SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Biology lernning
รายชื่อผู้จัดทา
1. นางสาวภัทรวดี จงสูงเนิน เลขที่ 12
2.. นางสาวอภิชญา จันทร์เสาร์ เลขที่ 13
3. นางสาวอภิชญา พิทยภูวไนย เลขที่ 17
4. นางสาวอัญชลีพร ลิสะนิ เลขที่ 25
5. นางสาวจรินพร บุญเกิด เลขที่ 28
6. นางสาวนลินรัตน์ นิลทะราช เลขที่ 30
7. นางสาววราวรรณ คุมวิสะ เลขที่ 37
8. นางสาววีรยา พันธุ์เพ็ง เลขที่ 39
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6
นิเวศวิทยา
วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมที่ ประกอบกันเป็นแหล่งที่อยู่
ระดับความสัมพันธ์ ของสิ่งมีชีวิตมี 3 ระดับ
1.ระดับประชากร (Population) หมายถึงการอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มของสิ่งมีชีวิต
ชนิดเดียวในสถานที่ใดที่หนึ่ง เช่น ประชากรของผึ้งในรังหนึ่ง ประชากรของปลาหาง
นกยุงในโอ่งน้า
นิเวศวิทยา
2.ระดับกลุ่มสิ่งมีชีวิต (Community) หมายถึงการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต
หลาย ๆ ชนิด ที่อาศัยอยู่ในบริเวณหนึ่ง เช่น กลุ่มสิ่งมีชีวิตในบ่อน้า
นิเวศวิทยา
3. ระดับระบบนิเวศ (Ecosystem) หมายถึงระบบที่รวมความสัมพันธ์ของกลุ่ม
สิ่งมีชีวิตหลาย ๆ กลุ่ม หลาย ๆ ชนิด และความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบ
นิเวศในทุ่งนา
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
1. ผู้ผลิต (Producer) หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้ และเป็น
จุดเริ่มต้นของพลังงานที่จะถ่ายทอดไปยังสิ่งมีชีวิตกลุ่มอื่น ๆ
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
2. ผู้บริโภค (Consumer) หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารไม่ได้ต้องบริโภคสิ่ง
อื่นเป็นอาหาร
ผู้บริโภค จาแนกออกได้เป็น 4 ชนิด คือ
1.สัตว์กินพืช (Herbivore) 3. สัตว์ที่กินทั้งพืช และสัตว์ (Omnivore)
2. สัตว์กินสัตว์ (Carnivore) 4. ผู้บริโภคซากอินทรีย์ (Scavenger)
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
3. ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer) หรือผู้แปรสภาพสาร
(Transformer) หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เองแต่จะได้
อาหารจากการย่อยสลายซากพืช และซากสัตว์ (สารอินทรีย์) ให้กลายเป็นสารอนิ
นทรีย์กลับคืนสู่สิ่งแวดล้อม
ลักษณะการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต(symbiosis)
ลักษณะการอยู่ร่วมกัน : แบบภาวะที่ต้องพึ่งพา (Mutualism)
เมื่ออยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด : สิ่งมีชีวิต 1(+) ,สิ่งมีชีวิต 2 (+)
เมื่อแยกจากกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด :สิ่งมีชีวิต 1(-),สิ่งมีชีวิต 2 (-)
ลักษณะของความสัมพันธ์ : ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ไม่แยกจากกัน เช่น โปรโตซัวใน
ลาไส้ปลวก
ลักษณะการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต(symbiosis)
ลักษณะการอยู่ร่วมกัน : แบบได้รับประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation)
เมื่ออยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด :สิ่งมีชีวิต 1(+) ,สิ่งมีชีวิต 2 (+)
เมื่อแยกจากกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด :สิ่งมีชีวิต 1(0),สิ่งมีชีวิต 2 (0)
ลักษณะของความสัมพันธ์ : ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ แต่สามารถแยกกันได้ ไม่
จาเป็นต้องอยู่ด้วยกันตลอด
ลักษณะการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต(symbiosis)
ลักษณะการอยู่ร่วมกัน : แบบภาวะที่มีการเกื้อกูล (Commensalism)
เมื่ออยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด : สิ่งมีชีวิต 1(+) ,สิ่งมีชีวิต 2 (0)
เมื่อแยกจากกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด :สิ่งมีชีวิต 1(-),สิ่งมีชีวิต 2 (0)
ลักษณะของความสัมพันธ์ : สิ่งมีชีวิต 1 ได้รับประโยชน์ ถ้าแยกกันสิ่งมีชีวิต 1 จะเสีย
ประโยชน์ เช่น เหาฉลามกับปลาฉลาม
ลักษณะการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต(symbiosis)
ลักษณะการอยู่ร่วมกัน : แบบภาวะมีการย่อยสลาย (Saprophytism)
เมื่ออยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด :สิ่งมีชีวิต 1(+) ,สิ่งมีชีวิต 2 (0)
เมื่อแยกจากกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด :สิ่งมีชีวิต 1(-),สิ่งมีชีวิต 2 (0)
ลักษณะของความสัมพันธ์ : สิ่งมีชีวิต 1 ย่อยสลายสิ่งมีชีวิต 2 ให้เน่าเปื่อยผุพัง ถ้า
แยกกันฝ่าย 1 จะเสียประโยชน์
ลักษณะการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต(symbiosis)
ลักษณะการอยู่ร่วมกัน : แบบภาวะปรสิต (Parasitism)
เมื่ออยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด :สิ่งมีชีวิต 1(+) ,สิ่งมีชีวิต 2 (-)
เมื่อแยกจากกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด :สิ่งมีชีวิต 1(-),สิ่งมีชีวิต 2 (0)
ลักษณะของความสัมพันธ์ : สิ่งมีชีวิต 1 จะเกาะแย่งเกาะดูดสิ่งมี ชีวิต 2 จึงทาให้
เดือดร้อน
ลักษณะการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต(symbiosis)
ลักษณะการอยู่ร่วมกัน : แบบภาวะการแก่งแย่งแข่งขัน (Competition)
เมื่ออยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด :สิ่งมีชีวิต 1(-) ,สิ่งมีชีวิต 2 (-)
เมื่อแยกจากกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด :สิ่งมีชีวิต 1(0),สิ่งมีชีวิต 2 (0)
ลักษณะของความสัมพันธ์ : ต่างฝ่ายต่างเสียประโยชน์เมื่อแยกจากกันจะไม่มีผล เช่น
นกแร้งแย่งกันกินซากสัตว์
โครงสร้างของเซลล์สิ่งมีชีวิต
รูปร่างของเซลล์
เซลล์สิ่งมีชีวิตมีขนาด และรูปร่างของไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับชนิดและหน้าที่ของเซลล์นั้น ๆ แต่เซลล์
ทุกชนิดจะมีโครงสร้างอันเป็นมูลฐานใกล้เคียงกัน คือ ประกอบด้วยโพรโทพลาซึมที่ถูก
ล้อมรอบด้วยเยื่อหุ้มบาง ๆ (Cell membrane)
โครงสร้างของเซลล์สิ่งมีชีวิต
ขนาดของเซลล์
เซลล์แต่ละชนิดมีขนาดแตกต่างกันไปตั้งแต่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าจนกระทั่งสัมผัสได้เช่น
เซลล์ของ Mycoplasma ซึ่งเป็นแบคทีเรียที่มีขนาดเล็กมาก มีเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 0.2 – 0.4 ไมโครเมตร จึงไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้
โครงสร้างของเซลล์สิ่งมีชีวิต
ชนิดของเซลล์
แบ่งเป็น 2 พวกตามลักษณะของนิวเคลียสกล่าวคือ
ก. โปรคารีโอติคเซลล์ (procaryotic cell) เป็นเซลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสห่อหุ้ม
โครโมโซมหรือสารพันธุกรรม ได้แก่ แบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน และไมโคพลาสมา
ข. ยูคารีโอติคเซลล์ (eucaryotic cell) เป็นเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสห่อหุ้มโครโมโซม
ได้แก่ ยีสต์ รา โปรโตซัว สาหร่ายอื่น ๆ พืชและสัตว์ต่าง ๆ
กล้องจุลทรรศน์
แบบใช้แสง (light microscope)
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนมี 2 ชนิด
1.กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน (Transmission Electron
microscope)
กล้องจุลทรรศน์
2.กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด (Scanning Electron
microscope)
การลาเลียงสารผ่านเซลล์
การแพร่ (Diffusion) เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลหรือไอออนของสารจาก
บริเวณที่มีโมเลกุลหรือไอออน
ของสารหนาแน่นมากไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลหรือไอออนของสารหนาแน่นน้อยกว่า
ปัจจัยที่ควบคุมอัตราการแพร่ของสารขึ้นอยู่กับ
1. ความเข้มข้นของสารที่แพร่ สารที่มีความเข้มข้นสูงจะแพร่ไปยังบริเวณที่มีความ
เข้มข้นของสารต่ากว่า
2. อุณหภูมิ การเพิ่มอุณหภูมิจะทาให้อัตราการแพร่ของสารรวดเร็วยิ่งขึ้น
3. ความดัน การเพิ่มความดันจะทาให้โมเลกุลหรือไอออนของสารเคลื่อนที่ได้ดียิ่งขึ้น
4. ความสามารถในการละลายของสารที่แพร่ สารที่ละลายได้ดีจะมีอัตราการแพร่เร็ว
กว่าสารที่ละลายได้ไม่ดี
การลาเลียงสารผ่านเซลล์
ออสโมซิส (Osmosis) เป็นการแพร่ของโมเลกุลของน้าจากบริเวณที่มีความ
เข้มข้นต่า (มีโมเลกุลของน้ามาก) ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงกว่า (มีโมเลกุล
ของน้าน้อยกว่า) โดยผ่านเยื่อบางๆ ซึ่งมีสมบัติพิเศษ
การลาเลียงสารผ่านเซลล์
การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion)
เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารบางชนิดที่ไม่สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้
โดยตรง จึงต้องอาศัยตัวพา (Carier) ซึ่งเป็นโมเลกุลของโปรตีนที่เป็น
องค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์
การลาเลียงสารผ่านเซลล์
การลาเลียงแบบใช้พลังงาน (Active Transport) เป็นการเคลื่อนที่ของ
โมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นต่าไปยังบริเวณที่มี
ความเข้มข้นสูงโดยใช้พลังงานจากเซลล์และต้องอาศัยตัวพาซึ่งเป็นโปรตีนที่เยื่อหุ้ม
เซลล์
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของพืช
การคายน้าในพืชเกิดขึ้นที่ ปากใบ ( stoma ) ผิวใบ ( leaf surface) และ ช่อง
อากาศ ( lenticel ) ประมาณกันว่า 80-90%
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายน้า
1.) แสงสว่าง ถ้ามีความเข้มข้นแสงมาก ปากใบจะเปิดได้กว้าง พืชจะคายน้าได้มาก
2.) อุณหภูมิ เป็นปัจจัยทือิทธิพลควบคู่กับแสงสว่างเสมอ ถ้าอุณหภูมิในบรรยากาศ
สูง พืชจะคายน้าได้มากและรวดเร็ว
3.) ความชื้นในบรรยากาศ ถ้าบรรยากาศมีความชื้นสูงจะคายน้าได้น้อย พืชบางชนิด
จะกาจัดน้าออกมาในรูปของหยดน้า ทางรูเปิดเล็กๆ ตามรูเปิดของเส้นใบ เรียกว่า
การคายน้าเป็นหยดหรือ กัตเตชัน ( guttation ) และถ้าในบรรยากาศมี
ความชื้นน้อย พืชจะคายน้าได้มากและรวดเร็ว
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสัตว์
ปลาน้าจืด จึงพยายามไม่ดื่มน้าและไม่ให้น้าซึมเข้าทางผิวหนังหรือเกล็ด แต่ปลายังมีบ
ริเซณที่น้าสามารถ ซึมเข้า ไปได้ คือ บริเวณเหงือกซึ่งสัมผัสกับน้าตลอดเวลา ดังนั้น
ปลาจึงต้องขับน้าออกทางไตเป็นน้าปัสสาวะ
ส่วนปลาทะเล จะมีลักษณะตรงข้าม
ปลาบางพวกมีการปรับตัวและมีวิวัฒนาการเกี่ยวกับ ต่อมเกลือ (salt
gland) ได้ดี
เทคโนโลยีชีวภาพ
พันธุวิศวกรรม(genetic engineering) หมายถึง กระบวนการทาง
ชีววิทยาที่เกี่ยงข้องกับการตัดต่อยีนจากสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งเข้ากับยีนของสิ่งมีชีวิต
อีกชนิดหนึ่ง เพื่อให้ได้ยีนที่มีสมบัติตามที่ต้องการ และขยายยีนให้มีปริมาณมาก
พอที่จะนาไปทาให้ผลผลิตมีคุณภาพดีขึ้น และได้ปริมาณการผลิตสูงขึ้น ตาม
ต้องการ สิ่งมีชีวิตที่ได้จากกระบวนการทางพันธุวิศวกรรมเรียกว่า สิ่งมีชีวิต
ดัดแปลงพันธุกรรม หรือ GMOs(genetically modified
organisms)
เทคโนโลยีชีวภาพ
การโคลนนิ่ง (Cloning) คือ กระบวนการสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศชนิดหนึ่ง
โดยสิ่งมีชีวิตที่ถูกโคลนออกมาจะมีลักษณะทางพันธุกรรม โดยรวมถึงมีลักษณะทาง
กายภาพ เหมือนกับสิ่งมีชีวิตต้นแบบ หรือ สิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ก่อนแล้วทุกประการ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมีชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดมาอยู่
ร่วมกัน
ณ สถานที่หนึ่งหรือระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพแบ่งได้ 3 ระดับ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
1.ความหลากหลายทางพันธุกรรม(geneticdiversity)ได้แก่ความ
หลากหลายขององค์ประกอบทางพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตซึ่งแสดงออกด้วยลักษณะ
ทางพันธุกรรมต่างๆที่ปรากฏให้เห็นโดยทั่วไปทั้งภายในสิ่งมีชีวิตชนเดียวกันและ
ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันระดับความแตกต่างนี่เองที่ใช้กาหนดความใกล้ชิด
ความหลากหลายทางชีวภาพ
2.ความหลากหลายของชนิดหรือชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
(Speciesdiversity) ความหลากหลายแบบนี้วัดได้จากจานวนชนิดของ
สิ่งมีชีวิตและจานวนประชากรของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดรวมทั้งโครงสร้างอายุและเพศ
ของประชากรด้วย
ความหลากหลายทางชีวภาพ
3.ความหลากหลายของระบบนิเวศ (ecological diversity)
ระบบนิเวศแต่ละระบบเป็นแหล่งของถิ่นที่อยู่อาศัย (habitat) ของสิ่งมีชีวิตชนิด
ต่างๆ ซึ่งมีปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพที่เหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดในระบบ
นิเวศนั้นสิ่งมีชีวิตบางชนิดมีวิวัฒนาการมาในทิศทางที่สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ใน
ระบบนิเวศที่หลากหลายแต่บางชนิดก็อยู่ได้เพียงระบบนิเวศที่มีภาวะเฉพาะเจาะจง
เท่านั้นความหลากหลายของระบบนิเวศขึ้นอยู่กับชนิดและจานวนประชากรของ
สิ่งมีชีวิตที่อาศัย
แบบฝึ กหัด
1.ระดับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตมีกี่ระดับ อะไรบ้าง..........................................................
2.องค์ประกอบของระบบนิเวศมีอะไรบ้าง.............................................................................
3.ลักษณะการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตมีกี่แบบ อะไรบ้าง........................................................
4.ความหลากหลายทางชีวภาพมีกี่ระดับ อะไรบ้าง.................................................................
5.การโคลนนิ่งคือ...................................................................................................................
แบบทดสอบ
1. ข้อใดอธิบายการถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ถูกต้องที่สุด
1. พ่อเป็นหมอ ลูกก็ต้องเป็นหมอ
2. แม่เป็นมนุษย์ คลอดลูกเป็นหอยสังข์
3. พ่อมีลิ้นห่อได้ ลูกอาจมีลิ้นห่อได้
4. แม่ถูกผ่าตัดให้จมูกโด่ง ลูกผู้หญิงที่เกิดมาก็จะมีจมูกโด่ง
2. การให้ทารกดื่มนมมารดา ทารกจะได้รับภูมิคุ้มกันแบบใด
1. แบบก่อเอง 2. แบบรับมา
3. แบบก่อเองและรับมา 4. ไม่ได้รับภูมิคุ้มกัน แต่ได้รับสารอาหาร
แบบทดสอบ
3. เพราะเหตุใดโรคเอดส์จึงทาให้ภูมิคุ้มกันในร่างกายบกพร่อง
1. ไปทาลายเม็ดเลือดแดงให้มีจานวนลดลง
2. ไปกระตุ้นให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดขาวมากขึ้น
3. ทาให้เม็ดเลือดขาวไม่สามารถสร้างแอนติบอดีได้
4. ทาให้เม็ดเลือดแดงไม่สามารถสร้างแอนติเจนและแอนติบอดีได้
4. หลักฐานในข้อใดที่ไม่สามารถใช้ตรวจหาฆาตรกรโดยใช้ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ
1. เส้นผม 2. ลายนิ้วมือ
3. คราบอสุจิ 4. คราบเลือด
แบบทดสอบ
5.ข้อใดต่อไปนี้เกี่ยวข้องน้อยที่สุดกับการปรับตัวเพื่อลดการคายน้าของพืช
1. การมีเปลือกแข็งหุ้มลาต้น 2. การมีหนามของต้น
กระบองเพชร
3. การสังเคราะห์ด้วยแสงในเวลากลางคืน 4. การมีปากใบด้านหลังใบของ
ผักตบชวา
6. สัตว์ในข้อใดที่มีอุณหภูมิร่างกายแปรผันตามอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม (ว1.1 ม.4-
6/3)
1. ม้าน้า 2. แมวน้า
3 .นกเป็ดน้า 4. พะยูน
เอกสารอ้างอิง
ส่งเริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี , สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ.
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิชาชีววิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 5 , กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์
สกสค. 2556

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศSaran Srimee
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์Tin Savastham
 
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มเตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มkrupornpana55
 
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์Harun Fight
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551sutham
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3Tatthep Deesukon
 
02ca74a77252a41d5905194b2213fd74
02ca74a77252a41d5905194b2213fd7402ca74a77252a41d5905194b2213fd74
02ca74a77252a41d5905194b2213fd74anewz
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2dnavaroj
 

What's hot (14)

แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
since socail
since socailsince socail
since socail
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มเตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
 
Animal digestion
Animal digestionAnimal digestion
Animal digestion
 
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
 
02ca74a77252a41d5905194b2213fd74
02ca74a77252a41d5905194b2213fd7402ca74a77252a41d5905194b2213fd74
02ca74a77252a41d5905194b2213fd74
 
Genetics posn
Genetics posnGenetics posn
Genetics posn
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 

Similar to Biology lernning 1

Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Khaojaoba Apple
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์supornp13
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสมพร นายน้อย
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJiraporn
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศPoonyawee Pimman
 
ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957Myundo
 
Random 100704050224-phpapp01
Random 100704050224-phpapp01Random 100704050224-phpapp01
Random 100704050224-phpapp01Peerapong Bu
 

Similar to Biology lernning 1 (20)

File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File
FileFile
File
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
1
11
1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957
 
Random 100704050224-phpapp01
Random 100704050224-phpapp01Random 100704050224-phpapp01
Random 100704050224-phpapp01
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 

Biology lernning 1