SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
แบบทดสอบก่อนเรียน
คาชี้แจง : ให้นักเรียนจับคู่ภาวะต่างๆทางด้านขวามือกับการอยู่
ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในด้านซ้ายมือ
หมายเหตุ : นร.ไม่ต้องลอกโจทย์ เขียนเฉพาะอักษรที่เลือกเท่านั้น
..........1. เพรียงหินบนหลังปลาวาฬสีเทา
..........2. กาบหอยแครงกับแมลงวัน
..........3. วัวป่าและกวางในทุ่งหญ้า
..........4. แบคทีเรียมีประโยชน์ในลาไส้ใหญ่
..........5. ต้นกาฝากบนต้นมะม่วง
..........6. ราและสาหร่ายในไลเคน
..........7. เพลี้ยอ่อนกับมดดา
..........8. เฟิร์นชายผ้าสีดาบนต้นไม้ใหญ่
..........9. ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล
..........10. หมัดสุนัขกับสุนัข
ก. ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน
ข. ภาวะพึ่งพา
ค. ภาวะอิงอาศัย
ง. ภาวะปรสิต
จ. ภาวะล่าเหยื่อ
ฉ. ภาวะแข่งขัน
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
แบ่งออก เป็น 2 ลักษณะคือ
1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน
1. ความสัมพันธ์ในการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
(intraspecific relationship)
• การรวมกันในลักษณะเป็นฝูงใหญ่ (aggregation)
ที่มา : Rutgers (2006)
เป็นการรวมกันในลักษณะเป็นฝูงใหญ่ของตัวเต็มวัยและตัวอ่อน Stink Bug อาจเป็นเพราะสภาพ แวดล้อมที่มีการ
เปลี่ยนแปลงบางอย่าง เช่น อุณหภูมิหรือปัจจัยทางกายภาพบางอย่าง การรวมกลุ่มมีทั้งเข้ามารวมกลุ่มกันเองเพื่อ
ความเหมาะสมต่อการดารงชีวิต และเข้ามารวมกลุ่มกันโดยบังเอิญ
• การรวมกลุ่มกันแบบมีเป้าหมาย (concurrence)
– แมลงหลายชนิดมีการรวมกลุ่มกันเพื่อเป้าหมายในการจับคู่ ความต้องการอาหาร หรือการเตรียมตัว
อยู่ข้ามฤดูหนาว แต่ผลของการอยู่ร่วมกันอย่างหนาแน่นเป็นระยะเวลานานทาให้แหล่งอาหารลดลง
เกิดการปนเปื้อนของมูลและอาจเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคต่างๆ ที่เป็นอันตรายต่อแมลงได้
• การกินกันเอง (cannibalism)
ที่มา : Nevada (2005) and Flickr (2006)
เกิดขึ้นได้เนื่องจากสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีความต้องการเบื้องต้นต่างๆ เช่น อาหารและที่อยู่อาศัยที่เหมือนกัน
เช่น การอยู่รวมกันของมอดแป้งในอาหารจาพวกธัญพืชหรือแป้งชนิดต่างๆ มอดจะมีพฤติกรรมในการกินกันเอง
โดยตัวเต็มวัยหรือตัวหนอนที่มีขนาดใหญ่มักกัดกินไข่หรือตัวหนอนที่มีขนาดเล็กและอ่อนแอกว่า
เพศสัมพันธุ์ (association of the sexes)
ที่มา : Romero (2003)
สัดส่วนระหว่างเพศเมียต่อเพศผู้มีความ สาคัญมากต่อการเพิ่มหรือลดของประชากร
ณ สภาวะแวดล้อมที่แตกต่างกันไป เช่น ในสภาพอุณหภูมิปกติสัดส่วนของเพศเมียต่อเพศผู้ของแมลงวัน คือ
1 : 1 และสามารถผลิตลูกหลานได้ 2607 ตัว เมื่อสิ้นสุดฤดูการผสมพันธุ์ หากสัดส่วนเพศเปลี่ยนเป็น 3 :
1 เมื่อสิ้นสุดฤดูผสมพันธุ์จะสามารถผลิตลูกหลานได้สูงขึ้นถึง 3304 ตัว
• การเลี้ยงดูตัวอ่อน (parental care)
ที่มา : MartinMick (2002) and Field et al. (2006)
จัดเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกของตัวเต็มวัยโดยเฉพาะเพศเมีย ตั้งแต่การวางไข่บนพืชอาหารที่มีความเหมาะสมต่อการอยู่
รอดของไข่จนกว่าจะฟัก และขนอาหารมาเก็บสะสมไว้ในรังเพื่อเป็นแหล่งสะสมเสบียงสาหรับตัวอ่อน มีการปกป้องตัว
อ่อน หรือเตรียมเหยื่อที่เป็นอัมพาตไว้ในรังเพื่อเป็นอาหารของตัวอ่อน พบได้ในตัวต่อและแตนหลายชนิด แมลงหางหนีบ
วางไข่ในรังที่มีลักษณะเป็นแคปซูลอยู่ใต้ดิน และมีพฤติกรรมการดูแลไข่หรือตัวอ่อนในรังด้วยการคอยพลิกไข่ ทาความ
สะอาดไม่ให้มีเชื้อราหรือแบคทีเรียเข้าทาลายไข่ได้
ที่มา : โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (2540)
การอยู่เป็นสังคม (social life)
พบได้ในแมลงจาพวก ผึ้ง ต่อ แตน ปลวก และ มด ซึ่งมีรูปแบบการดารงชีพโดยการอยู่รวมกัน
เป็นสังคม มีการแบ่งชั้นวรรณะกันเพื่อทาหน้าที่ที่แตกต่างกันภายในรัง เช่น มดหรือ ปลวก
ประกอบด้วย 4 วรรณะ
2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิดในระบบนิเวศเดียวกัน
(Interspecific interaction)
• แบ่งเป็น 3 รูปแบบคือ
1. แบบพึ่งพาอาศัยกัน (Symbiosis)
- เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ที่ทาให้ฝ่าย
หนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายได้ประโยชน์โดยไม่มีฝ่ายใดเสีย
ประโยชน์เลยได้แก่
1.1 ภาวะพึ่งพา ( Mutualism : +,+)
หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2ชนิดโดยต่างก็ไ ด้รับประโยชน์ซึ่ง
กันและกัน หากแยกกันอยู่จะไม่สามารถดารงชีวิตต่อไปได้ เช่น
– ไลเคนส์ ( Lichens) : สาหร่ายอยู่ร่วมกับสาหร่าย สาหร่ายได้รับ
ความชื้นและแร่ธาตุจากรา ราได้รับอาหารและออกซิเจนจากสาหร่าย
– โพรโทซัวในลาไส้ปลวก : โพรโทซัวชนิด Trichonympha sp.
ช่วยย่อยเซลลูโลสให้ปลวกปลวกให้ที่อยู่อาศัยและอาหารแก่
โพรโทซัว
– แบคทีเรียในลาไส้ใหญ่ของมนุษย์ : แบคทีเรียชนิด Escherichia
coli ช่วยย่อยกากอาหารและสร้างวิตามิน K , B ให้มนุษย์ ส่วนมนุษย์ให้
ที่อยู่อาศัยและอาหารแก่แบคที่เรีย
1.2 ภาวะใต้ประโยชน์ร่วมกัน
( Protocooperation : + ,+ )
หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยก็ได้รับประโยชน์ซึ่งกัน
และกัน แม้แยกกันอยู่ก็สามารถดารงชีวิตได้ตามปกติ เช่น
– แมลงกับดอกไม้ : แมลงได้รับน้าหวานจากดอกไม้ ส่วนดอกไม้ได้
แมลงช่วยผสมเกสรทาให้แพร่พันธุ์ได้ดีขึ้น
- นกเอี้ยงกับควาย ภาพล่าง
ภาวะพึ่งพาระหว่างนกเอี้ยง
หงอน กับควาย นกเอี้ยง
อาศัยการกินอาหารจาก
ปรสิตภายนอก(ectoparasite)
บนหลังควาย ส่วนควาย
ได้รับการกาจัดปรสิตออกไป
– ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล (sea anemone) : ดอกไม้ทะเล
ซึ่งเกาะอยู่บนปูเสฉวนช่วยป้องกันภัยและพรางตัวให้
ปูเสฉวนส่วนปูเสฉวนช่วยให้ดอกไม้ทะเลเคลื่อนที่หาแหล่ง
อาหารใหม่ๆได้
1.3 ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล
( Commensalism : + , 0)
หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์
อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ เช่น
– ปลาฉลามกับเหาฉลาม : เหาฉลามเกาะติดกับปลาฉลาม ได้เศษ
อาหารจากปลาฉลามโดยปลาฉลามก็ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อะไร
– พืชอิงอาศัย ( epiphyte) บนต้นไม้ใหญ่ : พืชอิงอาศัย เช่น
ชายผ้าสีดาหรือกล้วยไม้เกาะอยู่บนต้นไม้ใหญ่ ได้รับความชุ่มชื้น ที่
อยู่อาศัยและแสงสว่างที่เหมาะสมโดยต้นไม้ใหญ่ไม่ได้และไม่เสีย
ประโยชน์ใดๆ
– นก ต่อ แตน ผึ้ง ทารังบนต้นไม้ : สัตว์เหล่านี้ได้ที่อยู่อาศัย หลบ
ภัยจากศัตรูธรรมชาติโดยต้นไม้ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อะไร
2) แบบปฏิปักษ์ต่อกัน ( Antagonism)
- เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ทาให้ฝ่ายหนึ่ง
ฝ่ายใดเสียประโยชน์หรือเสียประโยชน์ทั้งสองฝ่าย ได้แก่
2.1 ภาวะปรสิต ( Parasitism : + , -)
หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์
เรียกว่า ปรสิต ( parasite) อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์เรียกว่าผู้ถูก
อาศัย( host) เช่น
– เห็บ เหา ไร หมัด บนร่างกายสัตว์ : ปรสิตภายนอก ( ectoparasite)
เหล่านี้ดูดเลือดจากร่างกายสัตว์จึงเป็นฝ่ายได้ประโยชน์ ส่วนสัตว์เป็นฝ่ายเสีย
ประโยชน์
– พยาธิ ในร่างกายสัตว์ :ปรสิตภายใน (endoparasite) จะ
ดูดสารอาหารจากร่างกายสัตว์จึงเป็นฝ่ายได้ประโยชน์ส่วนสัตว์เป็น
ฝ่ายเสียประโยชน์
ภาวปรสิต (parasitism)
ภาพกาฝากบนต้นมะม่วง กาฟากเป็นปรสิต มะม่วงเป็น host
ที่มา: http://www.wattano.ac.th/wattano51/Web_saunpluak/Pic_Fol001250%20up%202550/028
2.2 ภาวะล่าเหยื่อ ( Predation : + , -)
หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตโดยฝ่ายหนึ่งจับอีกฝ่ายหนึ่งเป็น
อาหาร เรียกว่า ผู้ล่า (predator) ส่วนฝ่ายที่ถูกจับเป็นอาหารหรือ
ถูกล่า เรียกว่า เหยื่อ ( prey) เช่น
-กบกับแมลง :กบเป็นผู้ล่า แมลงเป็นผู้ถูกล่า
-เหยี่ยวกับปลา:เหยี่ยวเป็นผู้ล่าส่วนปลาเป็นผู้ถูกล่า
กาบหอยแครงกับแมลง หรือ หมอข้าวหม้อแกงลิงกับแมลง
2.3 ภาวะแข่งขัน ( Competition : – , –)
หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่มีการแย่งปัจจัยในการดารงชีพ
เหมือนกันจึงทาให้เสียประโยชน์ทั้งสองฝ่าย เช่น เสือ , สิงโต , สุนัขป่า
แย่งชิงกันครอบครองที่อยู่อาศัยหรืออาหารพืชหลายชนิดที่เจริญอยู่ใน
บริเวณเดียวกัน เป็นต้น
2.4 ภาวะหลั่งสารยับยั้งการเจริญ ( Antibiosis : 0 , -)
หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหลั่งสารมายับยั้ง
การเจริญของแบคทีเรียสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน บางชนิดหลั่งสารพิษ
เรียกว่า hydroxylamine ทาให้สัตว์น้าในบริเวณนั้นได้รับ
อันตราย การทาวัคซีน
• อะเมนซาลิซึมและแอนติไบโอซีส (amensalism and antibiosis)
ที่มา : พนาไพรสนณ์ ออนไลน์ (2549)
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ซึ่งประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งถูกขัดขวาง
ในขณะที่ประชากรอีกชนิดหนึ่งไม่ได้ผลประโยชน์อะไรเลย
เช่น พืชที่อยู่ใต้ร่มเงาของต้นไม้ใหญ่
3) แบบเป็นกลางต่อกัน
( Neutralism : 0 , 0)
เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอิสระต่อกันจึงไม่
มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดได้หรือเสียประโยชน์ เช่น
– แมงมุมกับกระต่ายอาศัยอยู่ในทุ่งหญ้า แมงมุมกินแมลงเป็น
อาหาร ส่วนกระต่ายกินหญ้าเป็นอาหารจึงไม่มีฝ่ายใดได้หรือเสีย
ประโยชน์
– กบกับไส้เดือนดินอาศัยอยู่ในทุ่งนา กบกินแมลงเป็นอาหาร ส่วนไส้เดือน
ดิน กินซากสิ่งมีชีวิตที่เน่าเปื่อยผุพัง จึงไม่มีฝ่ายใดได้หรือเสียประโยชน์
แบบทดสอบหลังเรียน
คาชี้แจง : ให้นักเรียนจับคู่ภาวะต่างๆทางด้านขวามือกับการอยู่
ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในด้านซ้ายมือ
หมายเหตุ : นร.ไม่ต้องลอกโจทย์ เขียนเฉพาะอักษรที่เลือกเท่านั้น
..........1. เพรียงหินบนหลังปลาวาฬสีเทา
..........2. กาบหอยแครงกับแมลงวัน
..........3. วัวป่าและกวางในทุ่งหญ้า
..........4. แบคทีเรียมีประโยชน์ในลาไส้ใหญ่
..........5. ต้นกาฝากบนต้นมะม่วง
..........6. ราและสาหร่ายในไลเคน
..........7. เพลี้ยอ่อนกับมดดา
..........8. เฟิร์นชายผ้าสีดาบนต้นไม้ใหญ่
..........9. ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล
..........10. หมัดสุนัขกับสุนัข
ก. ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน
ข. ภาวะพึ่งพา
ค. ภาวะอิงอาศัย
ง. ภาวะปรสิต
จ. ภาวะล่าเหยื่อ
ฉ. ภาวะแข่งขัน

More Related Content

What's hot

ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 

Similar to ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2Bios Logos
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศSaran Srimee
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Khaojaoba Apple
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดSircom Smarnbua
 
Biology lernning 1
Biology lernning 1Biology lernning 1
Biology lernning 1paifon
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2chirapa
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสมพร นายน้อย
 

Similar to ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ (20)

File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
wan
wanwan
wan
 
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศแบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
 
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
Biology lernning 1
Biology lernning 1Biology lernning 1
Biology lernning 1
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

  • 3. คาชี้แจง : ให้นักเรียนจับคู่ภาวะต่างๆทางด้านขวามือกับการอยู่ ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในด้านซ้ายมือ หมายเหตุ : นร.ไม่ต้องลอกโจทย์ เขียนเฉพาะอักษรที่เลือกเท่านั้น ..........1. เพรียงหินบนหลังปลาวาฬสีเทา ..........2. กาบหอยแครงกับแมลงวัน ..........3. วัวป่าและกวางในทุ่งหญ้า ..........4. แบคทีเรียมีประโยชน์ในลาไส้ใหญ่ ..........5. ต้นกาฝากบนต้นมะม่วง ..........6. ราและสาหร่ายในไลเคน ..........7. เพลี้ยอ่อนกับมดดา ..........8. เฟิร์นชายผ้าสีดาบนต้นไม้ใหญ่ ..........9. ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล ..........10. หมัดสุนัขกับสุนัข ก. ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน ข. ภาวะพึ่งพา ค. ภาวะอิงอาศัย ง. ภาวะปรสิต จ. ภาวะล่าเหยื่อ ฉ. ภาวะแข่งขัน
  • 4. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ แบ่งออก เป็น 2 ลักษณะคือ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน 2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน
  • 5. 1. ความสัมพันธ์ในการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน (intraspecific relationship) • การรวมกันในลักษณะเป็นฝูงใหญ่ (aggregation) ที่มา : Rutgers (2006) เป็นการรวมกันในลักษณะเป็นฝูงใหญ่ของตัวเต็มวัยและตัวอ่อน Stink Bug อาจเป็นเพราะสภาพ แวดล้อมที่มีการ เปลี่ยนแปลงบางอย่าง เช่น อุณหภูมิหรือปัจจัยทางกายภาพบางอย่าง การรวมกลุ่มมีทั้งเข้ามารวมกลุ่มกันเองเพื่อ ความเหมาะสมต่อการดารงชีวิต และเข้ามารวมกลุ่มกันโดยบังเอิญ
  • 6. • การรวมกลุ่มกันแบบมีเป้าหมาย (concurrence) – แมลงหลายชนิดมีการรวมกลุ่มกันเพื่อเป้าหมายในการจับคู่ ความต้องการอาหาร หรือการเตรียมตัว อยู่ข้ามฤดูหนาว แต่ผลของการอยู่ร่วมกันอย่างหนาแน่นเป็นระยะเวลานานทาให้แหล่งอาหารลดลง เกิดการปนเปื้อนของมูลและอาจเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคต่างๆ ที่เป็นอันตรายต่อแมลงได้ • การกินกันเอง (cannibalism) ที่มา : Nevada (2005) and Flickr (2006) เกิดขึ้นได้เนื่องจากสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีความต้องการเบื้องต้นต่างๆ เช่น อาหารและที่อยู่อาศัยที่เหมือนกัน เช่น การอยู่รวมกันของมอดแป้งในอาหารจาพวกธัญพืชหรือแป้งชนิดต่างๆ มอดจะมีพฤติกรรมในการกินกันเอง โดยตัวเต็มวัยหรือตัวหนอนที่มีขนาดใหญ่มักกัดกินไข่หรือตัวหนอนที่มีขนาดเล็กและอ่อนแอกว่า
  • 7. เพศสัมพันธุ์ (association of the sexes) ที่มา : Romero (2003) สัดส่วนระหว่างเพศเมียต่อเพศผู้มีความ สาคัญมากต่อการเพิ่มหรือลดของประชากร ณ สภาวะแวดล้อมที่แตกต่างกันไป เช่น ในสภาพอุณหภูมิปกติสัดส่วนของเพศเมียต่อเพศผู้ของแมลงวัน คือ 1 : 1 และสามารถผลิตลูกหลานได้ 2607 ตัว เมื่อสิ้นสุดฤดูการผสมพันธุ์ หากสัดส่วนเพศเปลี่ยนเป็น 3 : 1 เมื่อสิ้นสุดฤดูผสมพันธุ์จะสามารถผลิตลูกหลานได้สูงขึ้นถึง 3304 ตัว
  • 8. • การเลี้ยงดูตัวอ่อน (parental care) ที่มา : MartinMick (2002) and Field et al. (2006) จัดเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกของตัวเต็มวัยโดยเฉพาะเพศเมีย ตั้งแต่การวางไข่บนพืชอาหารที่มีความเหมาะสมต่อการอยู่ รอดของไข่จนกว่าจะฟัก และขนอาหารมาเก็บสะสมไว้ในรังเพื่อเป็นแหล่งสะสมเสบียงสาหรับตัวอ่อน มีการปกป้องตัว อ่อน หรือเตรียมเหยื่อที่เป็นอัมพาตไว้ในรังเพื่อเป็นอาหารของตัวอ่อน พบได้ในตัวต่อและแตนหลายชนิด แมลงหางหนีบ วางไข่ในรังที่มีลักษณะเป็นแคปซูลอยู่ใต้ดิน และมีพฤติกรรมการดูแลไข่หรือตัวอ่อนในรังด้วยการคอยพลิกไข่ ทาความ สะอาดไม่ให้มีเชื้อราหรือแบคทีเรียเข้าทาลายไข่ได้
  • 9. ที่มา : โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (2540) การอยู่เป็นสังคม (social life) พบได้ในแมลงจาพวก ผึ้ง ต่อ แตน ปลวก และ มด ซึ่งมีรูปแบบการดารงชีพโดยการอยู่รวมกัน เป็นสังคม มีการแบ่งชั้นวรรณะกันเพื่อทาหน้าที่ที่แตกต่างกันภายในรัง เช่น มดหรือ ปลวก ประกอบด้วย 4 วรรณะ
  • 11. 1. แบบพึ่งพาอาศัยกัน (Symbiosis) - เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ที่ทาให้ฝ่าย หนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายได้ประโยชน์โดยไม่มีฝ่ายใดเสีย ประโยชน์เลยได้แก่
  • 12. 1.1 ภาวะพึ่งพา ( Mutualism : +,+) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2ชนิดโดยต่างก็ไ ด้รับประโยชน์ซึ่ง กันและกัน หากแยกกันอยู่จะไม่สามารถดารงชีวิตต่อไปได้ เช่น – ไลเคนส์ ( Lichens) : สาหร่ายอยู่ร่วมกับสาหร่าย สาหร่ายได้รับ ความชื้นและแร่ธาตุจากรา ราได้รับอาหารและออกซิเจนจากสาหร่าย
  • 13. – โพรโทซัวในลาไส้ปลวก : โพรโทซัวชนิด Trichonympha sp. ช่วยย่อยเซลลูโลสให้ปลวกปลวกให้ที่อยู่อาศัยและอาหารแก่ โพรโทซัว
  • 14. – แบคทีเรียในลาไส้ใหญ่ของมนุษย์ : แบคทีเรียชนิด Escherichia coli ช่วยย่อยกากอาหารและสร้างวิตามิน K , B ให้มนุษย์ ส่วนมนุษย์ให้ ที่อยู่อาศัยและอาหารแก่แบคที่เรีย
  • 15. 1.2 ภาวะใต้ประโยชน์ร่วมกัน ( Protocooperation : + ,+ ) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยก็ได้รับประโยชน์ซึ่งกัน และกัน แม้แยกกันอยู่ก็สามารถดารงชีวิตได้ตามปกติ เช่น – แมลงกับดอกไม้ : แมลงได้รับน้าหวานจากดอกไม้ ส่วนดอกไม้ได้ แมลงช่วยผสมเกสรทาให้แพร่พันธุ์ได้ดีขึ้น
  • 16. - นกเอี้ยงกับควาย ภาพล่าง ภาวะพึ่งพาระหว่างนกเอี้ยง หงอน กับควาย นกเอี้ยง อาศัยการกินอาหารจาก ปรสิตภายนอก(ectoparasite) บนหลังควาย ส่วนควาย ได้รับการกาจัดปรสิตออกไป
  • 17. – ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล (sea anemone) : ดอกไม้ทะเล ซึ่งเกาะอยู่บนปูเสฉวนช่วยป้องกันภัยและพรางตัวให้ ปูเสฉวนส่วนปูเสฉวนช่วยให้ดอกไม้ทะเลเคลื่อนที่หาแหล่ง อาหารใหม่ๆได้
  • 18. 1.3 ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล ( Commensalism : + , 0) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ เช่น – ปลาฉลามกับเหาฉลาม : เหาฉลามเกาะติดกับปลาฉลาม ได้เศษ อาหารจากปลาฉลามโดยปลาฉลามก็ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อะไร
  • 19. – พืชอิงอาศัย ( epiphyte) บนต้นไม้ใหญ่ : พืชอิงอาศัย เช่น ชายผ้าสีดาหรือกล้วยไม้เกาะอยู่บนต้นไม้ใหญ่ ได้รับความชุ่มชื้น ที่ อยู่อาศัยและแสงสว่างที่เหมาะสมโดยต้นไม้ใหญ่ไม่ได้และไม่เสีย ประโยชน์ใดๆ
  • 20. – นก ต่อ แตน ผึ้ง ทารังบนต้นไม้ : สัตว์เหล่านี้ได้ที่อยู่อาศัย หลบ ภัยจากศัตรูธรรมชาติโดยต้นไม้ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อะไร
  • 21. 2) แบบปฏิปักษ์ต่อกัน ( Antagonism) - เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ทาให้ฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายใดเสียประโยชน์หรือเสียประโยชน์ทั้งสองฝ่าย ได้แก่
  • 22. 2.1 ภาวะปรสิต ( Parasitism : + , -) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ เรียกว่า ปรสิต ( parasite) อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์เรียกว่าผู้ถูก อาศัย( host) เช่น – เห็บ เหา ไร หมัด บนร่างกายสัตว์ : ปรสิตภายนอก ( ectoparasite) เหล่านี้ดูดเลือดจากร่างกายสัตว์จึงเป็นฝ่ายได้ประโยชน์ ส่วนสัตว์เป็นฝ่ายเสีย ประโยชน์
  • 23. – พยาธิ ในร่างกายสัตว์ :ปรสิตภายใน (endoparasite) จะ ดูดสารอาหารจากร่างกายสัตว์จึงเป็นฝ่ายได้ประโยชน์ส่วนสัตว์เป็น ฝ่ายเสียประโยชน์
  • 24. ภาวปรสิต (parasitism) ภาพกาฝากบนต้นมะม่วง กาฟากเป็นปรสิต มะม่วงเป็น host ที่มา: http://www.wattano.ac.th/wattano51/Web_saunpluak/Pic_Fol001250%20up%202550/028
  • 25. 2.2 ภาวะล่าเหยื่อ ( Predation : + , -) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตโดยฝ่ายหนึ่งจับอีกฝ่ายหนึ่งเป็น อาหาร เรียกว่า ผู้ล่า (predator) ส่วนฝ่ายที่ถูกจับเป็นอาหารหรือ ถูกล่า เรียกว่า เหยื่อ ( prey) เช่น -กบกับแมลง :กบเป็นผู้ล่า แมลงเป็นผู้ถูกล่า
  • 28.
  • 29. 2.3 ภาวะแข่งขัน ( Competition : – , –) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่มีการแย่งปัจจัยในการดารงชีพ เหมือนกันจึงทาให้เสียประโยชน์ทั้งสองฝ่าย เช่น เสือ , สิงโต , สุนัขป่า แย่งชิงกันครอบครองที่อยู่อาศัยหรืออาหารพืชหลายชนิดที่เจริญอยู่ใน บริเวณเดียวกัน เป็นต้น
  • 30.
  • 31. 2.4 ภาวะหลั่งสารยับยั้งการเจริญ ( Antibiosis : 0 , -) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหลั่งสารมายับยั้ง การเจริญของแบคทีเรียสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน บางชนิดหลั่งสารพิษ เรียกว่า hydroxylamine ทาให้สัตว์น้าในบริเวณนั้นได้รับ อันตราย การทาวัคซีน
  • 32. • อะเมนซาลิซึมและแอนติไบโอซีส (amensalism and antibiosis) ที่มา : พนาไพรสนณ์ ออนไลน์ (2549) ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ซึ่งประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งถูกขัดขวาง ในขณะที่ประชากรอีกชนิดหนึ่งไม่ได้ผลประโยชน์อะไรเลย เช่น พืชที่อยู่ใต้ร่มเงาของต้นไม้ใหญ่
  • 33. 3) แบบเป็นกลางต่อกัน ( Neutralism : 0 , 0) เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอิสระต่อกันจึงไม่ มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดได้หรือเสียประโยชน์ เช่น
  • 34. – แมงมุมกับกระต่ายอาศัยอยู่ในทุ่งหญ้า แมงมุมกินแมลงเป็น อาหาร ส่วนกระต่ายกินหญ้าเป็นอาหารจึงไม่มีฝ่ายใดได้หรือเสีย ประโยชน์
  • 35. – กบกับไส้เดือนดินอาศัยอยู่ในทุ่งนา กบกินแมลงเป็นอาหาร ส่วนไส้เดือน ดิน กินซากสิ่งมีชีวิตที่เน่าเปื่อยผุพัง จึงไม่มีฝ่ายใดได้หรือเสียประโยชน์
  • 37. คาชี้แจง : ให้นักเรียนจับคู่ภาวะต่างๆทางด้านขวามือกับการอยู่ ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในด้านซ้ายมือ หมายเหตุ : นร.ไม่ต้องลอกโจทย์ เขียนเฉพาะอักษรที่เลือกเท่านั้น ..........1. เพรียงหินบนหลังปลาวาฬสีเทา ..........2. กาบหอยแครงกับแมลงวัน ..........3. วัวป่าและกวางในทุ่งหญ้า ..........4. แบคทีเรียมีประโยชน์ในลาไส้ใหญ่ ..........5. ต้นกาฝากบนต้นมะม่วง ..........6. ราและสาหร่ายในไลเคน ..........7. เพลี้ยอ่อนกับมดดา ..........8. เฟิร์นชายผ้าสีดาบนต้นไม้ใหญ่ ..........9. ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล ..........10. หมัดสุนัขกับสุนัข ก. ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน ข. ภาวะพึ่งพา ค. ภาวะอิงอาศัย ง. ภาวะปรสิต จ. ภาวะล่าเหยื่อ ฉ. ภาวะแข่งขัน