SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
 
 
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ: Copyright 2015 
 
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ 
                                                                                                                             ดร.ดนัย เทียนพุฒ 
นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาธุรกิจ
ในประสบการณของผูเขียนที่ไดมีโอกาสศึกษา และทําการสอนและเปนวิทยากรในเรื่อง 
”การคิดเชิงกลยุทธ” “การวางและจัดทําแผนกลยุทธ” “การจัดการเชิงกลยุทธ” และ”ทฤษฎีเกี่ยวกับกล
ยุทธ “ สามารถสรุปไดวา “ความรูเปนสิ่งสําคัญมากสําหรับธุรกิจใน “การสรางแผนกลยุทธ” 
ทําไมผูเขียนจึงกลาววา ความรู (Knowledge) เปนสิ่งสําคัญมากสําหรับกลยุทธ 
คําวา กลยุทธ (มาจากภาษากรีก-Strategia) เปนศัพทที่ชาวโรมันตะวันออกใชในศตวรรษ
ที่ 6 ในยุคของกรุงเอเธนส สมัยนั้นชาวกรีกใชคําวา “Generalship” โดย กลยุทธจะหมายถึง สิ่งที่แมทัพ
ทําในการพัฒนาแผนแบบ กวางๆ เพื่อชัยชนะในสงคราม (Strategy is what generals do in developing 
broad plans for winning a war, Finnee, W.C. 1994; Hands‐on Strategy p.5)    และถูกแปลเปน
ภาษาทั่วไปในศตวรรษที่ 18  
ขณะที่ ตําราพิชัยสงครามซุนวู หรือ ศิลปะแหงสงคราม (The Art of Strategy) จํานวน
13 บทเขียนขึ้นในราว ศตวรรษที่ 6  กอนคริสตกาล หมายความวาโลกตะวันออกมี “องคความรูเรื่องกล
ยุทธ” มากอนโลกตะวันตก  
สําหรับประเทศไทย มีการพูดเขียน เปนหลักฐานตามพงศาวดารในตอนตน สมัยอยุธยา
ราวป พ.ศ.2041 (ปลายศตวรรษที่ 14 ) ซึ่งของไทยเราจะใช กลยุทธในความหมายเหมือน “กลอุบาย
กลศึก” (หรืออาจพูดตาม ตําราพิชัยสงครามซุนวู วา –เปนเลหเพทุบาย ทําอยางไรก็ไดใหมีชัยชนะ )  
สวนตํารากลยุทธในยุคหลัง ๆ มักจะอาศัยอางอิงจากแนวคิดของ พอรเตอร ไดเขียน
เกี่ยวกับ กลยุทธแหงความไดเปรียบ ( Competitive Strategy:1980) ความไดเปรียบในการแขงขัน (The 
Competitive Advantage :1985) และการไดเปรียบในการแขงขันของชาติ (The Competitive 
Advantage of Nations :1990)  วาดวยการแขง ( On Competition :1998)  ทั้งหมด ไดเสนอสวนหลัก ๆ
คือ เพชรพลวัตร แรงขับ 5 อยาง กลยุทธทั้ง การสรางความแตกตาง ผูนําดานตนทุน การมุงตลาด
เฉพาะ และคลัสเตอร 
 
 
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ: Copyright 2015 
 
แมวาในปจจุบันมีการพูดถึงการคิดเชิงกลยุทธ (Strategic Thinking)  ของ CEO วามอง
ภาพอนาคตอยางไร นาสนใจวาใกลเคียงกับการหยังเห็นของ CEO แตทั้งหมดที่กลาวมา ยังไมมีใคร ในยุค
หลังอธิบาย ไดชัดตาม เคลาเซวิทซ ที่ไดอธิบายชัยชนะของ นโปเลียนในเรื่องกลยุทธอยางนาสนใจ 
ในป 1810 นโปเลียนอยูในอํานาจสูงสุดและปนั้นเอง คารล ฟอน เคลาเซวิทซ (Carl Von 
Clausewitz) ไดเขียนหนังสือวาดวยสงคราม (On War) ซึ่งพยายามอธิบายวา กองทัพของนโปเลียน
ประสบความสําเร็จยังไง เคลาเซวิทซอธิบายบางสิ่งซึ่งเปนแกนของกลยุทธโดยเรียกวา Coup D’oeil (ซึ่งใน
ภาษาฝรั่งเศสหมายถึง การชําเลืองมอง/ปรายตามอง ดักแกน (Duggan ผูแตงหนังสือ Strategic 
Intuition) กลาววา มันเปนความยากลําบากอันใหญหลวงคลายกับการวิจัยสมัยใหมในสัญชาตญาณของ
ผูเชี่ยวชาญ 
สิ่งนี้ไดนําดักแกนเชื่อมไปยังแนวคิดซึ่งเขาเรียกวา การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ (Strategic 
Intuition) ถือเปนกรอบแนวคิดสําหรับการทําความเขาใจวา นักกลยุทธอันยิ่งใหญกําหนดเปาหมายและ
บรรลุความสําเร็จไดอยางไร 
ในหนังสือ วาดวยสงคราม ตีพิมพใน 1832 เคลาเซวิทซชี้ใหเห็นวา ในการรบของ
นโปเลียนแทนที่วัตถุประสงคการขยายพื้นที่ในการรบอยางเหมาะสม นโปเลียนมองหาโอกาสเพื่อชนะใน
การทําสงคราม ดวยความเชี่ยวชาญในดานการศึกษาประวัติศาสตรทางการทหารของนโปเลียน ทําใหเขา
พยายามประยุกตใชยุทธวิธีของนายพลที่ประสบความสําเร็จมากอนในสถานการณใหม เคลาเซวิทซ
อธิบายถึง 4 องคประกอบในวิธีทางกลยุทธของนโปเลียนคือ (1) ตัวอยางจากประวัติศาสตร (2) ความ
มั่นคงของจิตใจ (ความสามารถในการคิดและกระทําอยางสงบและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะใน
สถานการณฉุกเฉิน) (3) การชําเลืองมองหรือแวบจากภายในสมอง (4) ความเด็ดเดี่ยวในการเคลื่อนไป
ขางหนาและการเอาชนะอุปสรรค 
ในปจจุบันการทําวิจัยของผูเชี่ยวชาญดานการหยั่งเห็น สนับสนุนสิ่งที่สังเกตพบวา
ในสถานการณฉุกเฉินคนเราจะทําการตัดสินใจโดยการรวม (Combination) เกี่ยวกับการวิเคราะห
ประสบการณในอดีตกับแวบจากภายในสมอง     ในขณะที่ผูเชี่ยวชาญเหลานี้เปดเผยอีกวา การเลือกเพื่อ
หยั่งเห็นเปนการกระทําอยางรวดเร็วในการเชื่อมโยงสถานการณของเหตุการณที่อยูในมือกับสถานการณที่
คุนเคยซึ่งอยูในความทรงจํา 
 
 
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ: Copyright 2015 
 
แตจากการวิจัยทางสมองเมื่อเร็วๆ นี้ มีหลักฐานวาคนเราทําการตัดสินใจผาน “การ
รวมกันของการวิเคราะหและการหยั่งเห็น”  
                           ในทางวิทยาศาสตรทางสมองบอกเรื่องราวใน 3 สิ่งของการหยั่งเห็น คือ สามัญสํานึก
(Ordinary)  เปนเพียงความรูสัญชาตญาณจากกึ๋น เชี่ยวชาญ (Expert) เปนการตัดสินใจอยางรวดเร็ว
เมื่อทานไดรับรูถึงความคุนเคยในบางสิ่ง  และ กลยุทธ(Strategy)  เปนความคิดที่ชัดเจนและ ไมเปนไป
อยางรวดเร็วเหมือนการหยั่งเห็นของผูเชี่ยวชาญ และก็ไมไดเกิดขึ้นในสถานการณที่คุนเคย เชน
ผูเชี่ยวชาญเลนเทนนิส และการหยั่งเห็นเชิงกลยุทธทํางานไดดีในสถานการณใหม นั่นคือเมื่อทานตองการ
มากที่สุด โดยสรปดังรูปที่ 1  
                            รูปที่ 1  วิทยาศาสตรทางสมองบอกเรื่องราวของการหยั่งเห็น
 
 
ภายหลังจากการเชื่อมโยงระหวาง เคลาเซวิทซและวิทยาศาสตรสมัยใหม ดักแกนนิยาม
“ไอเดียทั่วไป(Common Idea)” คือ การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ (Strategic Intuition) หมายถึงการเลือกฉาย
ภาพขององคประกอบในอดีตเขาในไปอนาคต สําหรับการรวมใหมของการกระทําซึ่งอาจจะเกิดหรือไมเกิด
 
 
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ: Copyright 2015 
 
ไดอยางลงตัวพอดีกับเปาหมายกอนหนานี้ และความมุงมั่นสวนบุคคลกับการมีรายละเอียดในวิธีการ
ออกมาได 
และเมื่อทานเขาใจวา การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธทํางานอยางไร ทานสามารถวิเคราะหถึง
โอกาสที่ทานอาจพลาดไปดวย 4 ขั้นตอนตอไปนี้ ซึ่งสังเคราะหไดมาจากชัยชนะของนโปเลียนในการรบที่
ตูลอง (Toulon)
(1) ตัวอยางจากอดีต (Examples from history) 
ถาในสมองของทานมีตนทุนความรูอยูเปนจํานวนมาก ทานจะทําการเชื่อมโยงสิ่งสําคัญ
ตาง ๆ ไดเปนอยางดี นโปเลียนและแพทตันเปน 2 นายพลที่ประสบความสําเร็จมากที่สุดเทาที่เคยมีมา
ทั้ง 2 คนเปนสารานุกรมความรูดานประวัติศาสตรทางการทหาร 
สําหรับนโปเลียน มีเรื่องเลาบอกวา เขาอานตําราการรบของ อเล็กซานเดอรมหาราช อยู
ตลอดเวลา 
โดย“ทั้งสองมีชื่อเสียงไมเพียงในการเลือกวัตถุประสงคเชิงกลยุทธ อาทิเชน เมืองหรือ
สะพาน หรือแนวหนา แตยังทํามากยิ่งไปกวานั้นคือการยกกําลังพลเขาไปในพื้นที่สงคราม” 
ดักแกนกลาววา “เมื่อเกิดการยอมรับสถานการณเชิงกลยุทธจากสงครามในอดีต พวก
เขาจะทําการตอสู ซ้ําในสงครามหรือบางพื้นที่เพื่อเอาชนะศัตรู พวกเขาตอสูกับสงคราม ไมไดพิชิต
ดินแดนแตสิ่งที่เขาทําคือ เอาชนะศัตรูได
(2) ความมั่นคงทางจิตใจ (Presence of Mind) 
หัวใจของความมั่นคงในจิตใจเปนการคาดหวังที่ไมไดคาดไว เพื่อจะเปดใจ เพื่อชําเลือง
มอง โดยทานตองละทิ้งอุปทานของทานในการแกปญหาซึ่งอาจจะมี หรือแมบางครั้งปญหาคือ “บางครั้ง
คนมองไมเห็นสิ่งที่จะทําและที่ตกลงไว” 
ดักแกนกลาววา “ผูบริหารควรจะรักษาการคนหาและการมองหาโอกาส ถาไดตระเตรียม
และระวังไวกอน กับมีความมั่นคงในจิตใจอันยิ่งใหญ เราจะเห็นโอกาสที่อาจจะนําพาไปในทิศทางซึ่ง
แตกตางกันมากกวา เมื่อไดพยายามครั้งแรกในการวางแผนโดยไมตองมีความคิดของวิธีจริงๆ เพื่อเติมเต็ม
แผน 
 
 
 
 
 
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ: Copyright 2015 
 
(3) แวบในสมอง (A Flash of Insight) 
การแวบในสมองไมใชเปนความคิดใหมทั้งหมด แตใหมในวิธีการของการรวมไอเดียเกา
จากแหลงที่แตกตาง ตัวอยาง Ransom Olds เปนผูผลิตรถคนแรกที่สรางการผลิตรถแบบจํานวนมากโดย
ใชสายการผลิต และ Henry Ford ไดกอปปแนวคิดทั้งการออกแบบและกระบวนการการผลิต ถาเราได
เห็นแหลงเก็บรถที่ Chicago จะมีซากรถแขวนอยูบนรถไฟ และยายจากสถานีหนึ่งไปอีกสถานีหนึ่ง Ford
ไดเกิดแวบของแรงบันบาลใจและทําใหเกิด “สายการผลิต”
การชําเลืองมองสามารถแสดงใหทานไปสูเปาหมายไดอยางไร แตมันก็สามารถ
เปลี่ยนแปลงเปาหมายไดเชนกัน ความคิดที่วาเรื่อง การชําเลืองมองนี้หลายๆ คนคงจะยากในการยอมรับ
โดยปกติการวางแผนกลยุทธสวนใหญสิ่งที่กลาวครั้งแรกคือ อะไรเปนเปาหมายของทาน?  
และก็สามารถชวยใหทานวางแผน จริง ๆ เราไมไดสนใจวา เปาหมายคืออะไร การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ
เสนอวิธีตอบคําถามวา มีอะไรเปนเปาหมายที่ดีและเปาหมายที่ดีเปนสิ่งหนึ่งทําใหทานเห็นวิธีไปถึง
เปาหมาย โดยขึ้นอยูกับการรวมสิ่งตาง ๆ ที่ทานสามารถใสเขาไปดวยกันจากอดีตที่ผานมา
(4) การยอนรอยเดิม (Resolution) 
การยอนรอยเดิมในบริบทนี้เปนมากกวาเพียงแคความมุงมั่นเพื่อใหบรรลุเปาหมายของ
ทาน ซึ่งจะรวมถึงองคประกอบของความยืดหยุนอยางเต็มใจในการกาวไปขางหนาโดยไมตอง แผนอยาง
ละเอียดและ ความตั้งใจเพื่อการเปลี่ยนแปลง และอยางแนนอนถามีโอกาสที่ดีกวาไดแสดงใหเห็น
ในปฏิบัติการแรกของนโปเลียน  เขามีทหารมากมายกวากองกําลังอิตาลีและออสเตรีย 
แตเนื่องจากสถานการณคลายกับหลาย ปฏิบัติการของเฟรเดอริมหาราช เมื่อ 50 ปที่มีมากอน นโปเลียนมี
ความคิดวาเขาจะยายกองทัพของเขาใหอยูระหวาง กองทัพอิตาลีและออสเตรียและการตอสูกับ ทัพหนึ่ง
กอน แลวคอยไปสูกับอีกทัพหนึ่ง 
ดักแกนกลาววา "เปาหมายของนโปเลียนเดินออกมาจากประวัติศาสตรดวย 
ความรูสึกวาสิ่งที่จะทํางานนี้เปนไปไดจริง และเขาคาดการณวาในสถานการณนี้ก็คงไมไดเหมือนกัน " 
และดักแกนยังกลาวอีกวา "เขามีเปาหมายทั่วไปมากกวารายละเอียด  วางแผนและสงกองทัพของเขาเขา
ไปในการเคลื่อนทัพและแนนอนทายที่สุดมีชัยชนะกองทัพขาศึกในการเปดชุดของการตอสู  
ดังนั้นในเชิงกลยุทธ การหยั่งเห็นไมไดตอตาน การกําหนดเปาหมาย เพียงแคถามคําถาม
วา  เปาหมายของทานมาจากไหน?  แลวมันบอกวา  เปาหมาย มีรายละเอียดมากเทาที่ทานมองเห็น ไม
มากไปกวานั้น ทานก็กรอกรายละเอียดลงไปเทาที่จะทําได 
 
 
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ: Copyright 2015 
 
โดยสรุป “ไอเดียมีหลาย ๆ ทิศทางที่เปนไปได ซึ่งเปนจริงมาก ๆ ในชีวิตและทําให 
เรามีตัวเลือกอื่น ๆ ไดอีกมากมาย แตถาเรามีเปาหมาย 5 ปและรูอยางแนนอนวาอะไรคือสิ่งที่
เรากําลังจะทํา และทําอยางจริงๆ เพื่อใหไปถึงตามที่ตั้งไว ก็ถือวายอดเยี่ยม ขอเพียงจดจําไววา
บางครั้งโอกาสที่อาจจะเกิดขึ้นนั้น อาจนําทานไปในที่ใดที่หนึ่งที่ดีกวา นี่แหละการหยั่งเห็นเชิง
กลยุทธ

More Related Content

Viewers also liked

ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
earlychildhood024057
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
Decode Ac
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
Decode Ac
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
Decode Ac
 

Viewers also liked (10)

กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
 
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ท
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ  ฮาวิกเฮิร์ททฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ  ฮาวิกเฮิร์ท
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ท
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
 
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
 

Similar to การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ

การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
uncasanova
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
Padvee Academy
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
pentanino
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
juriporn chuchanakij
 

Similar to การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ (15)

ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
 
Scenario Thinking
Scenario ThinkingScenario Thinking
Scenario Thinking
 
1
11
1
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่
รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่
รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinking
 
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
Is5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียนIs5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียน
 

More from DrDanai Thienphut

บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
DrDanai Thienphut
 

More from DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 
Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2
 

การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ

  • 1.     การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ: Copyright 2015    การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาธุรกิจ ในประสบการณของผูเขียนที่ไดมีโอกาสศึกษา และทําการสอนและเปนวิทยากรในเรื่อง  ”การคิดเชิงกลยุทธ” “การวางและจัดทําแผนกลยุทธ” “การจัดการเชิงกลยุทธ” และ”ทฤษฎีเกี่ยวกับกล ยุทธ “ สามารถสรุปไดวา “ความรูเปนสิ่งสําคัญมากสําหรับธุรกิจใน “การสรางแผนกลยุทธ”  ทําไมผูเขียนจึงกลาววา ความรู (Knowledge) เปนสิ่งสําคัญมากสําหรับกลยุทธ  คําวา กลยุทธ (มาจากภาษากรีก-Strategia) เปนศัพทที่ชาวโรมันตะวันออกใชในศตวรรษ ที่ 6 ในยุคของกรุงเอเธนส สมัยนั้นชาวกรีกใชคําวา “Generalship” โดย กลยุทธจะหมายถึง สิ่งที่แมทัพ ทําในการพัฒนาแผนแบบ กวางๆ เพื่อชัยชนะในสงคราม (Strategy is what generals do in developing  broad plans for winning a war, Finnee, W.C. 1994; Hands‐on Strategy p.5)    และถูกแปลเปน ภาษาทั่วไปในศตวรรษที่ 18   ขณะที่ ตําราพิชัยสงครามซุนวู หรือ ศิลปะแหงสงคราม (The Art of Strategy) จํานวน 13 บทเขียนขึ้นในราว ศตวรรษที่ 6  กอนคริสตกาล หมายความวาโลกตะวันออกมี “องคความรูเรื่องกล ยุทธ” มากอนโลกตะวันตก   สําหรับประเทศไทย มีการพูดเขียน เปนหลักฐานตามพงศาวดารในตอนตน สมัยอยุธยา ราวป พ.ศ.2041 (ปลายศตวรรษที่ 14 ) ซึ่งของไทยเราจะใช กลยุทธในความหมายเหมือน “กลอุบาย กลศึก” (หรืออาจพูดตาม ตําราพิชัยสงครามซุนวู วา –เปนเลหเพทุบาย ทําอยางไรก็ไดใหมีชัยชนะ )   สวนตํารากลยุทธในยุคหลัง ๆ มักจะอาศัยอางอิงจากแนวคิดของ พอรเตอร ไดเขียน เกี่ยวกับ กลยุทธแหงความไดเปรียบ ( Competitive Strategy:1980) ความไดเปรียบในการแขงขัน (The  Competitive Advantage :1985) และการไดเปรียบในการแขงขันของชาติ (The Competitive  Advantage of Nations :1990)  วาดวยการแขง ( On Competition :1998)  ทั้งหมด ไดเสนอสวนหลัก ๆ คือ เพชรพลวัตร แรงขับ 5 อยาง กลยุทธทั้ง การสรางความแตกตาง ผูนําดานตนทุน การมุงตลาด เฉพาะ และคลัสเตอร 
  • 2.     การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ: Copyright 2015    แมวาในปจจุบันมีการพูดถึงการคิดเชิงกลยุทธ (Strategic Thinking)  ของ CEO วามอง ภาพอนาคตอยางไร นาสนใจวาใกลเคียงกับการหยังเห็นของ CEO แตทั้งหมดที่กลาวมา ยังไมมีใคร ในยุค หลังอธิบาย ไดชัดตาม เคลาเซวิทซ ที่ไดอธิบายชัยชนะของ นโปเลียนในเรื่องกลยุทธอยางนาสนใจ  ในป 1810 นโปเลียนอยูในอํานาจสูงสุดและปนั้นเอง คารล ฟอน เคลาเซวิทซ (Carl Von  Clausewitz) ไดเขียนหนังสือวาดวยสงคราม (On War) ซึ่งพยายามอธิบายวา กองทัพของนโปเลียน ประสบความสําเร็จยังไง เคลาเซวิทซอธิบายบางสิ่งซึ่งเปนแกนของกลยุทธโดยเรียกวา Coup D’oeil (ซึ่งใน ภาษาฝรั่งเศสหมายถึง การชําเลืองมอง/ปรายตามอง ดักแกน (Duggan ผูแตงหนังสือ Strategic  Intuition) กลาววา มันเปนความยากลําบากอันใหญหลวงคลายกับการวิจัยสมัยใหมในสัญชาตญาณของ ผูเชี่ยวชาญ  สิ่งนี้ไดนําดักแกนเชื่อมไปยังแนวคิดซึ่งเขาเรียกวา การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ (Strategic  Intuition) ถือเปนกรอบแนวคิดสําหรับการทําความเขาใจวา นักกลยุทธอันยิ่งใหญกําหนดเปาหมายและ บรรลุความสําเร็จไดอยางไร  ในหนังสือ วาดวยสงคราม ตีพิมพใน 1832 เคลาเซวิทซชี้ใหเห็นวา ในการรบของ นโปเลียนแทนที่วัตถุประสงคการขยายพื้นที่ในการรบอยางเหมาะสม นโปเลียนมองหาโอกาสเพื่อชนะใน การทําสงคราม ดวยความเชี่ยวชาญในดานการศึกษาประวัติศาสตรทางการทหารของนโปเลียน ทําใหเขา พยายามประยุกตใชยุทธวิธีของนายพลที่ประสบความสําเร็จมากอนในสถานการณใหม เคลาเซวิทซ อธิบายถึง 4 องคประกอบในวิธีทางกลยุทธของนโปเลียนคือ (1) ตัวอยางจากประวัติศาสตร (2) ความ มั่นคงของจิตใจ (ความสามารถในการคิดและกระทําอยางสงบและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะใน สถานการณฉุกเฉิน) (3) การชําเลืองมองหรือแวบจากภายในสมอง (4) ความเด็ดเดี่ยวในการเคลื่อนไป ขางหนาและการเอาชนะอุปสรรค  ในปจจุบันการทําวิจัยของผูเชี่ยวชาญดานการหยั่งเห็น สนับสนุนสิ่งที่สังเกตพบวา ในสถานการณฉุกเฉินคนเราจะทําการตัดสินใจโดยการรวม (Combination) เกี่ยวกับการวิเคราะห ประสบการณในอดีตกับแวบจากภายในสมอง     ในขณะที่ผูเชี่ยวชาญเหลานี้เปดเผยอีกวา การเลือกเพื่อ หยั่งเห็นเปนการกระทําอยางรวดเร็วในการเชื่อมโยงสถานการณของเหตุการณที่อยูในมือกับสถานการณที่ คุนเคยซึ่งอยูในความทรงจํา 
  • 3.     การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ: Copyright 2015    แตจากการวิจัยทางสมองเมื่อเร็วๆ นี้ มีหลักฐานวาคนเราทําการตัดสินใจผาน “การ รวมกันของการวิเคราะหและการหยั่งเห็น”                              ในทางวิทยาศาสตรทางสมองบอกเรื่องราวใน 3 สิ่งของการหยั่งเห็น คือ สามัญสํานึก (Ordinary)  เปนเพียงความรูสัญชาตญาณจากกึ๋น เชี่ยวชาญ (Expert) เปนการตัดสินใจอยางรวดเร็ว เมื่อทานไดรับรูถึงความคุนเคยในบางสิ่ง  และ กลยุทธ(Strategy)  เปนความคิดที่ชัดเจนและ ไมเปนไป อยางรวดเร็วเหมือนการหยั่งเห็นของผูเชี่ยวชาญ และก็ไมไดเกิดขึ้นในสถานการณที่คุนเคย เชน ผูเชี่ยวชาญเลนเทนนิส และการหยั่งเห็นเชิงกลยุทธทํางานไดดีในสถานการณใหม นั่นคือเมื่อทานตองการ มากที่สุด โดยสรปดังรูปที่ 1                               รูปที่ 1  วิทยาศาสตรทางสมองบอกเรื่องราวของการหยั่งเห็น     ภายหลังจากการเชื่อมโยงระหวาง เคลาเซวิทซและวิทยาศาสตรสมัยใหม ดักแกนนิยาม “ไอเดียทั่วไป(Common Idea)” คือ การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ (Strategic Intuition) หมายถึงการเลือกฉาย ภาพขององคประกอบในอดีตเขาในไปอนาคต สําหรับการรวมใหมของการกระทําซึ่งอาจจะเกิดหรือไมเกิด
  • 4.     การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ: Copyright 2015    ไดอยางลงตัวพอดีกับเปาหมายกอนหนานี้ และความมุงมั่นสวนบุคคลกับการมีรายละเอียดในวิธีการ ออกมาได  และเมื่อทานเขาใจวา การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธทํางานอยางไร ทานสามารถวิเคราะหถึง โอกาสที่ทานอาจพลาดไปดวย 4 ขั้นตอนตอไปนี้ ซึ่งสังเคราะหไดมาจากชัยชนะของนโปเลียนในการรบที่ ตูลอง (Toulon) (1) ตัวอยางจากอดีต (Examples from history)  ถาในสมองของทานมีตนทุนความรูอยูเปนจํานวนมาก ทานจะทําการเชื่อมโยงสิ่งสําคัญ ตาง ๆ ไดเปนอยางดี นโปเลียนและแพทตันเปน 2 นายพลที่ประสบความสําเร็จมากที่สุดเทาที่เคยมีมา ทั้ง 2 คนเปนสารานุกรมความรูดานประวัติศาสตรทางการทหาร  สําหรับนโปเลียน มีเรื่องเลาบอกวา เขาอานตําราการรบของ อเล็กซานเดอรมหาราช อยู ตลอดเวลา  โดย“ทั้งสองมีชื่อเสียงไมเพียงในการเลือกวัตถุประสงคเชิงกลยุทธ อาทิเชน เมืองหรือ สะพาน หรือแนวหนา แตยังทํามากยิ่งไปกวานั้นคือการยกกําลังพลเขาไปในพื้นที่สงคราม”  ดักแกนกลาววา “เมื่อเกิดการยอมรับสถานการณเชิงกลยุทธจากสงครามในอดีต พวก เขาจะทําการตอสู ซ้ําในสงครามหรือบางพื้นที่เพื่อเอาชนะศัตรู พวกเขาตอสูกับสงคราม ไมไดพิชิต ดินแดนแตสิ่งที่เขาทําคือ เอาชนะศัตรูได (2) ความมั่นคงทางจิตใจ (Presence of Mind)  หัวใจของความมั่นคงในจิตใจเปนการคาดหวังที่ไมไดคาดไว เพื่อจะเปดใจ เพื่อชําเลือง มอง โดยทานตองละทิ้งอุปทานของทานในการแกปญหาซึ่งอาจจะมี หรือแมบางครั้งปญหาคือ “บางครั้ง คนมองไมเห็นสิ่งที่จะทําและที่ตกลงไว”  ดักแกนกลาววา “ผูบริหารควรจะรักษาการคนหาและการมองหาโอกาส ถาไดตระเตรียม และระวังไวกอน กับมีความมั่นคงในจิตใจอันยิ่งใหญ เราจะเห็นโอกาสที่อาจจะนําพาไปในทิศทางซึ่ง แตกตางกันมากกวา เมื่อไดพยายามครั้งแรกในการวางแผนโดยไมตองมีความคิดของวิธีจริงๆ เพื่อเติมเต็ม แผน       
  • 5.     การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ: Copyright 2015    (3) แวบในสมอง (A Flash of Insight)  การแวบในสมองไมใชเปนความคิดใหมทั้งหมด แตใหมในวิธีการของการรวมไอเดียเกา จากแหลงที่แตกตาง ตัวอยาง Ransom Olds เปนผูผลิตรถคนแรกที่สรางการผลิตรถแบบจํานวนมากโดย ใชสายการผลิต และ Henry Ford ไดกอปปแนวคิดทั้งการออกแบบและกระบวนการการผลิต ถาเราได เห็นแหลงเก็บรถที่ Chicago จะมีซากรถแขวนอยูบนรถไฟ และยายจากสถานีหนึ่งไปอีกสถานีหนึ่ง Ford ไดเกิดแวบของแรงบันบาลใจและทําใหเกิด “สายการผลิต” การชําเลืองมองสามารถแสดงใหทานไปสูเปาหมายไดอยางไร แตมันก็สามารถ เปลี่ยนแปลงเปาหมายไดเชนกัน ความคิดที่วาเรื่อง การชําเลืองมองนี้หลายๆ คนคงจะยากในการยอมรับ โดยปกติการวางแผนกลยุทธสวนใหญสิ่งที่กลาวครั้งแรกคือ อะไรเปนเปาหมายของทาน?   และก็สามารถชวยใหทานวางแผน จริง ๆ เราไมไดสนใจวา เปาหมายคืออะไร การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ เสนอวิธีตอบคําถามวา มีอะไรเปนเปาหมายที่ดีและเปาหมายที่ดีเปนสิ่งหนึ่งทําใหทานเห็นวิธีไปถึง เปาหมาย โดยขึ้นอยูกับการรวมสิ่งตาง ๆ ที่ทานสามารถใสเขาไปดวยกันจากอดีตที่ผานมา (4) การยอนรอยเดิม (Resolution)  การยอนรอยเดิมในบริบทนี้เปนมากกวาเพียงแคความมุงมั่นเพื่อใหบรรลุเปาหมายของ ทาน ซึ่งจะรวมถึงองคประกอบของความยืดหยุนอยางเต็มใจในการกาวไปขางหนาโดยไมตอง แผนอยาง ละเอียดและ ความตั้งใจเพื่อการเปลี่ยนแปลง และอยางแนนอนถามีโอกาสที่ดีกวาไดแสดงใหเห็น ในปฏิบัติการแรกของนโปเลียน  เขามีทหารมากมายกวากองกําลังอิตาลีและออสเตรีย  แตเนื่องจากสถานการณคลายกับหลาย ปฏิบัติการของเฟรเดอริมหาราช เมื่อ 50 ปที่มีมากอน นโปเลียนมี ความคิดวาเขาจะยายกองทัพของเขาใหอยูระหวาง กองทัพอิตาลีและออสเตรียและการตอสูกับ ทัพหนึ่ง กอน แลวคอยไปสูกับอีกทัพหนึ่ง  ดักแกนกลาววา "เปาหมายของนโปเลียนเดินออกมาจากประวัติศาสตรดวย  ความรูสึกวาสิ่งที่จะทํางานนี้เปนไปไดจริง และเขาคาดการณวาในสถานการณนี้ก็คงไมไดเหมือนกัน "  และดักแกนยังกลาวอีกวา "เขามีเปาหมายทั่วไปมากกวารายละเอียด  วางแผนและสงกองทัพของเขาเขา ไปในการเคลื่อนทัพและแนนอนทายที่สุดมีชัยชนะกองทัพขาศึกในการเปดชุดของการตอสู   ดังนั้นในเชิงกลยุทธ การหยั่งเห็นไมไดตอตาน การกําหนดเปาหมาย เพียงแคถามคําถาม วา  เปาหมายของทานมาจากไหน?  แลวมันบอกวา  เปาหมาย มีรายละเอียดมากเทาที่ทานมองเห็น ไม มากไปกวานั้น ทานก็กรอกรายละเอียดลงไปเทาที่จะทําได 
  • 6.     การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ: Copyright 2015    โดยสรุป “ไอเดียมีหลาย ๆ ทิศทางที่เปนไปได ซึ่งเปนจริงมาก ๆ ในชีวิตและทําให  เรามีตัวเลือกอื่น ๆ ไดอีกมากมาย แตถาเรามีเปาหมาย 5 ปและรูอยางแนนอนวาอะไรคือสิ่งที่ เรากําลังจะทํา และทําอยางจริงๆ เพื่อใหไปถึงตามที่ตั้งไว ก็ถือวายอดเยี่ยม ขอเพียงจดจําไววา บางครั้งโอกาสที่อาจจะเกิดขึ้นนั้น อาจนําทานไปในที่ใดที่หนึ่งที่ดีกวา นี่แหละการหยั่งเห็นเชิง กลยุทธ