนให้เกิดการแลกเปลี่ยน ี ้
  • 20. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การนำาองค์กรของคณะผู้บริหาร  การคัดเลือกบุคลากรคุณภาพประจำาปี “ การให้ความสำาคัญกับการส่งเสริมให้บคลากรทำางาน ุ อย่างถูกต้อง ตามกฎระเบียบ มาตรฐาน และหลักจริยธรรม โดยการกำาหนดให้มการคัดเลือกบุคลากรคุณภาพ ี ประจำาปี การมอบรางวัล และการให้ความดีความชอบ ”  ผลงานสำาคัญ “ การนำาองค์กรที่โดดเด่นของคณะผู้บริหาร คือ
  • 21. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ ช่วยให้บุคลากรพัฒนาตนเอง และใช้ศกยภาพให้เต็มที่ ั วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ างบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิบัตงาน ิ ผลการดำาเนิน งานทีเป็นเลิศ ่ บสนุนความเจริญก้าวหน้าของบุคลากร
  • 22. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การจัดโครงสร้างองค์กรและระบบการทำางานทั้งที่ เป็นทางการ และไม่เป็นทางการเพื่อส่งเสริมศักยภาพและขีด ความสามรถของบุคลากร เช่น ฝ่ายประกันคุณภาพ , ทางการ คณะทำางานพัฒนาความ สามารถของห้องปฏิบัตการ ิ ตามมาตรฐาน มอก. 17025 คณะทำางาน KM ไม่เป็น คณะทำางาน BSC ทางการ คณะทำางาน การตลาดและ ประชาสัมพันธ์เชิงรุก
  • 23. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ กำาหนดโครงสร้างของระบบการพัฒนา บุคลากร ข้อตกลงการปฏิบัติงานกำาหนดให้ พัฒนา/ อบรม 2 เรื่อง/ คน/ ปี และกำาหนดเป็น KPI ของศูนย์เครื่องมือฯ การจัดทำา Competencies การประเมิน ของแต่ละตำาแหน่ง ประสิทธิผลของ ทุกการอบรม การจัดทำา Job Description Training Needs ในทุกตำาแหน่งงาน และจัดทำา
  • 24. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การสร้างช่องทางการพัฒนา ตนเองที่หลากหลาย การอบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ การพัฒนา On the job training ตนเอง วิจัย ศึกษาด้วยตนเอง พัฒนาเทคนิควิธีการทดสอบใหม่
  • 25. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การสร้างความผาสุกและความพึง พอใจให้กับบุคลากร สภาพแวดล้อม ที่เหมือนบ้าน (สิ่งอำานวยความสะดวก) จัดกิจกรรม จัดระบบ นอกสถานที่ปีละ ความปลอดภัยสำาหรับ อย่างน้อย 2 ครั้ง การทำางาน จัดกิจกรรม ยามวิกาล ร่วมกันใน เทศกาลสำาคัญๆ
  • 26. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การพัฒนาระบบคุณภาพ ภาระงานหลักของศูนย์เครื่องมือฯ คือให้บริการการ ใช้เครืองมือวิจยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการ ่ ั เรียนการสอน การวิจย และการบริการวิชาการ แก่ ั คณาจารย์ นักวิจัย นักศึกษา ตลอดจนให้บริการทาง วิชาการแก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐ เอกชน ศูนย์เครื่องมือฯ จึงได้ให้ความสำาคัญกับการตอบ สนองความพึงพอใจสูงสุดแก่ ผู้ใช้บริการ ที่ผ่านมา ได้มการพัฒนาและปรับปรุงระบบการปฏิบตงาน ี ั ิ ตลอดจนการให้บริการที่มคณภาพ โดยใช้ระบบ ี ุ
  • 27. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศในการปฏิบัติ งานและการตัดสินใจ มีการดำาเนินการในการคัดเลือกและรวบรวมข้อมูล สารสนเทศที่มความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน เพื่อใช้ ี ในการติดตามผลการปฏิบัตงาน และผลการดำาเนิน ิ งานของศูนย์เครืองมือฯ โดยรวม ภายใต้หลักการ ่ บริหารระบบสารสนเทศ 11 ประการ คือ
  • 28. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศในการปฏิบัติ งานและการตัดสินใจ มอบหมายให้วศวกรเป็นผู้ดแลอุปกรณ์ตางๆ และจัด ิ ู ่ ทำาโปรแกรมจัดการทางด้านฐานข้อมูลภายใต้การ ประสานงานอย่างใกล้ชิดของผู้ใช้งานข้อมูลและผู้ที่ เกี่ยวข้อง โดยมีโปรแกรมใช้งานตามระบบงานของ ศูนย์เครื่องมือฯ เช่น  โปรแกรมการรับตัวอย่าง  ระบบฐานข้อมูลวัสดุ  โปรแกรมออกใบเสร็จ  โปรแกรมรายงานสถานะผลการทดสอบและการชำาระค่า บริการ  โปรแกรมชั่วโมงการใช้งานเครื่องมือวิจยฯ ั
  • 33. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การให้ความสำาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วน ได้เสีย โดยมีการสำารวจระดับความพึงพอใจในทุกประเภท บริการทั้งแบบรายไตรมาส และแบบครึ่งปีงบประมาณ โดยระดับความพึงพอใจ จะต้องสูงกว่าร้อยละ 85  มีการสำารวจความต้องการและความคาดหวังของผู้ ใช้บริการเป็นประจำาทุกปี  มีระบบการรับแจ้งข้อร้องเรียนทั้งทางเอกสาร ทาง Webboard ทาง E-mail หรือ
  • 34. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การให้ความสำาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วน ได้เสีย  การดำาเนินการในการสร้างความพึงพอใจในรูป แบบต่างๆ เช่น • การจัดทำาสื่อประชาสัมพันธ์ (แผ่นพับ โปสเตอร์ ใบปลิว) • สาส์น • Website • การจัดกิจกรรม Open House • การจัดกิจกรรมร่วมกับเทศบาลนครหาดใหญ่ใน การออกให้บริการตรวจสอบ
  • 35. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การตลาดและประชาสัมพันธ์เชิงรุก – ที่มา  ปี 2546 ตังคณะทำางานการตลาดและ ้ ประชาสัมพันธ์เชิงรุก  ปี 2548 (การประเมินคุณภาพภายใน) คณะผู้ ประเมินต้องการให้พิจารณาบทบาท การดำาเนินงานอย่างจริงจัง เพื่อให้สามารถเลี้ยง ตัวเองได้ในระยะยาว  ปี 2549 จัดสรรงบประมาณรายได้ 10% เพื่อการ ดำาเนินกิจกรรมการตลาด  ปี 2550 ตั้งหน่วยบริการชุมชน ณ ห้าง สรรพสินค้าคาร์ฟูร์
  • 37. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การตลาดและประชาสัมพันธ์เชิงรุก - กิจกรรม Road Open จัดอบรม สาส์น Show House เชิง ศูนย์ฯ ประชาสัม พันธ์ ประชาสัมพั ประชาสัมพัน Website นธ์ร่วมกับ ธ์ตรงไปยัง หนังสือพิมพ์ หน่วยงาน กลุ่มเป้าหมาย ทั้งภายใน เช่น เทศบาล สื่อหน่วยงาน และ อบต. บริษัท อื่น
  • 38. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การตลาดและประชาสัมพันธ์เชิงรุก - ทีมการ ตลาด ความ ช่องทาง พึงพอใจ การรับสื่อ ประเมินผล กิจกรรม/โค ประเมินผลและ รงการ การ ศึกษาข้อมูล ตลาด ลูกค้าตลอดเวลา ข้อมูล ความต้องการ ลูกค้าใหม่ / ความคาดหวัง
  • 39. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ ความร่วมมือของบุคลากรทุกคน ผู้บริหาร ฝ่ายบริการเครื่องมือฯ คณะทำางานพิเศษ เชิงรุก ฝ่ายซ่อมบำารุงฯ ฝ่ายประกันฯ สำานักงานเลขานุการ
  • 40. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การจัดการกระบวนการ การจัดการกระบวนการดำาเนินงานของศูนย์เครื่อง มือวิทยาศาสตร์เป็นการดำาเนินงานที่มุ่งเน้นความคุม ้ ค่าของการใช้ทรัพยากร และการจัดการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการให้บริการ ดังนี้
  • 41. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การจัดการกระบวนการ  การพัฒนาขีดความสามารถของนักวิทยาศาสตร์ ให้สามารถปฏิบัตงาน ิ ทดแทนกันได้ในกรณีที่ผู้ใดผู้หนึ่งไม่อยู่ปฏิบัติ งาน โดยเริมจากการกำาหนด ่ แบ่งภาระงานระหว่างมือหลักกับมือรองที่ อัตราส่วน 90:10 ในแต่ละเครื่องมือ  การบริหารจัดการรายการเครื่องมือวิจัยทาง วิทยาศาสตร์ ได้ดำาเนินการจัดทำา แผนสำาหรับการเตรียมความพร้อมทั้งในส่วนของ การฝึกอบรมวิธีการ
  • 42. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การจัดการกระบวนการ  ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ได้รับการจัดสรรงบ ประมาณแผ่นดิน และการจัดสรรเงินรายได้เพื่อใช้ในการดำาเนิน งานในแต่ละปีงบประมาณ โดยในการบริหารการเงินและงบประมาณของ ศูนย์เครื่องมือฯนั้น ได้ให้ความสำาคัญกับการบริหารที่ยืดหยุ่นและ สร้างความคล่องตัวในการใช้จ่าย ที่สนับสนุนบริการทดสอบ และการซ่อมบำารุง เครืองมือฯ ่ โดยจะมีการรายงานสถานะทางการเงิน และราย
  • 43. ปัจจัยสู่ความสำาเร็จ การจัดการกระบวนการ  การจัดทำาระเบียบวิธีปฏิบัตในการดำาเนินงานใน ิ เกือบทุกกระบวนการดำาเนินงาน เช่น กระบวนการจัดซื้อและการตรวจรับพัสดุ การควบคุมพัสดุ การพัฒนาบุคลากร และการซ่อมบำารุง เป็นต้น
  • 44. ผลสำาเร็จจากการพัฒนาการบริหาร จัดการเชิงรุก การสนับสนุนงานวิจยของมหาวิทยาลัย ั  ส่วนลด 50% สำาหรับบริการทดสอบ แก่ลูกค้า ภายในมหาวิทยาลัยฯ  ส่วนลด 20% สำาหรับบริการทดสอบ แก่ลูกค้า จำานวนงานวิจัยที่ จากหน่วยงานราชการภายนอก 2546 2547 2548 2549 ได้สนับสนุน 51/ 69/ 120/ 120/ นักศึกษา ตรี/ โท/ 85/ 89/ 115/ 170/ เอก 24 41 45 50 บุคลากร งานวิจัย 38 38 67 90
  • 45. ผลสำาเร็จจากการพัฒนาการบริหาร จัดการเชิงรุก ส่วนลดที่ได้สนับสนุนงานวิจัยและบริการวิชาการ
  • 46. ผลสำาเร็จจากการพัฒนาการบริหาร จัดการเชิงรุก การเจริญเติบโตของจำานวนลูกค้า
  • 47. ผลสำาเร็จจากการพัฒนาการบริหาร จัดการเชิงรุก สัดส่วนประเภทของลูกค้าที่ใช้บริการทดสอบในช่วง ปีงบประมาณ 2546 – 2549
  • 48. ผลสำาเร็จจากการพัฒนาการบริหาร จัดการเชิงรุก ระดับความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการ