SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
นางสาวนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ 
วิชา เคมี สอวน. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี 
สมบัติของ main group elements 
Transition metal และ radioactive elements
ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA 
ธาตุหมู่ IA (หมู่แอลคาไลน์) 
ธาตุหมู่ IA ได้แก่ ธาตุลิเทียม(Li) โซเดียม(Na) โพแทสเซียม(K) รูบิเดียม(Rb) 
ซีเซียม(Cs) และ แฟรนเซียม(Fr) 
สมบัติทั่วไปของธาตุหมู่ IA 
1. เป็นธาตุที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 ธาตุหมู่นี้มีความเป็นโลหะมากที่สุด 
2. เป็นธาตุที่มีความว่องไวทางเคมีสูงมาก เช่น ทาปฏิกิริยากับ O2 ในอากาศได้เร็ว, 
ทาปฏิกิริยากับน้ารุนแรงมาก ดังนั้นโลหะหมู่ IA ต้องเก็บไว้ในน้ามัน 
3. มีสถานะเป็นของแข็ง เป็นโลหะอ่อน
4. ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA 
4.1 ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน( O2) ได้สารประกอบออกไซด์ 
4.2 ทาปฏิกิริยากับน้า (H2O) รุนแรง ได้สารละลายเบสและแก๊สไฮโดรเจน 
ธาตุหมู่ IA (หมู่แอลคาไลน์) 
เช่น 2Li(s) + O2(g) Li2O(s) 
เช่น 2Na(s) + 2H2O(l) 2Na+ (aq) + 2OH- (aq) + H2(g) 
ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA
ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IIA 
ธาตุหมู่ IIA (หมู่แอลคาไลน์เอิร์ท) 
ธาตุหมู่ IIA ได้แก่ ธาตุเบริลเลียม(Be) แมกนีเซียม(Mg) แคลเซียม(Ca) สทรอนเซียม(Sr) 
แบเรียม(Ba) และ เรเดียม(Ra) 
สมบัติทั่วไปของธาตุหมู่ IIA 
1. เป็นธาตุที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 ทุกธาตุเป็นโลหะ 
2. ทุกธาตุมีสถานะเป็นของแข็งมีความหนาแน่นมากกว่าน้า 
3. มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงกว่าธาตุหมู่ IA ในคาบเดียวกัน เพราะธาตุหมู่ IIA 
มีความแรงของพันธะโลหะมากกว่า
4. ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IIA 
4.1 ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน( O2) ได้สารประกอบออกไซด์ 
4.2 ทาปฏิกิริยากับน้า (H2O) ยกเว้น Be แต่ช้ากว่าหมู่ IA ได้สารละลายเบส 
และแก๊สไฮโดรเจน 
เช่น Mg(s) + O2(g) 2MgO(s) 
เช่น Mg(s) + 2H2O(l) Mg2+ (aq) + 2OH- (aq) + H2(g) 
ธาตุหมู่ IIA (หมู่แอลคาไลน์เอิร์ท) 
ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IIA
ธาตุหมู่ VIIA ได้แก่ ธาตุฟลูออรีน(F) คลอรีน(Cl) โบรมีน(Br) ไอโอดีน(I) 
และ แอสทาทีน(At) 
สมบัติทั่วไปของธาตุหมู่ VIIA 
1. เป็นธาตุที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 มีความเป็นอโลหะมาก 
2. ทุกธาตุ 1 โมเลกุล มี 2 อะตอม เรียกว่า Diatomic molecule เช่น F2, Cl2, I2 
3. มีทุกสถานะ ได้แก่ F2, Cl2 เป็นแก๊ส, Br2 เป็นของเหลว, I2 เป็นของแข็ง 
ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ VIIA 
ธาตุหมู่ VIIA (หมู่แฮโลเจน)
4. มีสีต่างๆ เช่น F2 สีเหลืองอ่อน , Cl2 สีตองอ่อน, 
Br2 สีน้าตาลแดง 
5. ทุกธาตุไม่นาไฟฟ้าเพราะเป็นธาตุอโลหะ 
ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ VIIA 
ธาตุหมู่ VIIA (หมู่แฮโลเจน)
ธาตุแทรนซิชัน 
transition element
ธาตุแทรนซิชัน 
transition element
ธาตุแทรนซิชัน 
เป็นโลหะซึ่งส่วนใหญ่มีจุดหลอมเหลว จุดเดือดสูง 
สมบัติของธาตุแทรนซิชัน (properties of transition elements) 
รัศมีอะตอมมีขนาดใกล้เคียงกัน 
เป็นตัวนาไฟฟ้าและนาความร้อนที่ดี เช่น Fe, Cu, Ag 
สารประกอบส่วนมากของธาตุแทรนซิชันมีสี 
สารประกอบ เชิงซ้อน 
ไอออนบวก 
ไอออนลบ 
สีของ สารประกอบ 
KMnO4 
K+ 
[MnO4]- 
ม่วงแดง 
K2MnO4 
K+ 
[MnO4]2- 
เขียว 
PbCrO4 
Pb2+ 
[CrO4]2+ 
เหลือง 
K3[Fe(CN)6] 
K+ 
[Fe(CN)6]3- 
ส้มแดง 
Cu[(NH3)4SO4}] 
[Cu(NH3)4]2+ 
[SO4]2- 
คราม 
Cu[(H2O)5SO4] 
[Cu(H2O)5]2+ 
[SO4]2- 
น้าเงิน
ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element) 
อองตวน อองรี เบ็กเคอเรล พบว่าแผ่นฟิล์มถ่ายรูปที่ห่อหุ้มด้วยกระดาษดา 
ที่เก็บรวมไว้กับสารประกอบยูเรเนียมมีลักษณะเหมือนแสงสว่าง จึงทาการ 
ทดลองและสรุปว่า ธาตุยูเรเนียมมีสมบัติในการแผ่รังสีออกมาได้ 
Antoine henri becquerel discoverd the 
phenomenon of radioactivity by exposing 
a photographic plate to uranium 1896. 
โลหะยูเรเนียมธรรมชาติ ประกอบด้วย 
U-235 ประมาณ 0.71%, 
U-238 ประมาณ 99.28% 
U-234 ประมาณ 0.0054%
ปิแอร์ คูรี และมารี คูรี พบเพิ่มเติมว่า ยังมีธาตุอื่นที่ 
สามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกัน เช่น ธาตุพอลโลเนียม (Po), 
เรเดียม (Ra) และทอเรียม(Th) 
ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element)
ธาตุกัมมันตรังสี 
คือธาตุที่แผ่รังสีได้ ส่วนใหญ่มีเลขอะตอมสูงกว่า 83 เช่น ยูเรเนียม( ) 
ทอเรียม ( ) เรเดียม ( ) 
กัมมันตภาพรังสี คือ ปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่อง 
เกิดจากนิวเคลียสของไอโซโทปที่ไม่เสถียร แผ่รังสีออกมาเพื่อปลดปล่อย 
พลังงานส่วนเกินที่อยู่ภายในออกไป จนกว่าจะได้นิวเคลียสที่เสถียรจึงจะ 
หยุดแผ่รังสี 
ธาตุกัมมันตรังสี
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี เกิดได้โดยอะตอมของธาตุมีการ 
ปลดปล่อยองค์ประกอบและพลังงานออกมา ในรูปรังสี 3 ชนิด คือ 
ธาตุกัมมันตรังสี 
รังสีแอลฟา (α, ) 
รังสีบีตาลบ (β- , ) 
รังสีบีตาบวก β+ 
รังสีแกมมา ( γ )
ธาตุกัมมันตรังสี 
รังสี 
สัญลักษณ์ 
การสลายตัว 
แอลฟา 
α, 
+ 
บีตา 
β- , 
(อิเล็กตรอน) 
β+ , 
(โพสิตรอน) 
แกมมา 
γ 
* γ 
นิวตรอน 
+ + 
+ 
+ 
+ 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี 
แบบฝึกหัด 
+ ______ 
+ ______ 
______ + 
______ + 
n 
1 
0
ธาตุกัมมันตรังสี 
ประโยชน์ของกัมมันตรังสี 
กัมมันตรังสีถูกนามาใช้ประโยชน์ทั้งด้านการแพทย์ การเกษตร 
อุตสาหกรรม และด้านธรณีวิทยา 
ด้านการแพทย์ 
วินิจฉัยโรค : ใช้โซเดียม (Na-24) วินิจฉัยการอุดตันของระบบทางเดินโลหิต 
ไอโอดีน (I-131) ตรวจสอบการทางานของต่อมไทรอยด์ การรักษาโรค : ใช้โคบอลต์ -60 รักษาโรคมะเร็ง 
ทองคา -198 ในการรักษามะเร็งผิวหนัง 
ด้านการเกษตร 
การปรับปรุงพันธุ์พืช, การทาหมันแมลง, การถนอมอาหาร
ธาตุกัมมันตรังสี 
ด้านอุตสาหกรรม 
ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ 
ด้านธรณีวิทยา 
ใช้หาอายุของวัตถุต่างๆ 
ประโยชน์ของกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี 
อันตรายของกัมมันตรังสี 
แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ 
1. ผลทางพันธุกรรม ( Genetic Effect) : 
ทาให้เซลล์ที่เกิดขึ้นใหม่กลายพันธุ์ เป็นหมัน ซึ่งความผิดปกติ 
จะปรากฏในรุ่นลูก หลาน
2. ผลต่อร่างกาย ( Somatic Effect) 
ทาให้โมเลกุลแตกตัว สารต่างๆในร่างกายเสียสมดุล เซลล์ตาย 
ทาให้เกิดความเจ็บป่วย หากได้รับปริมาณมากอาจเสียชีวิต 
ธาตุกัมมันตรังสี 
อันตรายของกัมมันตรังสี
ค่าครึ่งชีวิต (Half life) สัญลักษณ์ ( ) 
หมายถึง ระยะเวลาที่ปริมาณสารกัมมันตรังสีสลายตัวจนเหลือ 
ครึ่งหนึ่งของปริมาณเริ่มต้น 
ตัวอย่าง 1 S-35 มีครึ่งชีวิต 80 วัน ถ้ามี S-35 อยู่ 8 กรัม เมื่อเวลาผ่านไป 
240 วัน จะเหลือกี่กรัม 
ธาตุกัมมันตรังสี 
ตัวอย่างเช่น C-14 มีครึ่งชีวิต 5730 ปี หมายความว่า ถ้ามี C-14 จานวน 1 กรัม 
เมื่อเวลาผ่านไป 5730 ปี จะเหลือ C-14 อยู่ 0.5 กรัม และเมื่อเวลาผ่านไปอีก 
5730 ปี จะเหลืออยู่ 0.25 กรัม เป็นดังนี้ไปเรื่อยๆ 
5730 ปี 5730 ปี 
C-14 จานวน 1 กรัม 0.5 กรัม 0.25 กรัม
ตัวอย่าง 2 Co มีครึ่งชีวิต 10 วัน เมื่อเวลาผ่านไป 30 วัน เหลือ 5 g 
เริ่มต้นมี Co กี่กรัม 
ตัวอย่าง 3 กัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง เริ่มต้นมี 20 กรัม เมื่อผ่านไป 2 ชม. 
เหลือ 1.25 g ค่าครึ่งชีวิตของกัมมันตรังสีนี้มีค่าเท่าใด 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี 
การบ้าน 
1. ไอโอดีน-131 มีครึ่งชีวิต 8 วัน จานวน 10 g เมื่อเวลาผ่านไปกี่วันจึงจะมี 
ไอโอดีน-131 เหลือ 2.5 g 
2. ไอโซโทปกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งจานวน 20 g เมื่อเวลาผ่านไป 2 ชั่วโมง 
ไอโซโทปนั้นเหลืออยู่ 1.25 g ครึ่งชีวิตของไอโซโทปนี้มีค่าเท่าใด 
3. เมื่อเวลาผ่านไป 120 วัน จะมีซีเซียม-137 เหลืออยู่ 300 g 
ถ้าครึ่งชีวิตของซีเซียม-137 เท่ากับ 30 วัน จงหาว่าเมื่อเริ่มต้นมีซีเซียม 
อยู่เท่าใด

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 

What's hot (20)

คำกลอน วิทยาศาสตร์
คำกลอน วิทยาศาสตร์คำกลอน วิทยาศาสตร์
คำกลอน วิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 

Viewers also liked

สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-1page
ใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-1pageใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-1page
ใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-4page
ใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-4pageใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-4page
ใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีkrupatchara
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสีปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสีOffice of Atoms for Peace
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)Office of Atoms for Peace
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
การจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสมการจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสมwebsite22556
 
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมwebsite22556
 

Viewers also liked (16)

ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-1page
ใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-1pageใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-1page
ใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-1page
 
ใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-4page
ใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-4pageใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-4page
ใบความรู้+สารเปลี่ยนสถานะได้อย่างไร+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f25-4page
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
Radiation Unit
Radiation UnitRadiation Unit
Radiation Unit
 
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสีปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
 
รังสีกับมนุษ์
รังสีกับมนุษ์รังสีกับมนุษ์
รังสีกับมนุษ์
 
การวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสีการวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสี
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
การจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสมการจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสม
 
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

กัมมันตรังสี

  • 1. นางสาวนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ วิชา เคมี สอวน. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี สมบัติของ main group elements Transition metal และ radioactive elements
  • 2. ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA ธาตุหมู่ IA (หมู่แอลคาไลน์) ธาตุหมู่ IA ได้แก่ ธาตุลิเทียม(Li) โซเดียม(Na) โพแทสเซียม(K) รูบิเดียม(Rb) ซีเซียม(Cs) และ แฟรนเซียม(Fr) สมบัติทั่วไปของธาตุหมู่ IA 1. เป็นธาตุที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 ธาตุหมู่นี้มีความเป็นโลหะมากที่สุด 2. เป็นธาตุที่มีความว่องไวทางเคมีสูงมาก เช่น ทาปฏิกิริยากับ O2 ในอากาศได้เร็ว, ทาปฏิกิริยากับน้ารุนแรงมาก ดังนั้นโลหะหมู่ IA ต้องเก็บไว้ในน้ามัน 3. มีสถานะเป็นของแข็ง เป็นโลหะอ่อน
  • 3. 4. ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA 4.1 ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน( O2) ได้สารประกอบออกไซด์ 4.2 ทาปฏิกิริยากับน้า (H2O) รุนแรง ได้สารละลายเบสและแก๊สไฮโดรเจน ธาตุหมู่ IA (หมู่แอลคาไลน์) เช่น 2Li(s) + O2(g) Li2O(s) เช่น 2Na(s) + 2H2O(l) 2Na+ (aq) + 2OH- (aq) + H2(g) ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA
  • 4. ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IIA ธาตุหมู่ IIA (หมู่แอลคาไลน์เอิร์ท) ธาตุหมู่ IIA ได้แก่ ธาตุเบริลเลียม(Be) แมกนีเซียม(Mg) แคลเซียม(Ca) สทรอนเซียม(Sr) แบเรียม(Ba) และ เรเดียม(Ra) สมบัติทั่วไปของธาตุหมู่ IIA 1. เป็นธาตุที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 ทุกธาตุเป็นโลหะ 2. ทุกธาตุมีสถานะเป็นของแข็งมีความหนาแน่นมากกว่าน้า 3. มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงกว่าธาตุหมู่ IA ในคาบเดียวกัน เพราะธาตุหมู่ IIA มีความแรงของพันธะโลหะมากกว่า
  • 5. 4. ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IIA 4.1 ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน( O2) ได้สารประกอบออกไซด์ 4.2 ทาปฏิกิริยากับน้า (H2O) ยกเว้น Be แต่ช้ากว่าหมู่ IA ได้สารละลายเบส และแก๊สไฮโดรเจน เช่น Mg(s) + O2(g) 2MgO(s) เช่น Mg(s) + 2H2O(l) Mg2+ (aq) + 2OH- (aq) + H2(g) ธาตุหมู่ IIA (หมู่แอลคาไลน์เอิร์ท) ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IIA
  • 6. ธาตุหมู่ VIIA ได้แก่ ธาตุฟลูออรีน(F) คลอรีน(Cl) โบรมีน(Br) ไอโอดีน(I) และ แอสทาทีน(At) สมบัติทั่วไปของธาตุหมู่ VIIA 1. เป็นธาตุที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 มีความเป็นอโลหะมาก 2. ทุกธาตุ 1 โมเลกุล มี 2 อะตอม เรียกว่า Diatomic molecule เช่น F2, Cl2, I2 3. มีทุกสถานะ ได้แก่ F2, Cl2 เป็นแก๊ส, Br2 เป็นของเหลว, I2 เป็นของแข็ง ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ VIIA ธาตุหมู่ VIIA (หมู่แฮโลเจน)
  • 7. 4. มีสีต่างๆ เช่น F2 สีเหลืองอ่อน , Cl2 สีตองอ่อน, Br2 สีน้าตาลแดง 5. ทุกธาตุไม่นาไฟฟ้าเพราะเป็นธาตุอโลหะ ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ VIIA ธาตุหมู่ VIIA (หมู่แฮโลเจน)
  • 10. ธาตุแทรนซิชัน เป็นโลหะซึ่งส่วนใหญ่มีจุดหลอมเหลว จุดเดือดสูง สมบัติของธาตุแทรนซิชัน (properties of transition elements) รัศมีอะตอมมีขนาดใกล้เคียงกัน เป็นตัวนาไฟฟ้าและนาความร้อนที่ดี เช่น Fe, Cu, Ag สารประกอบส่วนมากของธาตุแทรนซิชันมีสี สารประกอบ เชิงซ้อน ไอออนบวก ไอออนลบ สีของ สารประกอบ KMnO4 K+ [MnO4]- ม่วงแดง K2MnO4 K+ [MnO4]2- เขียว PbCrO4 Pb2+ [CrO4]2+ เหลือง K3[Fe(CN)6] K+ [Fe(CN)6]3- ส้มแดง Cu[(NH3)4SO4}] [Cu(NH3)4]2+ [SO4]2- คราม Cu[(H2O)5SO4] [Cu(H2O)5]2+ [SO4]2- น้าเงิน
  • 11. ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element) อองตวน อองรี เบ็กเคอเรล พบว่าแผ่นฟิล์มถ่ายรูปที่ห่อหุ้มด้วยกระดาษดา ที่เก็บรวมไว้กับสารประกอบยูเรเนียมมีลักษณะเหมือนแสงสว่าง จึงทาการ ทดลองและสรุปว่า ธาตุยูเรเนียมมีสมบัติในการแผ่รังสีออกมาได้ Antoine henri becquerel discoverd the phenomenon of radioactivity by exposing a photographic plate to uranium 1896. โลหะยูเรเนียมธรรมชาติ ประกอบด้วย U-235 ประมาณ 0.71%, U-238 ประมาณ 99.28% U-234 ประมาณ 0.0054%
  • 12. ปิแอร์ คูรี และมารี คูรี พบเพิ่มเติมว่า ยังมีธาตุอื่นที่ สามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกัน เช่น ธาตุพอลโลเนียม (Po), เรเดียม (Ra) และทอเรียม(Th) ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element)
  • 13. ธาตุกัมมันตรังสี คือธาตุที่แผ่รังสีได้ ส่วนใหญ่มีเลขอะตอมสูงกว่า 83 เช่น ยูเรเนียม( ) ทอเรียม ( ) เรเดียม ( ) กัมมันตภาพรังสี คือ ปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่อง เกิดจากนิวเคลียสของไอโซโทปที่ไม่เสถียร แผ่รังสีออกมาเพื่อปลดปล่อย พลังงานส่วนเกินที่อยู่ภายในออกไป จนกว่าจะได้นิวเคลียสที่เสถียรจึงจะ หยุดแผ่รังสี ธาตุกัมมันตรังสี
  • 14. การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี เกิดได้โดยอะตอมของธาตุมีการ ปลดปล่อยองค์ประกอบและพลังงานออกมา ในรูปรังสี 3 ชนิด คือ ธาตุกัมมันตรังสี รังสีแอลฟา (α, ) รังสีบีตาลบ (β- , ) รังสีบีตาบวก β+ รังสีแกมมา ( γ )
  • 15. ธาตุกัมมันตรังสี รังสี สัญลักษณ์ การสลายตัว แอลฟา α, + บีตา β- , (อิเล็กตรอน) β+ , (โพสิตรอน) แกมมา γ * γ นิวตรอน + + + + + ธาตุกัมมันตรังสี
  • 17. ธาตุกัมมันตรังสี ประโยชน์ของกัมมันตรังสี กัมมันตรังสีถูกนามาใช้ประโยชน์ทั้งด้านการแพทย์ การเกษตร อุตสาหกรรม และด้านธรณีวิทยา ด้านการแพทย์ วินิจฉัยโรค : ใช้โซเดียม (Na-24) วินิจฉัยการอุดตันของระบบทางเดินโลหิต ไอโอดีน (I-131) ตรวจสอบการทางานของต่อมไทรอยด์ การรักษาโรค : ใช้โคบอลต์ -60 รักษาโรคมะเร็ง ทองคา -198 ในการรักษามะเร็งผิวหนัง ด้านการเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช, การทาหมันแมลง, การถนอมอาหาร
  • 18. ธาตุกัมมันตรังสี ด้านอุตสาหกรรม ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ด้านธรณีวิทยา ใช้หาอายุของวัตถุต่างๆ ประโยชน์ของกัมมันตรังสี
  • 19. ธาตุกัมมันตรังสี อันตรายของกัมมันตรังสี แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ 1. ผลทางพันธุกรรม ( Genetic Effect) : ทาให้เซลล์ที่เกิดขึ้นใหม่กลายพันธุ์ เป็นหมัน ซึ่งความผิดปกติ จะปรากฏในรุ่นลูก หลาน
  • 20. 2. ผลต่อร่างกาย ( Somatic Effect) ทาให้โมเลกุลแตกตัว สารต่างๆในร่างกายเสียสมดุล เซลล์ตาย ทาให้เกิดความเจ็บป่วย หากได้รับปริมาณมากอาจเสียชีวิต ธาตุกัมมันตรังสี อันตรายของกัมมันตรังสี
  • 21.
  • 22. ค่าครึ่งชีวิต (Half life) สัญลักษณ์ ( ) หมายถึง ระยะเวลาที่ปริมาณสารกัมมันตรังสีสลายตัวจนเหลือ ครึ่งหนึ่งของปริมาณเริ่มต้น ตัวอย่าง 1 S-35 มีครึ่งชีวิต 80 วัน ถ้ามี S-35 อยู่ 8 กรัม เมื่อเวลาผ่านไป 240 วัน จะเหลือกี่กรัม ธาตุกัมมันตรังสี ตัวอย่างเช่น C-14 มีครึ่งชีวิต 5730 ปี หมายความว่า ถ้ามี C-14 จานวน 1 กรัม เมื่อเวลาผ่านไป 5730 ปี จะเหลือ C-14 อยู่ 0.5 กรัม และเมื่อเวลาผ่านไปอีก 5730 ปี จะเหลืออยู่ 0.25 กรัม เป็นดังนี้ไปเรื่อยๆ 5730 ปี 5730 ปี C-14 จานวน 1 กรัม 0.5 กรัม 0.25 กรัม
  • 23. ตัวอย่าง 2 Co มีครึ่งชีวิต 10 วัน เมื่อเวลาผ่านไป 30 วัน เหลือ 5 g เริ่มต้นมี Co กี่กรัม ตัวอย่าง 3 กัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง เริ่มต้นมี 20 กรัม เมื่อผ่านไป 2 ชม. เหลือ 1.25 g ค่าครึ่งชีวิตของกัมมันตรังสีนี้มีค่าเท่าใด ธาตุกัมมันตรังสี
  • 24. ธาตุกัมมันตรังสี การบ้าน 1. ไอโอดีน-131 มีครึ่งชีวิต 8 วัน จานวน 10 g เมื่อเวลาผ่านไปกี่วันจึงจะมี ไอโอดีน-131 เหลือ 2.5 g 2. ไอโซโทปกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งจานวน 20 g เมื่อเวลาผ่านไป 2 ชั่วโมง ไอโซโทปนั้นเหลืออยู่ 1.25 g ครึ่งชีวิตของไอโซโทปนี้มีค่าเท่าใด 3. เมื่อเวลาผ่านไป 120 วัน จะมีซีเซียม-137 เหลืออยู่ 300 g ถ้าครึ่งชีวิตของซีเซียม-137 เท่ากับ 30 วัน จงหาว่าเมื่อเริ่มต้นมีซีเซียม อยู่เท่าใด