SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
โครงงาน การสกัดสารเพคตินจากเปลือกขาวของส้มโอ
จุดประสงค์ของโครงงาน 1.  เพื่อศึกษาหาวิธีการที่เหมาะสมในการสกัดเพคตินจากเปลือกขาว  ของส้มโอ 2.  เพื่อเปรียบเทียบปริมาณเพคตินที่สกัดได้จากเปลือกขาวของส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาสายพันธุ์ทองดี และสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้ง
ขอบเขตของการศึกษา การสกัดเพคตินจากเปลือกส้มโอส่วนที่เป็นสีขาวและศึกษาส้มโอ  2  สายพันธุ์ คือ ส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวา และสายพันธุ์ทองดีเปรียบเทียบกับสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้ง
สมมุติฐาน -  ถ้าในส้มโอมีเพคติน ดังนั้นเมื่อเราสกัดส้มโอด้วยกระบวนการสกัดเพคติน  จะได้ผลผลิตเพคติน -  ถ้าสายพันธุ์ของส้มโอเกี่ยวข้องกับปริมาณของเพคตินในส้มโอ ดังนั้นเมื่อสกัดเพคตินจากส้มโอต่างสายพันธุ์จะให้ปริมาณเพคตินแตกต่างกัน
ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น ตอนที่  1  วิธีการสกัด  ตอนที่  2  ชนิดสายพันธุ์ของส้มโอ ตอนที่  3  ชนิดสายพันธุ์ของส้มโอ ตัวแปรตาม ตอนที่  1  ได้วิธีการสกัดเพคติน ตอนที่  2  ปริมาณเพคตินแต่ละสายพันธุ์ของส้มโอ ( เปลือก ) ตอนที่  3  ปริมาณเพคตินแต่ละสายพันธุ์ของส้มโอ ( เมล็ด ) ตัวแปรควบคุม ตอนที่  1  สายพันธุ์ของส้มโอ  ตอนที่  2  วิธีการ , ปริมาณน้ำ , ปริมาณเปลือกส้มโอ , ปริมาณสารเคมี , เวลา ตอนที่  3  วิธีการ , ปริมาณน้ำ , ปริมาณเปลือกส้มโอ , ปริมาณสารเคมี , เวลา
ระยะเวลาในการทำโครงงาน   30  วัน สถานที่ดำเนินโครงงาน โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท
อุปกรณ์ 1. บีกเกอร์ขนาด  50  cm3, 100 cm3,250 cm3,1000 cm3 2.  กรรไกร 3. กระบอกตวงขนาด  10  cm3, 50 cm3, 100 cm3 4  . ผ้าขาวบาง 5. ขวดรูปชมพู่ขนาด  250  cm3 6. กระชอน 7. เทอร์มอมิเตอร์ 8. ตัวหนีบ 9. กระบอกตวง 10. ภาชนะบรรจุน้ำ 11. กรวยแก้ว 12. จานเพาะเชื้อ 13. แท่งแก้ว 14 . หม้อ 15. เครื่องชั่ง 16 . เตา 17. เครื่องปั่น 18. มีด 19. เตาอบ 20. เขียง 21. เครื่องบีบกาก 22. ตะแกรง
สารเคมี 1.  กรดอะซิติก (CH3COOH)  1  mol/dm3 2. กรดไฮโดคลอริกเข้มข้น (conc.HCl) 3. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)  6  mol/dm3 4. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)  0.1  mol/dm3 5. แคลเซียมคลอไรด์ (CaCl 2 )  1  mol/dm3 6.  เอทานอล  30  % ,  80  % ,  90  % 7.  ส้มโอสายพันธุ์ ขาวแตงกวา  ,  ทองดี ,  ขาวน้ำผึ้ง 8. กระดาษ   pH 9. กระดาษกรอง  whatman  เบอร์  4 10.  น้ำสะอาด
วิธีการทดลอง ตอนที่  1  วิธีที่  1 1.  หั่นเปลือกขาวส้มโอตากแห้งออกเป็นชิ้น ๆ ผสมกับน้ำด้วยสัดส่วนเปลือกต่อน้ำเป็น  1 : 2  W/V  แล้วปั่นส่วนผสมด้วยเครื่องปั่น นาน  5  นาที 2.  นำเปลือกขาวส้มโอตากแห้งที่ปั่นแล้วไปต้มให้ได้อุณหภูมิ  80  องศา นาน  15  นาที แล้วนำไปกรองด้วยผ้าขาวบางพับ  2  ชั้น แล้วกรองด้วยกระดาษกรอง  whatman  เบอร์  4  3.  นำสารละลายที่ได้ไปปรับค่า  pH   ให้เป็น  7  ด้วย  6M NaOH   แล้วผสมให้เป็นสารละลาย  75 %  ( โดยใช้สารละลาย  250  ml   และ  0.1 NaOH 83 ml )  4.  นำสารละลายที่ได้จากข้อ  3.  มาผสมกับ  1M Acetic acid 40 ml  เขย่าแล้วตั้งทิ้งไว้  5  นาทีหลังจากนั้น เติม  1M CaCl   40ml   ตั้งทิ้งไว้  30  นาที 5.  นำสารละลายที่ได้มาต้มให้ร้อนแล้วกรองด้วยกระดาษกรอง  whatman  เบอร์  4  แล้วทำการล้างตะกอนจนหมด คลอไรด์ จึงนำตะกอนไปอบด้วย  tray dryer  ที่อุณหภูมิ  50  องศาจนแห้งสนิท แล้วบดให้เป็นผง
ตอนที่  1  วิธีที่  2 1.  หั่นเปลือกขาวส้มโอตากแห้งออกเป็นชิ้น ๆ แช่ในแอลกอฮอร์เป็นเวลา  1  วัน โดยแช่ใน แอลกอฮอร์ เข้มข้น  30 %   ในอัตราส่วน  1 : 2  W/V  2.  แยกเปลือกขาวส้มโอตากแห้งออกนำมาแช่ใน แอลกอฮอร์ เข้มข้น  80 %   ในอัตราส่วน  1 : 2  W/V   แล้วปั่นส่วยผสมด้วยเครื่องปั่น นาน  5  นาที จากนั้นกรองด้วยผ้าขาวบางพับ  2  ชั้น แล้วล้างกากด้วย แอลกอฮอร์ เข้มข้น  95 %   นำกากที่ได้เติมน้ำในอัตราส่วน  1 : 2  W/V  3.  นำกากที่เติมน้ำแล้วไปปรับ  pH   ให้เป็น  2  โดยใช้  Conc.HCl  แล้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง  30  นาทีแล้วนำไปให้ความร้อนที่  80  องศา นาน  15  นาที  4.  นำสารละลายที่ได้ไปกรองด้วยกระดาษกรอง  whatman  เบอร์  4  และนำตะกอนไปอบด้วย  tray dryer  ที่อุณหภูมิ  50  องศาจนแห้งสนิท แล้วบดให้เป็นผง
ตอนที่  1  วิธีที่  3 1.  นำเปลือกขาวส้มโอตากแห้ง ไปผสมน้ำโดยใช้อัตราส่วน  100 g  ต่อน้ำ  2000  ml   แช่ทิ้งไว้ ณ อุณหภูมิห้องเป็นเวลา  12  ชั่วโมง  2.  คั้นด้วยเครื่องบีบกาก โดยการกดแต่ละครั้งน้ำหนักเท่ากันจำนวน  3  ครั้ง และจึงนำกากออก วัดปริมาณ น้ำที่คั้นได้ และน้ำที่เหลือจากการแช่ และวัดน้ำหนักกาก 3.  นำน้ำต้ม  80  องศา ปริมาณ  2000  ml   ผสมกับกากที่ได้จากการคั้นและให้คงอุณหภูมิ  80  องศา เป็นระยะเวลา  3  ชั่วโมง  4.  นำกากที่แช่น้ำอุณหภูมิเป็นเวลา  3  ชั่วโมง มาคั้นด้วยเครื่องบีบกากโดยใช้การกดด้วยน้ำหนักที่เท่ากันจำนวน  1  ครั้ง วัดปริมาณ น้ำที่คั้นได้ และน้ำที่เหลือจากการแช่ และวัดน้ำหนักกาก 5.  นำสารละลายที่ได้จากการคั้นด้วยเครื่องบีบกากมาใส่ภาชนะทนความร้อนและให้ความร้อน ไม่เกิน  80  องศา จนสารละลายระเหยเหลือ  200  ml   6.  นำสารละลายที่ระเหยเหลือ  200  ml  มาปรับค่า  pH   ให้เป็น  3.5  และนำสารละลายที่ปรับค่า  pH   เป็น  3.5  แล้วนำไปตกตะกอนด้วย เอทานอน เข้มข้น  95 %   แล้วกรองตะกอนด้วยกระชอน  7.  นำตะกอนที่ได้ไปตากแดดให้แห้ง แล้วนำมาบดเป็นผง
ปรากฏลักษณะคล้ายวุ้นชัดเจนและเมื่อนำไปอบแห้งจะได้แผ่นบางมีลักษณะคล้ายแผ่นเจลใส 2.76 2.6 2.7 3 84.33 80 83 90 3 ปรากฏตะกอนบนกระดาษกรองแต่ชั่งหามวลไม่ได้ - - - - - - - - 2 ไม่ปรากฏตะกอนบนกระดาษกรอง - - - - - - - - 1 ที่  3 ที่  2 ที่  1 ที่  3 ที่  2 ที่  1 เฉลี่ย ครั้ง ครั้ง ครั้ง เฉลี่ย ครั้ง ครั้ง ครั้ง วุ้นหลังตากแห้ง วุ้นก่อนตากแห้ง หมายเหตุ ปริมาณเพคตินที่สกัดได้  ( g ) วิธีที่ ตารางแสดงผลการทดลองสกัดเพคตินจากเปลือกส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาด้วยวิธีต่าง ๆ
ตอนที่  2  สายพันธุ์ขาวแตงกาว 1.  นำเปลือกขาวส้มโอตากแห้งสายพันธุ์ขาวแตงกาว ไปผสมน้ำโดยใช้อัตราส่วน  100 g  ต่อน้ำ  2000  ml   แช่ทิ้งไว้ ณ อุณหภูมิห้องเป็นเวลา  12  ชั่วโมง  2.  คั้นด้วยเครื่องบีบกาก โดยการกดแต่ละครั้งน้ำหนักเท่ากันจำนวน  3  ครั้ง และจึงนำกากออก วัดปริมาณ น้ำที่คั้นได้ และน้ำที่เหลือจากการแช่ และวัดน้ำหนักกาก 3.  นำน้ำต้ม  80  องศา ปริมาณ  2000  ml   ผสมกับกากที่ได้จากการคั้นและให้คงอุณหภูมิ  80  องศา เป็นระยะเวลา  3  ชั่วโมง  4.  นำกากที่แช่น้ำอุณหภูมิเป็นเวลา  3  ชั่วโมง มาคั้นด้วยเครื่องบีบกากโดยใช้การกดด้วยน้ำหนักที่เท่ากันจำนวน  1  ครั้ง วัดปริมาณ น้ำที่คั้นได้ และน้ำที่เหลือจากการแช่ และวัดน้ำหนักกาก 5.  นำสารละลายที่ได้จากการคั้นด้วยเครื่องบีบกากมาใส่ภาชนะทนความร้อนและให้ความร้อน ไม่เกิน  80  องศา จนสารละลายระเหยเหลือ  200  ml   6.  นำสารละลายที่ระเหยเหลือ  200  ml  มาปรับค่า  pH   ให้เป็น  3.5  และนำสารละลายที่ปรับค่า  pH   เป็น  3.5  แล้วนำไปตกตะกอนด้วย เอทานอน เข้มข้น  95 %   แล้วกรองตะกอนด้วยกระชอน  7.  นำตะกอนที่ได้ไปตากแดดให้แห้ง แล้วนำมาบดเป็นผง
ตอนที่  2  สายพันธุ์ทองดี ทำเช่นเดียวกับสายพันธุ์ขาวแตงกวา ตอนที่  2  สายพันธุ์ขาวน้ำผึ้ง ทำเช่นเดียวกับสายพันธุ์ขาวแตงกวา
1.2 1.6 1.1 0.9 24.8 34 23 17.5 100 ขาวน้ำผึ้ง 3 1.63 1.8 2.1 1 32.7 37 41.2 20 100 ทองดี 2 2.76 2.6 2.7 3 84.3 80 83 90 100 ขาวแตงกวา 1 เฉลี่ย ครั้งที่  3 ครั้งที่  2 ครั้งที่  1 เฉลี่ย ครั้งที่  3 ครั้งที่  2 ครั้งที่  1 หลังตาก ก่อนตาก มวลเพคตินที่ได้หลังการทดลอง ( g ) มวล ก่อนทดลอง (g) สายพันธุ์ ลำดับที่ ตารางแสดงการเปรียบเทียบปริมาณเพคตินที่สกัดได้จากเปลือกขาวส้มโอ สายพันธุ์ขาวแตงกวา สายพันธุ์ทองดี และสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้ง
ตอนที่  3  ทดลองนำไปใช้ประโยชน์ ได้นำเพคตินไปทดลองลงผ้าแก้วและผ้าออแกนซ่าเพื่อจัดทำดอกไม้ประดิษฐ์ โดยการนำเพคตินที่ตากแห้งแล้วนำไปแช่น้ำร้อนเพื่อให้เพคตินละลายแล้วนำผ้าแก้วและผ้าออแกนซ่าไปแช่ในสารละลายเพคตินจากนั้นนำไปตากแดดให้แห้ง  นอกจากนี้ยังได้นำเพคตินไปทำของหวานคือ ฟรุ๊ตสลัด โดยมีวิธีการทำคือ นำเอาเพคตินที่ตากแห้งแล้วมาต้มน้ำให้ละลายแล้วเติมน้ำตาลเพื่อให้ความหวานแล้วนำมาพักไว้สักครู่เพื่อให้สารละลายเย็นตัวลง จากนั้นหั่นผลไม้หลากหลายชนิดเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ลงไป
ผลการทดลอง เมื่อนำเพคตินไปทดลองลงผ้าแก้วและผ้าออแกนซ่าแล้วนำไปตากแดดให้แห้งผลปรากฏว่าผ้า  2  ชนิดแข็งขึ้นกว่าเดิมสามารถนำไปรีดและจัดทำดอกไม้ประดิษฐ์ได้ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปทำฟรุ๊ตสลัด ได้แต่มีรสขมเล็กน้อย
อภิปรายและสรุปผลการทดลอง วิธีสกัดด้วยน้ำโดยนำเปลือกขาวส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ แช่น้ำและคั้นเอาแต่กาก นำกากที่ได้ไป ผสมกับน้ำที่อุณหภูมิ  80  C และให้ความร้อนต่อไปเรื่อย ๆ  เป็นระยะเวลา  3  ชั่วโมง คั้นเอาน้ำจากกากมาทำการระเหย และทำให้มี  pH  3.5  แล้วตกตะกอนด้วย เอทานอล  95%  ได้ผลดีที่สุด คือ ได้วุ้นเพคตินปริมาณ  90  g  และหลังการตากแห้งได้ปริมาณ  3  g  สายพันธุ์ส้มโอที่สามารถทำการสกัดเพคตินจากเปลือกขาวแล้วได้ปริมาณเพคตินมากที่สุด คือ ส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาซึ่งสกัดได้วุ้น  90  g   เมื่อนำไปตากแดดได้เพคติน  3  g  รองลงมาก็คือ ส้มโอพันธุ์ทองดี สกัดได้วุ้น  20  g  เมื่อนำไปตากแดดแล้วได้เพคติน  1  g  และสายพันธุ์ส้มโอที่สกัดได้เพคตินน้อยที่สุด คือ   ส้มโอสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้ง ซึ่งสกัดได้วุ้น  18.5  g  เมื่อนำไปตากแดดแล้วได้เพคติน  0.9  g ในการทดลองตอนที่  2  ส้มโอสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้งที่ได้รับมาจาก จังหวัดกาญจนบุรี มีขนาดเล็กที่สุดใน  3  สายพันธุ์ เพราะเหตุนี้อาจจะทำให้เพคตินที่สกัดออกมาได้ลดน้อยตามไปด้วย ส่วนส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาและส้มโอสายพันธุ์ทองดีเป็นส้มโอในหาง่ายในท้องถิ่นจึงสามารถเลือกลูกที่ใหญ่กว่า  ทำให้ปริมาณเพคตินที่ได้มีปริมาณมากตามไปด้วย แต่ที่ส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาได้มากกว่าเพราะว่าขนาดของเปลือกขาวของส้มโอมีความหนาและมีความหยุ่นมากที่สุดในสามสายพันธุ์ รองลงมาก็คือส้มโอสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้งที่มีเปลือกสีขาวหนาแต่ไม่หยุ่น และสายพันธุ์ทองดีที่มีเปลือกสีขาวบางที่สุดทำให้ได้เพคตินน้อยลงด้วย
ข้อเสนอแนะ 1. ในการทดลองครั้งต่อไปทางคณะผู้จัดทำคาดว่าน่าจะมีการปรับเปลี่ยนเกี่ยวกับเรื่อง เวลาในการแช่ และปริมาณน้ำที่ใช้ในการทดลองแต่ละครั้งให้มีปริมาณที่ลดลง โดยที่ยังคงได้เพคตินเท่ากับหรือมากกว่าเดิม 2. ในการทดลองครั้งต่อไป คณะผู้จัดทำคาดว่าจะหาวิธีในการอบเพคตินให้แห้งโดยใช้เวลาที่รวดเร็วมากขึ้นเพื่อสามารถนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ได้อย่างเพียงพอ 3. ในการทดลองครั้งต่อไป คณะผู้จัดทำคาดว่าจะทำการทดลองกับพืชพรรณไม้ไม้ชนิดอื่นที่ไม่ใช้พืชพันธุ์ไม้ตระกูลส้ม แต่เป็นพืชพรรณไม้ในท้องถิ่น
สรุปผลการทดลอง สายพันธุ์ส้มโอที่สามารถทำการสกัดเพคตินจากเปลือกขาวแล้วได้ปริมาณเพคตินมากที่สุด คือ ส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาซึ่งสกัดได้วุ้น  90  g   เมื่อนำไปตากแดดได้เพคติน  3  g  รองลงมาก็คือ ส้มโอสายพันธุ์ทองดี สกัดได้วุ้น  20  g  เมื่อนำไปตากแดดแล้วได้เพคติน  1  g  และสายพันธุ์ส้มโอที่สกัดได้เพคตินน้อยที่สุดคือส้มโอสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้ง ซึ่งสกัดได้วุ้น  18.5  g  เมื่อนำไปตากแดดแล้วได้เพคติน  0.9  g

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfssuser920267
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2Jariya Jaiyot
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีToeyy Piraya
 
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสารdnavaroj
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8Varin D' Reno
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชี
 
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
เฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงานเฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงาน
 

Similar to โครงงานเพคติน Power Point

บทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงบทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงkasetpcc
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรPornthip Nabnain
 
The use of biological materials in the production of rice
The use of biological materials in the production of riceThe use of biological materials in the production of rice
The use of biological materials in the production of riceworachak11
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานThitaree Permthongchuchai
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานapinoopook
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่างFary Love
 
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EMการผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EMDr.Woravith Chansuvarn
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)Nutthakorn Songkram
 
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดงานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดKanitha Panya
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554Postharvest Technology Innovation Center
 
สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3Duduan
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2Duduan
 
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืชการทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืชPongsakorn Pc
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 

Similar to โครงงานเพคติน Power Point (20)

บทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงบทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุง
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
งานสุขศึก..F
งานสุขศึก..Fงานสุขศึก..F
งานสุขศึก..F
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
 
The use of biological materials in the production of rice
The use of biological materials in the production of riceThe use of biological materials in the production of rice
The use of biological materials in the production of rice
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่าง
 
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EMการผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
 
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดงานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
 
สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2
 
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืชการทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 

โครงงานเพคติน Power Point

  • 2. จุดประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาหาวิธีการที่เหมาะสมในการสกัดเพคตินจากเปลือกขาว ของส้มโอ 2. เพื่อเปรียบเทียบปริมาณเพคตินที่สกัดได้จากเปลือกขาวของส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาสายพันธุ์ทองดี และสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้ง
  • 3. ขอบเขตของการศึกษา การสกัดเพคตินจากเปลือกส้มโอส่วนที่เป็นสีขาวและศึกษาส้มโอ 2 สายพันธุ์ คือ ส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวา และสายพันธุ์ทองดีเปรียบเทียบกับสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้ง
  • 4. สมมุติฐาน - ถ้าในส้มโอมีเพคติน ดังนั้นเมื่อเราสกัดส้มโอด้วยกระบวนการสกัดเพคติน จะได้ผลผลิตเพคติน - ถ้าสายพันธุ์ของส้มโอเกี่ยวข้องกับปริมาณของเพคตินในส้มโอ ดังนั้นเมื่อสกัดเพคตินจากส้มโอต่างสายพันธุ์จะให้ปริมาณเพคตินแตกต่างกัน
  • 5. ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น ตอนที่ 1 วิธีการสกัด ตอนที่ 2 ชนิดสายพันธุ์ของส้มโอ ตอนที่ 3 ชนิดสายพันธุ์ของส้มโอ ตัวแปรตาม ตอนที่ 1 ได้วิธีการสกัดเพคติน ตอนที่ 2 ปริมาณเพคตินแต่ละสายพันธุ์ของส้มโอ ( เปลือก ) ตอนที่ 3 ปริมาณเพคตินแต่ละสายพันธุ์ของส้มโอ ( เมล็ด ) ตัวแปรควบคุม ตอนที่ 1 สายพันธุ์ของส้มโอ ตอนที่ 2 วิธีการ , ปริมาณน้ำ , ปริมาณเปลือกส้มโอ , ปริมาณสารเคมี , เวลา ตอนที่ 3 วิธีการ , ปริมาณน้ำ , ปริมาณเปลือกส้มโอ , ปริมาณสารเคมี , เวลา
  • 6. ระยะเวลาในการทำโครงงาน 30 วัน สถานที่ดำเนินโครงงาน โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท
  • 7. อุปกรณ์ 1. บีกเกอร์ขนาด 50 cm3, 100 cm3,250 cm3,1000 cm3 2. กรรไกร 3. กระบอกตวงขนาด 10 cm3, 50 cm3, 100 cm3 4 . ผ้าขาวบาง 5. ขวดรูปชมพู่ขนาด 250 cm3 6. กระชอน 7. เทอร์มอมิเตอร์ 8. ตัวหนีบ 9. กระบอกตวง 10. ภาชนะบรรจุน้ำ 11. กรวยแก้ว 12. จานเพาะเชื้อ 13. แท่งแก้ว 14 . หม้อ 15. เครื่องชั่ง 16 . เตา 17. เครื่องปั่น 18. มีด 19. เตาอบ 20. เขียง 21. เครื่องบีบกาก 22. ตะแกรง
  • 8. สารเคมี 1. กรดอะซิติก (CH3COOH) 1 mol/dm3 2. กรดไฮโดคลอริกเข้มข้น (conc.HCl) 3. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 6 mol/dm3 4. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 0.1 mol/dm3 5. แคลเซียมคลอไรด์ (CaCl 2 ) 1 mol/dm3 6. เอทานอล 30 % , 80 % , 90 % 7. ส้มโอสายพันธุ์ ขาวแตงกวา , ทองดี , ขาวน้ำผึ้ง 8. กระดาษ pH 9. กระดาษกรอง whatman เบอร์ 4 10. น้ำสะอาด
  • 9. วิธีการทดลอง ตอนที่ 1 วิธีที่ 1 1. หั่นเปลือกขาวส้มโอตากแห้งออกเป็นชิ้น ๆ ผสมกับน้ำด้วยสัดส่วนเปลือกต่อน้ำเป็น 1 : 2 W/V แล้วปั่นส่วนผสมด้วยเครื่องปั่น นาน 5 นาที 2. นำเปลือกขาวส้มโอตากแห้งที่ปั่นแล้วไปต้มให้ได้อุณหภูมิ 80 องศา นาน 15 นาที แล้วนำไปกรองด้วยผ้าขาวบางพับ 2 ชั้น แล้วกรองด้วยกระดาษกรอง whatman เบอร์ 4 3. นำสารละลายที่ได้ไปปรับค่า pH ให้เป็น 7 ด้วย 6M NaOH แล้วผสมให้เป็นสารละลาย 75 % ( โดยใช้สารละลาย 250 ml และ 0.1 NaOH 83 ml ) 4. นำสารละลายที่ได้จากข้อ 3. มาผสมกับ 1M Acetic acid 40 ml เขย่าแล้วตั้งทิ้งไว้ 5 นาทีหลังจากนั้น เติม 1M CaCl 40ml ตั้งทิ้งไว้ 30 นาที 5. นำสารละลายที่ได้มาต้มให้ร้อนแล้วกรองด้วยกระดาษกรอง whatman เบอร์ 4 แล้วทำการล้างตะกอนจนหมด คลอไรด์ จึงนำตะกอนไปอบด้วย tray dryer ที่อุณหภูมิ 50 องศาจนแห้งสนิท แล้วบดให้เป็นผง
  • 10. ตอนที่ 1 วิธีที่ 2 1. หั่นเปลือกขาวส้มโอตากแห้งออกเป็นชิ้น ๆ แช่ในแอลกอฮอร์เป็นเวลา 1 วัน โดยแช่ใน แอลกอฮอร์ เข้มข้น 30 % ในอัตราส่วน 1 : 2 W/V 2. แยกเปลือกขาวส้มโอตากแห้งออกนำมาแช่ใน แอลกอฮอร์ เข้มข้น 80 % ในอัตราส่วน 1 : 2 W/V แล้วปั่นส่วยผสมด้วยเครื่องปั่น นาน 5 นาที จากนั้นกรองด้วยผ้าขาวบางพับ 2 ชั้น แล้วล้างกากด้วย แอลกอฮอร์ เข้มข้น 95 % นำกากที่ได้เติมน้ำในอัตราส่วน 1 : 2 W/V 3. นำกากที่เติมน้ำแล้วไปปรับ pH ให้เป็น 2 โดยใช้ Conc.HCl แล้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง 30 นาทีแล้วนำไปให้ความร้อนที่ 80 องศา นาน 15 นาที 4. นำสารละลายที่ได้ไปกรองด้วยกระดาษกรอง whatman เบอร์ 4 และนำตะกอนไปอบด้วย tray dryer ที่อุณหภูมิ 50 องศาจนแห้งสนิท แล้วบดให้เป็นผง
  • 11. ตอนที่ 1 วิธีที่ 3 1. นำเปลือกขาวส้มโอตากแห้ง ไปผสมน้ำโดยใช้อัตราส่วน 100 g ต่อน้ำ 2000 ml แช่ทิ้งไว้ ณ อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 12 ชั่วโมง 2. คั้นด้วยเครื่องบีบกาก โดยการกดแต่ละครั้งน้ำหนักเท่ากันจำนวน 3 ครั้ง และจึงนำกากออก วัดปริมาณ น้ำที่คั้นได้ และน้ำที่เหลือจากการแช่ และวัดน้ำหนักกาก 3. นำน้ำต้ม 80 องศา ปริมาณ 2000 ml ผสมกับกากที่ได้จากการคั้นและให้คงอุณหภูมิ 80 องศา เป็นระยะเวลา 3 ชั่วโมง 4. นำกากที่แช่น้ำอุณหภูมิเป็นเวลา 3 ชั่วโมง มาคั้นด้วยเครื่องบีบกากโดยใช้การกดด้วยน้ำหนักที่เท่ากันจำนวน 1 ครั้ง วัดปริมาณ น้ำที่คั้นได้ และน้ำที่เหลือจากการแช่ และวัดน้ำหนักกาก 5. นำสารละลายที่ได้จากการคั้นด้วยเครื่องบีบกากมาใส่ภาชนะทนความร้อนและให้ความร้อน ไม่เกิน 80 องศา จนสารละลายระเหยเหลือ 200 ml 6. นำสารละลายที่ระเหยเหลือ 200 ml มาปรับค่า pH ให้เป็น 3.5 และนำสารละลายที่ปรับค่า pH เป็น 3.5 แล้วนำไปตกตะกอนด้วย เอทานอน เข้มข้น 95 % แล้วกรองตะกอนด้วยกระชอน 7. นำตะกอนที่ได้ไปตากแดดให้แห้ง แล้วนำมาบดเป็นผง
  • 12. ปรากฏลักษณะคล้ายวุ้นชัดเจนและเมื่อนำไปอบแห้งจะได้แผ่นบางมีลักษณะคล้ายแผ่นเจลใส 2.76 2.6 2.7 3 84.33 80 83 90 3 ปรากฏตะกอนบนกระดาษกรองแต่ชั่งหามวลไม่ได้ - - - - - - - - 2 ไม่ปรากฏตะกอนบนกระดาษกรอง - - - - - - - - 1 ที่ 3 ที่ 2 ที่ 1 ที่ 3 ที่ 2 ที่ 1 เฉลี่ย ครั้ง ครั้ง ครั้ง เฉลี่ย ครั้ง ครั้ง ครั้ง วุ้นหลังตากแห้ง วุ้นก่อนตากแห้ง หมายเหตุ ปริมาณเพคตินที่สกัดได้ ( g ) วิธีที่ ตารางแสดงผลการทดลองสกัดเพคตินจากเปลือกส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาด้วยวิธีต่าง ๆ
  • 13. ตอนที่ 2 สายพันธุ์ขาวแตงกาว 1. นำเปลือกขาวส้มโอตากแห้งสายพันธุ์ขาวแตงกาว ไปผสมน้ำโดยใช้อัตราส่วน 100 g ต่อน้ำ 2000 ml แช่ทิ้งไว้ ณ อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 12 ชั่วโมง 2. คั้นด้วยเครื่องบีบกาก โดยการกดแต่ละครั้งน้ำหนักเท่ากันจำนวน 3 ครั้ง และจึงนำกากออก วัดปริมาณ น้ำที่คั้นได้ และน้ำที่เหลือจากการแช่ และวัดน้ำหนักกาก 3. นำน้ำต้ม 80 องศา ปริมาณ 2000 ml ผสมกับกากที่ได้จากการคั้นและให้คงอุณหภูมิ 80 องศา เป็นระยะเวลา 3 ชั่วโมง 4. นำกากที่แช่น้ำอุณหภูมิเป็นเวลา 3 ชั่วโมง มาคั้นด้วยเครื่องบีบกากโดยใช้การกดด้วยน้ำหนักที่เท่ากันจำนวน 1 ครั้ง วัดปริมาณ น้ำที่คั้นได้ และน้ำที่เหลือจากการแช่ และวัดน้ำหนักกาก 5. นำสารละลายที่ได้จากการคั้นด้วยเครื่องบีบกากมาใส่ภาชนะทนความร้อนและให้ความร้อน ไม่เกิน 80 องศา จนสารละลายระเหยเหลือ 200 ml 6. นำสารละลายที่ระเหยเหลือ 200 ml มาปรับค่า pH ให้เป็น 3.5 และนำสารละลายที่ปรับค่า pH เป็น 3.5 แล้วนำไปตกตะกอนด้วย เอทานอน เข้มข้น 95 % แล้วกรองตะกอนด้วยกระชอน 7. นำตะกอนที่ได้ไปตากแดดให้แห้ง แล้วนำมาบดเป็นผง
  • 14. ตอนที่ 2 สายพันธุ์ทองดี ทำเช่นเดียวกับสายพันธุ์ขาวแตงกวา ตอนที่ 2 สายพันธุ์ขาวน้ำผึ้ง ทำเช่นเดียวกับสายพันธุ์ขาวแตงกวา
  • 15. 1.2 1.6 1.1 0.9 24.8 34 23 17.5 100 ขาวน้ำผึ้ง 3 1.63 1.8 2.1 1 32.7 37 41.2 20 100 ทองดี 2 2.76 2.6 2.7 3 84.3 80 83 90 100 ขาวแตงกวา 1 เฉลี่ย ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 เฉลี่ย ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 หลังตาก ก่อนตาก มวลเพคตินที่ได้หลังการทดลอง ( g ) มวล ก่อนทดลอง (g) สายพันธุ์ ลำดับที่ ตารางแสดงการเปรียบเทียบปริมาณเพคตินที่สกัดได้จากเปลือกขาวส้มโอ สายพันธุ์ขาวแตงกวา สายพันธุ์ทองดี และสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้ง
  • 16. ตอนที่ 3 ทดลองนำไปใช้ประโยชน์ ได้นำเพคตินไปทดลองลงผ้าแก้วและผ้าออแกนซ่าเพื่อจัดทำดอกไม้ประดิษฐ์ โดยการนำเพคตินที่ตากแห้งแล้วนำไปแช่น้ำร้อนเพื่อให้เพคตินละลายแล้วนำผ้าแก้วและผ้าออแกนซ่าไปแช่ในสารละลายเพคตินจากนั้นนำไปตากแดดให้แห้ง นอกจากนี้ยังได้นำเพคตินไปทำของหวานคือ ฟรุ๊ตสลัด โดยมีวิธีการทำคือ นำเอาเพคตินที่ตากแห้งแล้วมาต้มน้ำให้ละลายแล้วเติมน้ำตาลเพื่อให้ความหวานแล้วนำมาพักไว้สักครู่เพื่อให้สารละลายเย็นตัวลง จากนั้นหั่นผลไม้หลากหลายชนิดเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ลงไป
  • 17. ผลการทดลอง เมื่อนำเพคตินไปทดลองลงผ้าแก้วและผ้าออแกนซ่าแล้วนำไปตากแดดให้แห้งผลปรากฏว่าผ้า 2 ชนิดแข็งขึ้นกว่าเดิมสามารถนำไปรีดและจัดทำดอกไม้ประดิษฐ์ได้ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปทำฟรุ๊ตสลัด ได้แต่มีรสขมเล็กน้อย
  • 18. อภิปรายและสรุปผลการทดลอง วิธีสกัดด้วยน้ำโดยนำเปลือกขาวส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ แช่น้ำและคั้นเอาแต่กาก นำกากที่ได้ไป ผสมกับน้ำที่อุณหภูมิ 80  C และให้ความร้อนต่อไปเรื่อย ๆ เป็นระยะเวลา 3 ชั่วโมง คั้นเอาน้ำจากกากมาทำการระเหย และทำให้มี pH 3.5 แล้วตกตะกอนด้วย เอทานอล 95% ได้ผลดีที่สุด คือ ได้วุ้นเพคตินปริมาณ 90 g และหลังการตากแห้งได้ปริมาณ 3 g สายพันธุ์ส้มโอที่สามารถทำการสกัดเพคตินจากเปลือกขาวแล้วได้ปริมาณเพคตินมากที่สุด คือ ส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาซึ่งสกัดได้วุ้น 90 g เมื่อนำไปตากแดดได้เพคติน 3 g รองลงมาก็คือ ส้มโอพันธุ์ทองดี สกัดได้วุ้น 20 g เมื่อนำไปตากแดดแล้วได้เพคติน 1 g และสายพันธุ์ส้มโอที่สกัดได้เพคตินน้อยที่สุด คือ ส้มโอสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้ง ซึ่งสกัดได้วุ้น 18.5 g เมื่อนำไปตากแดดแล้วได้เพคติน 0.9 g ในการทดลองตอนที่ 2 ส้มโอสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้งที่ได้รับมาจาก จังหวัดกาญจนบุรี มีขนาดเล็กที่สุดใน 3 สายพันธุ์ เพราะเหตุนี้อาจจะทำให้เพคตินที่สกัดออกมาได้ลดน้อยตามไปด้วย ส่วนส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาและส้มโอสายพันธุ์ทองดีเป็นส้มโอในหาง่ายในท้องถิ่นจึงสามารถเลือกลูกที่ใหญ่กว่า ทำให้ปริมาณเพคตินที่ได้มีปริมาณมากตามไปด้วย แต่ที่ส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาได้มากกว่าเพราะว่าขนาดของเปลือกขาวของส้มโอมีความหนาและมีความหยุ่นมากที่สุดในสามสายพันธุ์ รองลงมาก็คือส้มโอสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้งที่มีเปลือกสีขาวหนาแต่ไม่หยุ่น และสายพันธุ์ทองดีที่มีเปลือกสีขาวบางที่สุดทำให้ได้เพคตินน้อยลงด้วย
  • 19. ข้อเสนอแนะ 1. ในการทดลองครั้งต่อไปทางคณะผู้จัดทำคาดว่าน่าจะมีการปรับเปลี่ยนเกี่ยวกับเรื่อง เวลาในการแช่ และปริมาณน้ำที่ใช้ในการทดลองแต่ละครั้งให้มีปริมาณที่ลดลง โดยที่ยังคงได้เพคตินเท่ากับหรือมากกว่าเดิม 2. ในการทดลองครั้งต่อไป คณะผู้จัดทำคาดว่าจะหาวิธีในการอบเพคตินให้แห้งโดยใช้เวลาที่รวดเร็วมากขึ้นเพื่อสามารถนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ได้อย่างเพียงพอ 3. ในการทดลองครั้งต่อไป คณะผู้จัดทำคาดว่าจะทำการทดลองกับพืชพรรณไม้ไม้ชนิดอื่นที่ไม่ใช้พืชพันธุ์ไม้ตระกูลส้ม แต่เป็นพืชพรรณไม้ในท้องถิ่น
  • 20. สรุปผลการทดลอง สายพันธุ์ส้มโอที่สามารถทำการสกัดเพคตินจากเปลือกขาวแล้วได้ปริมาณเพคตินมากที่สุด คือ ส้มโอสายพันธุ์ขาวแตงกวาซึ่งสกัดได้วุ้น 90 g เมื่อนำไปตากแดดได้เพคติน 3 g รองลงมาก็คือ ส้มโอสายพันธุ์ทองดี สกัดได้วุ้น 20 g เมื่อนำไปตากแดดแล้วได้เพคติน 1 g และสายพันธุ์ส้มโอที่สกัดได้เพคตินน้อยที่สุดคือส้มโอสายพันธุ์ขาวน้ำผึ้ง ซึ่งสกัดได้วุ้น 18.5 g เมื่อนำไปตากแดดแล้วได้เพคติน 0.9 g