SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การจัดการตนทุนในธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต
                        ฑิฆมพร ทวีเดช1 และ สมบัติ ทีฆทรัพย2
                           ั

1. บทนํา
        เปนที่ยอมรับกันในหมูนกธุรกิจอุตสาหกรรมวา คุณภาพและตนทุนของสินคาและบริการนับเปน
                                 ั
หัวใจของธุรกิจหรืออุตสาหกรรม เพราะหากไมสามารถควบคุมตนทุนผลิตภัณฑหรือบริการในระดับที่
สามารถแขงขันได และยิ่งหากละเลยในการยกระดับคุณภาพของสินคาและบริการใหตรงตามความตองการ
ของลูกคาดวยแลว ธุรกิจหรืออุตสาหกรรมนั้นก็จะไมสามารถดําเนินการใหอยูรอดได นั่นคือปจจัยหลักที่มี
อิทธิพลตอการดําเนินธุรกิจ คือ คุณภาพ และตนทุน
        การจัดการคุณภาพ (Quality management) เปนกิจกรรมสําคัญที่ตองปฏิบัติอยางตอเนื่องเพื่อให
สินคาหรือบริการมี “คุณภาพ” เปนที่พึงพอใจของลูกคาอยางเต็มที่ ในระดับราคาทีเ่ หมาะสม มีการสงมอบ
ตรงเวลา ตามปริมาณและคุณภาพที่สั่งซื้อ ใชงานไดสะดวก ปลอดภัย และเชื่อถือไดสูงตลอดอายุการใชงาน
ของสินคาหรือบริการ ดวยคาใชจายในการใชงานที่ลูกคาพอใจ
        การจัดการตนทุน (Cost Management) เปนกิจกรรมที่จําเปนสําหรับการควบคุมตนทุน (Cost
Control) และการลดตนทุน (Cost Reduction) โดยใชขอมูลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินกิจการมาประกอบการ
ตัดสินใจ เพื่อบรรลุวัตถุประสงคในการบริหารธุรกิจใหเจริญเติบโตและสามารถอยูรอดไดตลอดไป

2. วงจรการบริหาร
       ในการบริหารองคการทุกประเภท ไมวาจะเปนองคการที่แสวงหากําไรหรือไมก็ตาม จะมีลักษณะที่
ไมแตกตางกัน บุคคลที่ตองรับผิดชอบในการจัดการใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวคือผูบริหารระดับตาง ๆ
ขององคการนั้นเอง ภารกิจหลักของผูบริหารคือ การวางแผน สั่งการ จูงใจ การควบคุม และประเมินผล
ดังแสดงในรูปที่ 1

1
  อาจารยประจําสาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอม
เกลาพระนครเหนือ
2
    ประธานกลุมอุตสาหกรรมการจัดการของเสียและวัสดุเหลือใช และประธานคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานวิจัย
สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 1(9)                                                               1
การวางแผน
                                        การจัดทําแผนระยะสั้นและระยะยาว



                                              การตัดสินใจ


               การสั่งการและการจูงใจ                          การควบคุมและการประเมินผล
                นําแผนไปสูการปฏิบัติ                            มีการนําแผนไปปฏิบัติไดจริง


                                   รูปที่ 1 แสดงวงจรการบริหารธุรกิจ
         การวางแผนจะเกี่ยวของกับการเลือกกระทําหรือไมกระทํากิจกรรมอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เพื่อให
บรรลุเปาหมายของกิจการ สวนการสั่งการและจูงใจจะเกี่ยวของกับการชี้นําและชักจูงใหพนักงานดําเนินการ
ตามแผนที่วางไว ขั้นตอนนี้นับเปนขั้นตอนที่สําคัญมากในการนําแผนไปสูการปฏิบัติ สําหรับการควบคุม
และประเมินผลจะเกี่ยวของกับการติดตามแผนการดําเนินงาน เพื่อใหมั่นใจวาไดมีการนําแผนไปปฏิบัติได
จริง กิจกรรมการบริหารเหลานี้ตองอาศัยระบบสารสนเทศมาสนับสนุนดวย

3. การควบคุมตนทุน
         หนาที่สําคัญของฝายผลิตในทุกธุรกิจก็คือ การผลิตสินคาใหเปนไปตามวัตถุประสงคและเปาหมาย
ของการผลิต ทั้งชนิดของสินคา คุณภาพของสินคา และการสงมอบสินคา ดังนั้นจึงจําเปนตองกําหนด
กิจกรรมการควบคุมดานตาง ๆ ในฝายผลิตใหมีประสิทธิภาพ เชน ดานแผนการผลิต กระบวนการผลิต การ
ออกแบบ การใชเครื่องจักรและอุปกรณ การใชแรงงาน การใชวัสดุ คุณภาพของผลผลิต การขนถายวัสดุ และ
พัสดุคงคลัง เปนตน เมื่อกิจกรรมการควบคุมเหลานี้สามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ จะสงผลให
ตนทุนที่เกิดขึนเปนตนทุนทียอมรับได หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ ตนทุนเปาหมาย (Target Cost) ซึ่งตนทุนใน
               ้            ่
ฝายผลิตที่ลดลงก็คือผลกําไรที่เพิ่มขึ้นนั่นเอง ดังแสดงในรูปที่ 2

4. การกําหนดมาตรฐานตนทุน
        จากที่กลาวมาแลววาการจัดการตนทุนมีเปาหมายสําคัญ 2 ประการคือ การควบคุม ซึ่งก็คือการรักษา
ระดับตนทุนใหอยูในมาตรฐานที่กําหนดไว กับการลดตนทุน โดยลดจากสภาพตนทุนในปจจุบนไปเปน   ั



บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 2(9)                                                                   2
ตนทุนที่ปรับปรุงใหมจากการกําหนดขึนตามความเปนไปไดที่จะดําเนินการใหลดลง
                                     ้                                               สิ่งสําคัญที่จะทําให
งานในหนาทีทั้งสองสําเร็จได คือ การจัดทํามาตรฐานสําหรับกิจกรรมดังนี้
             ่
        4.1. มาตรฐานสําหรับการควบคุมขั้นตน เปนการกําหนดจากระดับความเปนจริงภายใตเงื่อนไข
การทํางานที่เปนอยูในปจจุบัน เชน ใชวตถุดิบหลักโดยเฉลี่ย 10 กิโลกรัมตอหนึงหนวยสินคา ฉะนัน 10
                                        ั                                    ่                  ้
กิโลกรัม คือ เกณฑมาตรฐานของตนทุน คานี้จะนําไปเทียบกับคาที่เกิดขึ้นจริงวามีการใชจริงสูงหรือต่ํากวา
มาตรฐาน
        4.2. มาตรฐานสําหรับการลดตนทุน เปนการกําหนดระดับการลดตนทุนทีสอดคลองกับแผน
                                                                      ่
กําไรในระยะสั้นและระยะยาวขององคการธุรกิจ รวมถึงระดับขวัญและกําลังใจของทุกคนในองคการตั้งแต
ระดับสูงจนถึงระดังลางซึ่งนับเปนปจจัยสําคัญของความสําเร็จดวย

                                        การบริหารธุรกิจ


       การจัดการเงินทุน                                                 การจัดใหคุมทุน
        เพื่อจัดหาเงินทุน                                                 เพื่อหากําไร


                                   การจัดการตนทุน                        การจัดการขาย



            การควบคุม             การควบคุม              การควบคุม              การควบคุม
           แผนการผลิต           กระบวนการผลิต            พัสดุคงคลัง             การจัดซื้อ


            การควบคุม             การควบคุม              การควบคุม              การควบคุม
         อุปกรณเครื่องจักร       การขนถาย               คุณภาพ                 ความรอน


           การควบคุม               การควบคุม             การควบคุม
          ผลผลิตที่ไดจริง       ตนทุนตอหนวย        แรงงานตอหนวย

         รูปที่ 2 ความสัมพันธระหวางการจัดการตนทุนกับกิจกรรมการควบคุมขั้นตนในโรงงาน


บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 3(9)                                                                    3
การกําหนดตนทุนมาตรฐานตอหนวยของผลิตภัณฑ จะคิดคํานวณจากคาวัสดุหลัก คาวัสดุส้นเปลือง
                                                                                              ิ
คาพลังงาน (ไฟฟาและเชื้อเพลิง) และคาใชจายอื่น ๆ อยางละเอียด เชน ในการผลิตเหล็กรูปพรรณจําเปนตอง
มีการลางสนิมออกจากแผนเหล็กดวยกรดกํามะถัน โดยเหล็กแผน 1 ตันจะใชกรดกํามะถัน 10 กิโลกรัม
จากนั้นจึงนําแผนเหล็กที่ลางสนิมแลวไปผานขั้นตอนการผลิตอื่นจนเปนสินคาสําเร็จรูป ผลผลิตจริงที่ได
(Yield) มีเหล็ก 95% ของเหล็กที่นํามาใชทั้งหมด ฉะนั้นตนทุนตอหนวยของกรดกํามะถันในการลางแผน
เหล็ก 1 ตันในผลิตภัณฑจะเทากับ 10.526 กิโลกรัมตอตัน โดยคํานวณมาจาก

                                           ปริมาณสิ้นเปลืองของวัสดุอุปกรณและพลังงาน
        ตนทุนตอหนวย          =
                                       ปริมาณงานในขั้นตอนการผลิตหรือจํานวนหนวยสินคา
                                =       10 กิโลกรัม / 0.95      = 10.526 กิโลกรัมตอตัน

5. ปจจัยที่มีผลตอตนทุนตอหนวยที่ผันแปรไป
        หากตนทุนตอหนวยไมเปนตามมาตรฐาน ผูบริหารจะตองทําการวิเคราะหหาสาเหตุที่ทําใหตนทุน
ตอหนวยแตกตางไป          การวิเคราะหเชนนี้จะทําใหทราบวาควรปรับปรุงแกไขการดําเนินงานผลิตอยางไร
โดยทั่วไป ปจจัยที่สงผลตอตนทุนตอหนวยใหผันแปรไปมักเปนคาใชจายที่เกียวกับ วัสดุ อุปกรณ ผลกระทบ
                                                                           ่
จากขั้นตอนอืน แผนการผลิต ฤดูกาล และ อื่นๆ
             ่
        5.1. วัสดุ ควรพิจารณาถึงชนิดและคุณภาพของวัสดุที่ใชวามีความคลาดเคลื่อนจากคุณสมบัติที่
กําหนดไวหรือไมอยางไร และขนาดของวัสดุตรงตามมาตรฐานที่กําหนดไวหรือไม
        5.2. แบบและรุนของเครื่องจักรและอุปกรณ ควรพิจารณาถึงการใชเครื่องจักรและอุปกรณใน
งานผลิตชิ้นงานแบบเดียวกันวามีความแตกตางกันหรือไม สมรรถนะการทํางานของเครื่องจักรและอุปกรณ
แตละเครื่องแตกตางกันหรือไม การเกิดเหตุขัดของของเครื่องจักรและอุปกรณและการบํารุงรักษาประจําและ
ไมประจํา ทั้งที่อยูในและนอกเหนือความรับผิดชอบของหนวยงานตน
        5.3. ผลกระทบจากขั้นตอนอื่น ควรพิจารณาถึงการสูญเสียที่มผลมาจากการทํางานในขั้นตอน
                                                              ี
อื่นที่ไมถูกตอง ทั้งขั้นตอนกอนและหลังขั้นตอนนั้น เชน การนําชินงานที่บกพรองซึ่งเกิดจากขั้นตอนกอน
                                                                 ้
หนานี้มาใช หรือ ความไมแนนอนในการดําเนินงานในขั้นตอนอื่น ๆ เปนตน
        5.4. แผนการผลิต ควรพิจารณาถึงระดับความสามารถในการดําเนินงานของทีมงาน ทั้งในเชิง
ปริมาณ คุณภาพ และสภาพการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง ตลอดจนความเหมาะสมในการเตรียมการกอนการ
ดําเนินการผลิต ประสิทธิภาพการจัดลําดับขั้นตอนการทํางาน และประสิทธิภาพการใชพลังงาน เปนตน
        5.5. ฤดูกาล ควรพิจารณาถึงผลกระทบของฤดูกาลตอวัสดุหรือกระบวนการผลิต เชน ระดับ
อุณหภูมิ ความชื้น และแสงสวาง ซึ่งมีผลตอการขยายตัวของวัสดุ การเปลี่ยนแปลงความหนืดของของไหล

บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 4(9)                                                                4
การเปลี่ยนสีและกลิ่นอันเกิดจากสารเคมีในวัสดุทําปฏิกริยากับแสง
                                                     ิ             และความสิ้นเปลืองอันเกิดจากการ
สภาพแวดลอมเหลานี้ เปนตน
         5.6. อื่น ๆ ควรพิจารณาถึงมาตรฐานการตรวจสอบ โดยศึกษาความคลาดเคลื่อนของการทํางานอัน
เนื่องมาจากผูปฏิบติงาน จากวิธีการการสุมตัวอยางเพื่อทําการตรวจสอบ และจากการคํานวณ เปนตน
              ั                      

6. การกําหนดมาตรการปรับปรุงตนทุน
         สิ่งที่ตองใหความสนใจในการควบคุมตนทุนและลดตนทุนของฝายผลิต ก็คือ คาใชจายที่เกียวกับ คา
                                                                                           ่
วัตถุดิบ (ทั้งทางตรงและทางออม) คาแรงงาน (ทั้งทางตรงและทางออม) คาใชจายในการผลิต (คาพลังงาน
และคาซอมบํารุงเครื่องจักรและอุปกรณ) ดังแสดงในตารางที่ 1
                        ตารางที่ 1 การกําหนดมาตรการปรับปรุงตนทุนในฝายผลิต
  การควบคุมตนทุน                                  มาตรการปรับปรุงตนทุนในฝายผลิต
    คาวัสดุคงคลัง      1.      ควบคุมอัตราการหมุนเวียนของวัสดุคงคลัง
                        2.      การตรวจสอบของคงคางในคลังเปนเวลานาน
                        3.      การควบคุมปริมาณวัสดุที่ตองใชประจําใหอยูในปริมาณต่ําสุด
                        4.      การจัดระบบการจัดซื้อแบบศูนยรวม
      คาแรงงาน         1.      ควบคุมปริมาณพนักงาน
                        2.      ควบคุมการทํางานลวงเวลา
                        3.      วางแผนลงทุนเพื่อประหยัดแรงงาน หรือลดกําลังคน
                        4.      ควบคุมเวลาทํางานมาตรฐานของแรงงานทางตรง
      คาพลังงาน        1.   ควบคุมการใชพลังงานในขั้นตอนของการวางแผนการผลิต
                        2.   ควบคุมตนทุนตอหนวยของพลังงานที่ใชในการผลิต
                        3.   ควบคุมพลังงานโดยการใชมาตรฐานการทํางาน
   คาวัสดุสิ้นเปลือง   1.   ออกแบบใหสวนประกอบตาง ๆ สามารถใชแทนกันได
                        1.   ควบคุมคาใชจายโดยแยกตามขั้นตอนการผลิต
                        2.   ปรับปรุงวิธีการจัดซื้อใหอยูในระดับที่ประหยัดที่สุด
     คาซอมบํารุง      1.   วิเคราะหคาใชจายในการซอมบํารุงที่เกิดขึ้นจริงโดยแยกตามขั้นตอนการผลิต
                        2.   เปรียบเทียบคาใชจายในการซอมบํารุงกับรายไดจากผลผลิตที่เสียไปเนื่องจากการ
                              หยุดเครื่องจักร
                        3    จัดแยกประเภทการซอมบํารุงเพื่อปองกันกับการซอมบํารุงหลังเกิดเหตุขัดของ ออก
                              จากกัน
  คาประกันคุณภาพ       1.   จัดใหมีการปฏิบัติการแกไขรวมกันระหวางฝายวิจัยกับฝายเทคนิคของฝายผลิต
                        2.   จัดการกับปญหาขอเรียกรองจากลูกคาโดยเรงดวน
                        3.   จัดกิจกรรมวงจรคุณภาพ (QC circle)

บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 5(9)                                                                    5
7. การวางแผนการลดตนทุน
       เปนที่ยอมรับกันทั่วไปวาเปาหมายสําคัญของธุรกิจ คือ ผลกําไรจากการดําเนินงาน และตนทุนเปน
องคประกอบสําคัญโดยตรงที่มีผลตอกําไร ดังนั้นในการจัดทําแผนการลดตนทุนจึงตองทําใหสอดคลองกับ
แผนการบริหารงานขององคกรธุรกิจดวย ตอไปนี้เปนตัวอยางของการวางแผนการลดตนทุนประจําป
                                             บริษัท กันยา จํากัด
                                       แผนการลดตนทุนประจําป 2545
                                                                                     หนวย:ลานบาท
   ยอดขายตามเปาหมาย                                                                       100
   กําไรตามเปาหมาย                                                                           8
   ตนทุนตามเปาหมาย                                                                        92
   โครงสรางตนทุนจริง :
       คาวัตถุดิบ                                                        56
       คาแรงงาน                                                          14
       คาใชจายการผลิต                                                  24
   รวมตนทุนจริง                                                          94                  94
   ผลตางของตนทุนที่จะตองทําการปรับลด                                                        2
   มาตรการปรับปรุงตนทุน                                           คาเปาหมายที่กําหนดไว
       1. ปรับปรุงการจัดซื้อ                                                                 0.40
       2. เพิ่มผลิตผลที่ไดจริงจากการใชวัตถุดิบ                                             0.20
       3. ลดปริมาณของเสีย                                                                    0.70
       4. ประหยัดพลังงาน                                                                     0.10
       5. ลดคาใชจายวัสดุส้นเปลือง
                            ิ                                                               0.60
                            รวม                                                              2.00
         การแขงขันดานราคานับเปนกลยุทธสําคัญของการดําเนินธุรกิจตลอดกาลทั้งในอดีต ปจจุบัน และ
อนาคต ดังเชน บริษัททิฆัมพรตองการชิงสวนแบงการตลาดของผูบริโภคระดับลาง จึงตั้งราคารถยนตรุน
ใหมที่จะเริ่มวางตลาดใหต่ํากวาราคารถยนตของคูแขงที่มีคุณสมบัติทางเทคนิคในระดับเดียวกัน      เปนที่
แนนอนวากิจกรรมนี้จะเปนแรงกดดันใหคูแขงตองพิจารณาดําเนินการในดานการตลาด เชน อาจตองลด
ราคารถยนตรุนที่นํามาแขงขันใหอยูในระดับราคาที่แขงขันได เพื่อรักษาหรือเพิ่มสวนแบงการตลาดของตน
และหากบริษทคูแขงจําเปนตองรักษาระดับกําไรตอคันไวคงเดิม มาตรการสุดทายที่ทําไดจึงมีเพียงการลด
               ั
ตนทุนลง เพดานตนทุนที่ทาใหสามารถขายสินคาในราคาที่แขงขันไดนี้เรียกวา ตนทุนเปาหมาย (Target
                             ํ
Cost) เมื่อกําหนดตนทุนเปาหมายแลว ผูรับผิดชอบจะตองศึกษาในรายละเอียดวาตองปรับลดลงคาใชจาย


บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 6(9)                                                                 6
ดานใดลงบางเพื่อใหไดตนทุนรวมอยูในเกณฑที่ยอมรับได และในการผลิตจริงฝายผลิตจะตองควบคุมการใช
                                   
จายใหไดตามเปาหมาย

8. การวัดการจัดการตนทุน
        การวัดการจัดการตนทุนนับเปนเครื่องมือสําคัญในการเปรียบเทียบการดําเนินการวา       ผลการ
ดําเนินการประสบความสําเร็จมากนอยเพียงไร เปนไปตามแผนที่ไดวางไวหรือไม
        8.1. รูปแบบการวัดการจัดการตนทุน การวัดการจัดการตนทุนมีหลายรูปแบบ ในที่นี้จะ
นําเสนอเพียง 2 รูปแบบที่นิยมใชกันเทานั้น คือ
             8.1.1. การวัดผลแบบศูนยกําไร (Profit Center) เปนระบบการวัดทางดานการจัดการที่แบง
องคการออกเปนหนวยยอย เรียกวา “ศูนยรับผิดชอบ” (Responsibility Center) ซึ่งอาจกําหนดใหแผนกงาน
หรือหนวยงานในระดับใดขององคการเปนศูนยรับผิดชอบก็ได โดยแตละศูนยจะตองมีจดมุงหมายในการ
                                                                                       ุ
ทํางานของตนโดยเฉพาะ รูปแบบการทํางานของศูนยจะแบงออกเปน การนําเขา การแปรสภาพ และผลผลิต
ที่สงออก ดังแสดงในรูปที่ 3 การวัดและประเมินผลของแตละศูนยทําโดยการนําเอารายไดและคาใชจายใน
การดําเนินงานมาทําการเปรียบเทียบกัน ผลตางระหวางรายไดกับคาใชจาย ก็คือ กําไรนั้นเอง

       ปจจัยการผลิตเขา                การแปรสภาพหรือการผลิต                ผลผลิตที่สงออก

                                รูปที่ 3 แสดงลักษณะของศูนยรับผิดชอบ

       การนําปจจัยการผลิตเขา คือ การที่ศูนยนําเขาทรัพยากรที่เปนปจจัยการผลิต รวมถึงขอมูลจาก
หนวยงานอืนเพื่อใชทําการผลิตตามที่หนวยงานรับผิดชอบ
          ่
      การผลิตหรือการแปรสภาพ คือ การแปรสภาพทรัพยากรที่นําเขามาภายในระบบการทํางานหรือ
ระบบการผลิตไปเปนผลิตภัณฑที่หนวยงานรับผิดชอบ
        ผลผลิตที่สงออก คือ ผลผลิตที่ไดจากระบบจะเปนผลงานที่ตองการเพื่อสงออกไปใหศูนยความ
                  
รับผิดชอบอื่นหรือสงออกไปสูลูกคาภายนอกองคการ ซึ่งอาจอยูในรูปของผลิตภัณฑ รายงานการศึกษา หรือ
แผนงาน เปนตน
              8.1.2. การวัดผลแบบศูนยตนทุน (Cost Center) เปนระบบทีนิยมใชกับหนวยงานผลิต และ
                                                                    ่
หนวยงานที่ทาหนาที่สนับสนุนการผลิตหรือใหบริการ เพราะสามารถทราบคาใชจายไดชัดเจนได แตไมอาจ
              ํ
ทราบรายไดทถูกตองแนนอนได การวัดสวนใหญจะเปนการเปรียบเทียบตนทุนกับผลที่ได (Cost / Benefits)
                ี่
การวัดจึงเปนการวัดความเหมาะสมของตนทุนคาใชจายกับปริมาณผลผลิตที่ทําได โดยการนําผลตนทุนที่
เกิดขึ้นจริงมาเทียบกับงบประมาณและเกณฑวัดผลที่ไดมการกําหนดไวลวงหนา
                                                  ี             

บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 7(9)                                                           7
8.2. การกําหนดหัวขอการประเมินและเกณฑวัดผลงาน การประเมินผลงานจะตองประเมิน
จากปริมาณและคุณภาพงานที่หนวยงานรับผิดชอบในแตละชวงเวลา โดยเปรียบเทียบผลงานกับแผนงาน
เปาหมายและเกณฑวัดผลทีกําหนดไว ตารางที่ 2 แสดงการระบุปจจัยการควบคุมและประเมินทีสําคัญของ
                         ่                                                        ่
ฝายผลิตโดยใชระบบการใหคะแนน
               ตารางที่ 2 แสดงการประเมินผลงานของฝายผลิตโดยใชระบบการใหคะแนน

 ลําดับ    หัวขอการประเมิน                   ความสัมพันธ                    การให การถวง คะแนน
    ที่                                                                       คะแนน น้ําหนัก ที่ได

   1         ประสิทธิภาพ                 ปริมาณหรือมูลคาที่ผลิตจริง           193     0.30     28.95
                                     ปริมาณหรือมูลคาตามแผนการผลิต
   2         อัตราของเสีย             มูลคาเสียหายตามเกณฑที่กําหนด           197     0.20     19.70
                                          มูลคาเสียหายที่เกิดขึ้นจริง
   3       อัตราผลที่ไดจริง         อัตราผลที่ไดจริงเมื่อใชวัตถุดบจริง
                                                                     ิ         103     0.15     15.45
           จากการใชวตถุดิบ
                       ั          อัตราผลที่ไดจริงเมื่อใชวัตถุดบที่กําหนด
                                                                  ิ
   4         ประสิทธิภาพ                    มูลคาที่ผลิตจริงตอคน             100     0.10     10.00
                แรงงาน                   มูลคาที่ผลิตตามแผนตอคน
   5         อัตราการเดิน             อัตราการทํางานจริงของอุปกรณ             105     0.10     10.50
             เครื่องใชงาน     อัตราการทํางานตามแผนที่กําหนดของอุปกรณ
   6        ตนทุนตอหนวย                ตนทุนตอหนวยมาตรฐาน                 99    0.15      14.85
                                           ตนทุนตอหนวยที่ใชจริง
                 รวมผลงานที่ประเมินไดของฝายผลิต                              1.00            99.45

          8.3. การจัดทํารายงานการจัดการตนทุน        ในการจัดทํารายงานจะตองคํานึงอยูเสมอวาจัดทํา
ทําไมและเพื่อใคร ทั้งนี้เพื่อใชในการพิจารณาขอบเขตของขอมูลและในชวงเวลาที่เหมาะสมกับการนําไปใช
งาน โดยจะตองเนนที่ประสิทธิภาพในการสื่อความหมาย เนื้อหาที่ถูกตองเหมาะสม และในเวลาที่ทันกาล ใน
รายงานจะวิเคราะหความแตกตางระหวางตนทุนจริงเทียบกับมาตรฐานที่กําหนดไว
9. สรุป
         การจัดการตนทุนมีหนาที่สําคัญสองประการ คือ การควบคุมตนทุนและการลดตนทุน การ
ดําเนินงานจะเริ่มตนดวยการวางแผนที่สอดคลองกับเปาหมายหรือกลยุทธของธุรกิจ          แลวจึงนําแผนการ
ควบคุมและลดตนทุนนีไปปฏิบัติ
                       ้               ซึ่งจะเกียวของกับการสั่งการและการสรางแรงจูงใจในการทํางานให
                                                ่
เปนไปตามแผน แลวจึงทําการประเมินผลดวยการเปรียบเทียบระหวางสิ่งที่เกิดขึ้นจริงกับแผนที่วางไว อัน
เปนขอมูลยอนกลับไปใหฝายบริหารพิจารณาตัดสินใจปรับแผนกลยุทธเพื่อการดําเนินงานในอนาคต


บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 8(9)                                                               8
10. หลักฐานอางอิง
1 ธาดา พฤฒิธาดา “การลดตนทุนการผลิตในสถานประกอบการ” สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)
   กรุงเทพฯ 2539.
2 ธงชัย สันติวงษ “ศูนยกาไร: องคกรเติบโตไรพรมแดน” บริษัท วิเคราะหธุรกิจและการจัดการ จํากัด
                          ํ
   กรุงเทพฯ 2538.
3 ดวงมณี โกมารทัต “การบัญชีบริหาร” แมคกรอ-ฮิล เนชันแนล เอ็นเตอรไพรส, อิงค กรุงเทพฯ 2544.
                                                         ่
4 Blocher, Edward J., Cost Management, 2nd ed., McGraw-Hill Irwin.Book Co.Ltd., 2001.
5 Datar, Srikant M., Cost Accounting, 11th ed., Prentice Hall, Inc.Co.Ltd., 2003.
6 Garrison, Ray H., Managerial Accounting, 10th ed., McGraw-Hill Irwin Book Co.Ltd., 2003.
7 Horngren, Charles T., Cost Accounting, 10th ed., Prentice Hall, Inc.Co.Ltd., 2000.
8 Kaplan, Robert S., The Design of Cost Management System, Prentice Hall, Inc.Co.Ltd., 1999.
9 Krajewski, lee J., Operations Management, 6th ed., Prentice Hall, Inc.Co.Ltd., 2002.
10 Selto, Frank H., Cost Management, 2nd ed., McGraw-Hill Irwin. Book Co.Ltd., 2000.




บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 9(9)                                                        9

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5praphol
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการtumetr
 
Chapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-fullChapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-fullthanapat yeekhaday
 

What's hot (9)

บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
Chapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-fullChapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-full
 

Viewers also liked

manual ktm 520
manual ktm 520manual ktm 520
manual ktm 520clarita444
 
Mi primer archivo
Mi primer archivoMi primer archivo
Mi primer archivoninyj29
 
faveton brochure
faveton brochurefaveton brochure
faveton brochureLuis Matos
 
Hector SFM 1
Hector SFM 1Hector SFM 1
Hector SFM 1TonyC445
 
Formatting in excel
Formatting in excelFormatting in excel
Formatting in excelmirnmike
 
The transition to a sustainable economic model - Pollen Strategy
The transition to a sustainable economic model - Pollen StrategyThe transition to a sustainable economic model - Pollen Strategy
The transition to a sustainable economic model - Pollen StrategyPollenStrategy
 
1st conditional
1st conditional1st conditional
1st conditionalJesoos
 
Trabajo de ingles
Trabajo de inglesTrabajo de ingles
Trabajo de inglesninyj29
 
Revista Catalunya - Papers nº137. Març 2012
Revista Catalunya - Papers nº137. Març 2012Revista Catalunya - Papers nº137. Març 2012
Revista Catalunya - Papers nº137. Març 2012Revista Catalunya
 
Abolishing capital punishment in indiana
Abolishing capital punishment in indianaAbolishing capital punishment in indiana
Abolishing capital punishment in indianalbrowning9
 
Study And Implemenataion Of Advance Intrusion Detection And Prevention Sysyte...
Study And Implemenataion Of Advance Intrusion Detection And Prevention Sysyte...Study And Implemenataion Of Advance Intrusion Detection And Prevention Sysyte...
Study And Implemenataion Of Advance Intrusion Detection And Prevention Sysyte...Deepak Mishra
 
Hotelurile capsulă din Japonia
Hotelurile capsulă din JaponiaHotelurile capsulă din Japonia
Hotelurile capsulă din JaponiaFrumoasa Verde
 
Untitledpresentation
UntitledpresentationUntitledpresentation
Untitledpresentationlarrymgaye
 
Positive thinking attitudes_and_beliefs_final_ppt_29.09.2011
Positive thinking attitudes_and_beliefs_final_ppt_29.09.2011Positive thinking attitudes_and_beliefs_final_ppt_29.09.2011
Positive thinking attitudes_and_beliefs_final_ppt_29.09.2011Pallavi Jagtap
 

Viewers also liked (20)

manual ktm 520
manual ktm 520manual ktm 520
manual ktm 520
 
Parkour
ParkourParkour
Parkour
 
UB0203
UB0203UB0203
UB0203
 
Mi primer archivo
Mi primer archivoMi primer archivo
Mi primer archivo
 
faveton brochure
faveton brochurefaveton brochure
faveton brochure
 
Hector SFM 1
Hector SFM 1Hector SFM 1
Hector SFM 1
 
Mehmet yilmaz
Mehmet yilmazMehmet yilmaz
Mehmet yilmaz
 
Formatting in excel
Formatting in excelFormatting in excel
Formatting in excel
 
The transition to a sustainable economic model - Pollen Strategy
The transition to a sustainable economic model - Pollen StrategyThe transition to a sustainable economic model - Pollen Strategy
The transition to a sustainable economic model - Pollen Strategy
 
___
  ___  ___
___
 
1st conditional
1st conditional1st conditional
1st conditional
 
Trabajo de ingles
Trabajo de inglesTrabajo de ingles
Trabajo de ingles
 
Revista Catalunya - Papers nº137. Març 2012
Revista Catalunya - Papers nº137. Març 2012Revista Catalunya - Papers nº137. Març 2012
Revista Catalunya - Papers nº137. Març 2012
 
Abolishing capital punishment in indiana
Abolishing capital punishment in indianaAbolishing capital punishment in indiana
Abolishing capital punishment in indiana
 
Study And Implemenataion Of Advance Intrusion Detection And Prevention Sysyte...
Study And Implemenataion Of Advance Intrusion Detection And Prevention Sysyte...Study And Implemenataion Of Advance Intrusion Detection And Prevention Sysyte...
Study And Implemenataion Of Advance Intrusion Detection And Prevention Sysyte...
 
Visual Resume
Visual ResumeVisual Resume
Visual Resume
 
Hotelurile capsulă din Japonia
Hotelurile capsulă din JaponiaHotelurile capsulă din Japonia
Hotelurile capsulă din Japonia
 
Untitledpresentation
UntitledpresentationUntitledpresentation
Untitledpresentation
 
Presentacion chicago buena
Presentacion chicago buenaPresentacion chicago buena
Presentacion chicago buena
 
Positive thinking attitudes_and_beliefs_final_ppt_29.09.2011
Positive thinking attitudes_and_beliefs_final_ppt_29.09.2011Positive thinking attitudes_and_beliefs_final_ppt_29.09.2011
Positive thinking attitudes_and_beliefs_final_ppt_29.09.2011
 

Similar to การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต

The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control Systemsiriporn pongvinyoo
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมApichaya Savetvijit
 
ISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationNukool Thanuanram
 
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายในการควบคุมภายใน
การควบคุมภายในAttachoke Putththai
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
 
Maintenance Glossary
Maintenance GlossaryMaintenance Glossary
Maintenance Glossarymrsuwijak
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพอัยเหี้ยม ยัยห้อย
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพอัยเหี้ยม ยัยห้อย
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Managementtltutortutor
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงCharming Love
 

Similar to การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต (20)

The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control System
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
 
14 2
14 214 2
14 2
 
ISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and Implementation
 
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายในการควบคุมภายใน
การควบคุมภายใน
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
Maintenance Glossary
Maintenance GlossaryMaintenance Glossary
Maintenance Glossary
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
Lean present opd_2551
Lean present opd_2551Lean present opd_2551
Lean present opd_2551
 
P C C H R& D K P I
P C C  H R& D  K P IP C C  H R& D  K P I
P C C H R& D K P I
 
L5
L5L5
L5
 
Internal Audit Planning
Internal Audit PlanningInternal Audit Planning
Internal Audit Planning
 
Iqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark styleIqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark style
 
L1
L1L1
L1
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Management
 
L1
L1L1
L1
 
บัญชี
บัญชีบัญชี
บัญชี
 
5.การประเมินบุคคล
5.การประเมินบุคคล5.การประเมินบุคคล
5.การประเมินบุคคล
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 

การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต

  • 1. การจัดการตนทุนในธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต ฑิฆมพร ทวีเดช1 และ สมบัติ ทีฆทรัพย2 ั 1. บทนํา เปนที่ยอมรับกันในหมูนกธุรกิจอุตสาหกรรมวา คุณภาพและตนทุนของสินคาและบริการนับเปน ั หัวใจของธุรกิจหรืออุตสาหกรรม เพราะหากไมสามารถควบคุมตนทุนผลิตภัณฑหรือบริการในระดับที่ สามารถแขงขันได และยิ่งหากละเลยในการยกระดับคุณภาพของสินคาและบริการใหตรงตามความตองการ ของลูกคาดวยแลว ธุรกิจหรืออุตสาหกรรมนั้นก็จะไมสามารถดําเนินการใหอยูรอดได นั่นคือปจจัยหลักที่มี อิทธิพลตอการดําเนินธุรกิจ คือ คุณภาพ และตนทุน การจัดการคุณภาพ (Quality management) เปนกิจกรรมสําคัญที่ตองปฏิบัติอยางตอเนื่องเพื่อให สินคาหรือบริการมี “คุณภาพ” เปนที่พึงพอใจของลูกคาอยางเต็มที่ ในระดับราคาทีเ่ หมาะสม มีการสงมอบ ตรงเวลา ตามปริมาณและคุณภาพที่สั่งซื้อ ใชงานไดสะดวก ปลอดภัย และเชื่อถือไดสูงตลอดอายุการใชงาน ของสินคาหรือบริการ ดวยคาใชจายในการใชงานที่ลูกคาพอใจ การจัดการตนทุน (Cost Management) เปนกิจกรรมที่จําเปนสําหรับการควบคุมตนทุน (Cost Control) และการลดตนทุน (Cost Reduction) โดยใชขอมูลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินกิจการมาประกอบการ ตัดสินใจ เพื่อบรรลุวัตถุประสงคในการบริหารธุรกิจใหเจริญเติบโตและสามารถอยูรอดไดตลอดไป 2. วงจรการบริหาร ในการบริหารองคการทุกประเภท ไมวาจะเปนองคการที่แสวงหากําไรหรือไมก็ตาม จะมีลักษณะที่ ไมแตกตางกัน บุคคลที่ตองรับผิดชอบในการจัดการใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวคือผูบริหารระดับตาง ๆ ขององคการนั้นเอง ภารกิจหลักของผูบริหารคือ การวางแผน สั่งการ จูงใจ การควบคุม และประเมินผล ดังแสดงในรูปที่ 1 1 อาจารยประจําสาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกลาพระนครเหนือ 2 ประธานกลุมอุตสาหกรรมการจัดการของเสียและวัสดุเหลือใช และประธานคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานวิจัย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 1(9) 1
  • 2. การวางแผน การจัดทําแผนระยะสั้นและระยะยาว การตัดสินใจ การสั่งการและการจูงใจ การควบคุมและการประเมินผล นําแผนไปสูการปฏิบัติ มีการนําแผนไปปฏิบัติไดจริง รูปที่ 1 แสดงวงจรการบริหารธุรกิจ การวางแผนจะเกี่ยวของกับการเลือกกระทําหรือไมกระทํากิจกรรมอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เพื่อให บรรลุเปาหมายของกิจการ สวนการสั่งการและจูงใจจะเกี่ยวของกับการชี้นําและชักจูงใหพนักงานดําเนินการ ตามแผนที่วางไว ขั้นตอนนี้นับเปนขั้นตอนที่สําคัญมากในการนําแผนไปสูการปฏิบัติ สําหรับการควบคุม และประเมินผลจะเกี่ยวของกับการติดตามแผนการดําเนินงาน เพื่อใหมั่นใจวาไดมีการนําแผนไปปฏิบัติได จริง กิจกรรมการบริหารเหลานี้ตองอาศัยระบบสารสนเทศมาสนับสนุนดวย 3. การควบคุมตนทุน หนาที่สําคัญของฝายผลิตในทุกธุรกิจก็คือ การผลิตสินคาใหเปนไปตามวัตถุประสงคและเปาหมาย ของการผลิต ทั้งชนิดของสินคา คุณภาพของสินคา และการสงมอบสินคา ดังนั้นจึงจําเปนตองกําหนด กิจกรรมการควบคุมดานตาง ๆ ในฝายผลิตใหมีประสิทธิภาพ เชน ดานแผนการผลิต กระบวนการผลิต การ ออกแบบ การใชเครื่องจักรและอุปกรณ การใชแรงงาน การใชวัสดุ คุณภาพของผลผลิต การขนถายวัสดุ และ พัสดุคงคลัง เปนตน เมื่อกิจกรรมการควบคุมเหลานี้สามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ จะสงผลให ตนทุนที่เกิดขึนเปนตนทุนทียอมรับได หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ ตนทุนเปาหมาย (Target Cost) ซึ่งตนทุนใน ้ ่ ฝายผลิตที่ลดลงก็คือผลกําไรที่เพิ่มขึ้นนั่นเอง ดังแสดงในรูปที่ 2 4. การกําหนดมาตรฐานตนทุน จากที่กลาวมาแลววาการจัดการตนทุนมีเปาหมายสําคัญ 2 ประการคือ การควบคุม ซึ่งก็คือการรักษา ระดับตนทุนใหอยูในมาตรฐานที่กําหนดไว กับการลดตนทุน โดยลดจากสภาพตนทุนในปจจุบนไปเปน ั บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 2(9) 2
  • 3. ตนทุนที่ปรับปรุงใหมจากการกําหนดขึนตามความเปนไปไดที่จะดําเนินการใหลดลง ้ สิ่งสําคัญที่จะทําให งานในหนาทีทั้งสองสําเร็จได คือ การจัดทํามาตรฐานสําหรับกิจกรรมดังนี้ ่ 4.1. มาตรฐานสําหรับการควบคุมขั้นตน เปนการกําหนดจากระดับความเปนจริงภายใตเงื่อนไข การทํางานที่เปนอยูในปจจุบัน เชน ใชวตถุดิบหลักโดยเฉลี่ย 10 กิโลกรัมตอหนึงหนวยสินคา ฉะนัน 10 ั ่ ้ กิโลกรัม คือ เกณฑมาตรฐานของตนทุน คานี้จะนําไปเทียบกับคาที่เกิดขึ้นจริงวามีการใชจริงสูงหรือต่ํากวา มาตรฐาน 4.2. มาตรฐานสําหรับการลดตนทุน เปนการกําหนดระดับการลดตนทุนทีสอดคลองกับแผน ่ กําไรในระยะสั้นและระยะยาวขององคการธุรกิจ รวมถึงระดับขวัญและกําลังใจของทุกคนในองคการตั้งแต ระดับสูงจนถึงระดังลางซึ่งนับเปนปจจัยสําคัญของความสําเร็จดวย การบริหารธุรกิจ การจัดการเงินทุน การจัดใหคุมทุน เพื่อจัดหาเงินทุน เพื่อหากําไร การจัดการตนทุน การจัดการขาย การควบคุม การควบคุม การควบคุม การควบคุม แผนการผลิต กระบวนการผลิต พัสดุคงคลัง การจัดซื้อ การควบคุม การควบคุม การควบคุม การควบคุม อุปกรณเครื่องจักร การขนถาย คุณภาพ ความรอน การควบคุม การควบคุม การควบคุม ผลผลิตที่ไดจริง ตนทุนตอหนวย แรงงานตอหนวย รูปที่ 2 ความสัมพันธระหวางการจัดการตนทุนกับกิจกรรมการควบคุมขั้นตนในโรงงาน บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 3(9) 3
  • 4. การกําหนดตนทุนมาตรฐานตอหนวยของผลิตภัณฑ จะคิดคํานวณจากคาวัสดุหลัก คาวัสดุส้นเปลือง ิ คาพลังงาน (ไฟฟาและเชื้อเพลิง) และคาใชจายอื่น ๆ อยางละเอียด เชน ในการผลิตเหล็กรูปพรรณจําเปนตอง มีการลางสนิมออกจากแผนเหล็กดวยกรดกํามะถัน โดยเหล็กแผน 1 ตันจะใชกรดกํามะถัน 10 กิโลกรัม จากนั้นจึงนําแผนเหล็กที่ลางสนิมแลวไปผานขั้นตอนการผลิตอื่นจนเปนสินคาสําเร็จรูป ผลผลิตจริงที่ได (Yield) มีเหล็ก 95% ของเหล็กที่นํามาใชทั้งหมด ฉะนั้นตนทุนตอหนวยของกรดกํามะถันในการลางแผน เหล็ก 1 ตันในผลิตภัณฑจะเทากับ 10.526 กิโลกรัมตอตัน โดยคํานวณมาจาก ปริมาณสิ้นเปลืองของวัสดุอุปกรณและพลังงาน ตนทุนตอหนวย = ปริมาณงานในขั้นตอนการผลิตหรือจํานวนหนวยสินคา = 10 กิโลกรัม / 0.95 = 10.526 กิโลกรัมตอตัน 5. ปจจัยที่มีผลตอตนทุนตอหนวยที่ผันแปรไป หากตนทุนตอหนวยไมเปนตามมาตรฐาน ผูบริหารจะตองทําการวิเคราะหหาสาเหตุที่ทําใหตนทุน ตอหนวยแตกตางไป การวิเคราะหเชนนี้จะทําใหทราบวาควรปรับปรุงแกไขการดําเนินงานผลิตอยางไร โดยทั่วไป ปจจัยที่สงผลตอตนทุนตอหนวยใหผันแปรไปมักเปนคาใชจายที่เกียวกับ วัสดุ อุปกรณ ผลกระทบ ่ จากขั้นตอนอืน แผนการผลิต ฤดูกาล และ อื่นๆ ่ 5.1. วัสดุ ควรพิจารณาถึงชนิดและคุณภาพของวัสดุที่ใชวามีความคลาดเคลื่อนจากคุณสมบัติที่ กําหนดไวหรือไมอยางไร และขนาดของวัสดุตรงตามมาตรฐานที่กําหนดไวหรือไม 5.2. แบบและรุนของเครื่องจักรและอุปกรณ ควรพิจารณาถึงการใชเครื่องจักรและอุปกรณใน งานผลิตชิ้นงานแบบเดียวกันวามีความแตกตางกันหรือไม สมรรถนะการทํางานของเครื่องจักรและอุปกรณ แตละเครื่องแตกตางกันหรือไม การเกิดเหตุขัดของของเครื่องจักรและอุปกรณและการบํารุงรักษาประจําและ ไมประจํา ทั้งที่อยูในและนอกเหนือความรับผิดชอบของหนวยงานตน 5.3. ผลกระทบจากขั้นตอนอื่น ควรพิจารณาถึงการสูญเสียที่มผลมาจากการทํางานในขั้นตอน ี อื่นที่ไมถูกตอง ทั้งขั้นตอนกอนและหลังขั้นตอนนั้น เชน การนําชินงานที่บกพรองซึ่งเกิดจากขั้นตอนกอน ้ หนานี้มาใช หรือ ความไมแนนอนในการดําเนินงานในขั้นตอนอื่น ๆ เปนตน 5.4. แผนการผลิต ควรพิจารณาถึงระดับความสามารถในการดําเนินงานของทีมงาน ทั้งในเชิง ปริมาณ คุณภาพ และสภาพการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง ตลอดจนความเหมาะสมในการเตรียมการกอนการ ดําเนินการผลิต ประสิทธิภาพการจัดลําดับขั้นตอนการทํางาน และประสิทธิภาพการใชพลังงาน เปนตน 5.5. ฤดูกาล ควรพิจารณาถึงผลกระทบของฤดูกาลตอวัสดุหรือกระบวนการผลิต เชน ระดับ อุณหภูมิ ความชื้น และแสงสวาง ซึ่งมีผลตอการขยายตัวของวัสดุ การเปลี่ยนแปลงความหนืดของของไหล บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 4(9) 4
  • 5. การเปลี่ยนสีและกลิ่นอันเกิดจากสารเคมีในวัสดุทําปฏิกริยากับแสง ิ และความสิ้นเปลืองอันเกิดจากการ สภาพแวดลอมเหลานี้ เปนตน 5.6. อื่น ๆ ควรพิจารณาถึงมาตรฐานการตรวจสอบ โดยศึกษาความคลาดเคลื่อนของการทํางานอัน เนื่องมาจากผูปฏิบติงาน จากวิธีการการสุมตัวอยางเพื่อทําการตรวจสอบ และจากการคํานวณ เปนตน  ั  6. การกําหนดมาตรการปรับปรุงตนทุน สิ่งที่ตองใหความสนใจในการควบคุมตนทุนและลดตนทุนของฝายผลิต ก็คือ คาใชจายที่เกียวกับ คา  ่ วัตถุดิบ (ทั้งทางตรงและทางออม) คาแรงงาน (ทั้งทางตรงและทางออม) คาใชจายในการผลิต (คาพลังงาน และคาซอมบํารุงเครื่องจักรและอุปกรณ) ดังแสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 การกําหนดมาตรการปรับปรุงตนทุนในฝายผลิต การควบคุมตนทุน มาตรการปรับปรุงตนทุนในฝายผลิต คาวัสดุคงคลัง 1. ควบคุมอัตราการหมุนเวียนของวัสดุคงคลัง 2. การตรวจสอบของคงคางในคลังเปนเวลานาน 3. การควบคุมปริมาณวัสดุที่ตองใชประจําใหอยูในปริมาณต่ําสุด 4. การจัดระบบการจัดซื้อแบบศูนยรวม คาแรงงาน 1. ควบคุมปริมาณพนักงาน 2. ควบคุมการทํางานลวงเวลา 3. วางแผนลงทุนเพื่อประหยัดแรงงาน หรือลดกําลังคน 4. ควบคุมเวลาทํางานมาตรฐานของแรงงานทางตรง คาพลังงาน 1. ควบคุมการใชพลังงานในขั้นตอนของการวางแผนการผลิต 2. ควบคุมตนทุนตอหนวยของพลังงานที่ใชในการผลิต 3. ควบคุมพลังงานโดยการใชมาตรฐานการทํางาน คาวัสดุสิ้นเปลือง 1. ออกแบบใหสวนประกอบตาง ๆ สามารถใชแทนกันได 1. ควบคุมคาใชจายโดยแยกตามขั้นตอนการผลิต 2. ปรับปรุงวิธีการจัดซื้อใหอยูในระดับที่ประหยัดที่สุด คาซอมบํารุง 1. วิเคราะหคาใชจายในการซอมบํารุงที่เกิดขึ้นจริงโดยแยกตามขั้นตอนการผลิต 2. เปรียบเทียบคาใชจายในการซอมบํารุงกับรายไดจากผลผลิตที่เสียไปเนื่องจากการ หยุดเครื่องจักร 3 จัดแยกประเภทการซอมบํารุงเพื่อปองกันกับการซอมบํารุงหลังเกิดเหตุขัดของ ออก จากกัน คาประกันคุณภาพ 1. จัดใหมีการปฏิบัติการแกไขรวมกันระหวางฝายวิจัยกับฝายเทคนิคของฝายผลิต 2. จัดการกับปญหาขอเรียกรองจากลูกคาโดยเรงดวน 3. จัดกิจกรรมวงจรคุณภาพ (QC circle) บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 5(9) 5
  • 6. 7. การวางแผนการลดตนทุน เปนที่ยอมรับกันทั่วไปวาเปาหมายสําคัญของธุรกิจ คือ ผลกําไรจากการดําเนินงาน และตนทุนเปน องคประกอบสําคัญโดยตรงที่มีผลตอกําไร ดังนั้นในการจัดทําแผนการลดตนทุนจึงตองทําใหสอดคลองกับ แผนการบริหารงานขององคกรธุรกิจดวย ตอไปนี้เปนตัวอยางของการวางแผนการลดตนทุนประจําป บริษัท กันยา จํากัด แผนการลดตนทุนประจําป 2545 หนวย:ลานบาท ยอดขายตามเปาหมาย 100 กําไรตามเปาหมาย 8 ตนทุนตามเปาหมาย 92 โครงสรางตนทุนจริง : คาวัตถุดิบ 56 คาแรงงาน 14 คาใชจายการผลิต 24 รวมตนทุนจริง 94 94 ผลตางของตนทุนที่จะตองทําการปรับลด 2 มาตรการปรับปรุงตนทุน คาเปาหมายที่กําหนดไว 1. ปรับปรุงการจัดซื้อ 0.40 2. เพิ่มผลิตผลที่ไดจริงจากการใชวัตถุดิบ 0.20 3. ลดปริมาณของเสีย 0.70 4. ประหยัดพลังงาน 0.10 5. ลดคาใชจายวัสดุส้นเปลือง  ิ 0.60 รวม 2.00 การแขงขันดานราคานับเปนกลยุทธสําคัญของการดําเนินธุรกิจตลอดกาลทั้งในอดีต ปจจุบัน และ อนาคต ดังเชน บริษัททิฆัมพรตองการชิงสวนแบงการตลาดของผูบริโภคระดับลาง จึงตั้งราคารถยนตรุน ใหมที่จะเริ่มวางตลาดใหต่ํากวาราคารถยนตของคูแขงที่มีคุณสมบัติทางเทคนิคในระดับเดียวกัน เปนที่ แนนอนวากิจกรรมนี้จะเปนแรงกดดันใหคูแขงตองพิจารณาดําเนินการในดานการตลาด เชน อาจตองลด ราคารถยนตรุนที่นํามาแขงขันใหอยูในระดับราคาที่แขงขันได เพื่อรักษาหรือเพิ่มสวนแบงการตลาดของตน และหากบริษทคูแขงจําเปนตองรักษาระดับกําไรตอคันไวคงเดิม มาตรการสุดทายที่ทําไดจึงมีเพียงการลด ั ตนทุนลง เพดานตนทุนที่ทาใหสามารถขายสินคาในราคาที่แขงขันไดนี้เรียกวา ตนทุนเปาหมาย (Target ํ Cost) เมื่อกําหนดตนทุนเปาหมายแลว ผูรับผิดชอบจะตองศึกษาในรายละเอียดวาตองปรับลดลงคาใชจาย บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 6(9) 6
  • 7. ดานใดลงบางเพื่อใหไดตนทุนรวมอยูในเกณฑที่ยอมรับได และในการผลิตจริงฝายผลิตจะตองควบคุมการใช  จายใหไดตามเปาหมาย 8. การวัดการจัดการตนทุน การวัดการจัดการตนทุนนับเปนเครื่องมือสําคัญในการเปรียบเทียบการดําเนินการวา ผลการ ดําเนินการประสบความสําเร็จมากนอยเพียงไร เปนไปตามแผนที่ไดวางไวหรือไม 8.1. รูปแบบการวัดการจัดการตนทุน การวัดการจัดการตนทุนมีหลายรูปแบบ ในที่นี้จะ นําเสนอเพียง 2 รูปแบบที่นิยมใชกันเทานั้น คือ 8.1.1. การวัดผลแบบศูนยกําไร (Profit Center) เปนระบบการวัดทางดานการจัดการที่แบง องคการออกเปนหนวยยอย เรียกวา “ศูนยรับผิดชอบ” (Responsibility Center) ซึ่งอาจกําหนดใหแผนกงาน หรือหนวยงานในระดับใดขององคการเปนศูนยรับผิดชอบก็ได โดยแตละศูนยจะตองมีจดมุงหมายในการ ุ ทํางานของตนโดยเฉพาะ รูปแบบการทํางานของศูนยจะแบงออกเปน การนําเขา การแปรสภาพ และผลผลิต ที่สงออก ดังแสดงในรูปที่ 3 การวัดและประเมินผลของแตละศูนยทําโดยการนําเอารายไดและคาใชจายใน การดําเนินงานมาทําการเปรียบเทียบกัน ผลตางระหวางรายไดกับคาใชจาย ก็คือ กําไรนั้นเอง ปจจัยการผลิตเขา การแปรสภาพหรือการผลิต ผลผลิตที่สงออก รูปที่ 3 แสดงลักษณะของศูนยรับผิดชอบ การนําปจจัยการผลิตเขา คือ การที่ศูนยนําเขาทรัพยากรที่เปนปจจัยการผลิต รวมถึงขอมูลจาก หนวยงานอืนเพื่อใชทําการผลิตตามที่หนวยงานรับผิดชอบ ่ การผลิตหรือการแปรสภาพ คือ การแปรสภาพทรัพยากรที่นําเขามาภายในระบบการทํางานหรือ ระบบการผลิตไปเปนผลิตภัณฑที่หนวยงานรับผิดชอบ ผลผลิตที่สงออก คือ ผลผลิตที่ไดจากระบบจะเปนผลงานที่ตองการเพื่อสงออกไปใหศูนยความ  รับผิดชอบอื่นหรือสงออกไปสูลูกคาภายนอกองคการ ซึ่งอาจอยูในรูปของผลิตภัณฑ รายงานการศึกษา หรือ แผนงาน เปนตน 8.1.2. การวัดผลแบบศูนยตนทุน (Cost Center) เปนระบบทีนิยมใชกับหนวยงานผลิต และ ่ หนวยงานที่ทาหนาที่สนับสนุนการผลิตหรือใหบริการ เพราะสามารถทราบคาใชจายไดชัดเจนได แตไมอาจ ํ ทราบรายไดทถูกตองแนนอนได การวัดสวนใหญจะเปนการเปรียบเทียบตนทุนกับผลที่ได (Cost / Benefits) ี่ การวัดจึงเปนการวัดความเหมาะสมของตนทุนคาใชจายกับปริมาณผลผลิตที่ทําได โดยการนําผลตนทุนที่ เกิดขึ้นจริงมาเทียบกับงบประมาณและเกณฑวัดผลที่ไดมการกําหนดไวลวงหนา ี  บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 7(9) 7
  • 8. 8.2. การกําหนดหัวขอการประเมินและเกณฑวัดผลงาน การประเมินผลงานจะตองประเมิน จากปริมาณและคุณภาพงานที่หนวยงานรับผิดชอบในแตละชวงเวลา โดยเปรียบเทียบผลงานกับแผนงาน เปาหมายและเกณฑวัดผลทีกําหนดไว ตารางที่ 2 แสดงการระบุปจจัยการควบคุมและประเมินทีสําคัญของ ่ ่ ฝายผลิตโดยใชระบบการใหคะแนน ตารางที่ 2 แสดงการประเมินผลงานของฝายผลิตโดยใชระบบการใหคะแนน ลําดับ หัวขอการประเมิน ความสัมพันธ การให การถวง คะแนน ที่ คะแนน น้ําหนัก ที่ได 1 ประสิทธิภาพ ปริมาณหรือมูลคาที่ผลิตจริง 193 0.30 28.95 ปริมาณหรือมูลคาตามแผนการผลิต 2 อัตราของเสีย มูลคาเสียหายตามเกณฑที่กําหนด 197 0.20 19.70 มูลคาเสียหายที่เกิดขึ้นจริง 3 อัตราผลที่ไดจริง อัตราผลที่ไดจริงเมื่อใชวัตถุดบจริง ิ 103 0.15 15.45 จากการใชวตถุดิบ ั อัตราผลที่ไดจริงเมื่อใชวัตถุดบที่กําหนด ิ 4 ประสิทธิภาพ มูลคาที่ผลิตจริงตอคน 100 0.10 10.00 แรงงาน มูลคาที่ผลิตตามแผนตอคน 5 อัตราการเดิน อัตราการทํางานจริงของอุปกรณ 105 0.10 10.50 เครื่องใชงาน อัตราการทํางานตามแผนที่กําหนดของอุปกรณ 6 ตนทุนตอหนวย ตนทุนตอหนวยมาตรฐาน 99 0.15 14.85 ตนทุนตอหนวยที่ใชจริง รวมผลงานที่ประเมินไดของฝายผลิต 1.00 99.45 8.3. การจัดทํารายงานการจัดการตนทุน ในการจัดทํารายงานจะตองคํานึงอยูเสมอวาจัดทํา ทําไมและเพื่อใคร ทั้งนี้เพื่อใชในการพิจารณาขอบเขตของขอมูลและในชวงเวลาที่เหมาะสมกับการนําไปใช งาน โดยจะตองเนนที่ประสิทธิภาพในการสื่อความหมาย เนื้อหาที่ถูกตองเหมาะสม และในเวลาที่ทันกาล ใน รายงานจะวิเคราะหความแตกตางระหวางตนทุนจริงเทียบกับมาตรฐานที่กําหนดไว 9. สรุป การจัดการตนทุนมีหนาที่สําคัญสองประการ คือ การควบคุมตนทุนและการลดตนทุน การ ดําเนินงานจะเริ่มตนดวยการวางแผนที่สอดคลองกับเปาหมายหรือกลยุทธของธุรกิจ แลวจึงนําแผนการ ควบคุมและลดตนทุนนีไปปฏิบัติ ้ ซึ่งจะเกียวของกับการสั่งการและการสรางแรงจูงใจในการทํางานให ่ เปนไปตามแผน แลวจึงทําการประเมินผลดวยการเปรียบเทียบระหวางสิ่งที่เกิดขึ้นจริงกับแผนที่วางไว อัน เปนขอมูลยอนกลับไปใหฝายบริหารพิจารณาตัดสินใจปรับแผนกลยุทธเพื่อการดําเนินงานในอนาคต บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 8(9) 8
  • 9. 10. หลักฐานอางอิง 1 ธาดา พฤฒิธาดา “การลดตนทุนการผลิตในสถานประกอบการ” สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) กรุงเทพฯ 2539. 2 ธงชัย สันติวงษ “ศูนยกาไร: องคกรเติบโตไรพรมแดน” บริษัท วิเคราะหธุรกิจและการจัดการ จํากัด ํ กรุงเทพฯ 2538. 3 ดวงมณี โกมารทัต “การบัญชีบริหาร” แมคกรอ-ฮิล เนชันแนล เอ็นเตอรไพรส, อิงค กรุงเทพฯ 2544. ่ 4 Blocher, Edward J., Cost Management, 2nd ed., McGraw-Hill Irwin.Book Co.Ltd., 2001. 5 Datar, Srikant M., Cost Accounting, 11th ed., Prentice Hall, Inc.Co.Ltd., 2003. 6 Garrison, Ray H., Managerial Accounting, 10th ed., McGraw-Hill Irwin Book Co.Ltd., 2003. 7 Horngren, Charles T., Cost Accounting, 10th ed., Prentice Hall, Inc.Co.Ltd., 2000. 8 Kaplan, Robert S., The Design of Cost Management System, Prentice Hall, Inc.Co.Ltd., 1999. 9 Krajewski, lee J., Operations Management, 6th ed., Prentice Hall, Inc.Co.Ltd., 2002. 10 Selto, Frank H., Cost Management, 2nd ed., McGraw-Hill Irwin. Book Co.Ltd., 2000. บทความการจัดการตนทุน 7/11/2004 9(9) 9