SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต

1
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

บทบาทของผู้ประกอบการกับการบริหารการผลิตยุคใหม่

เพื่อลูกค้า
Q-C-D
Q – Quality
(คุณภาพ)
C – Cost
(ต้นทุน)
D – Delivery
(การส่งมอบ)

เพื่อพนักงาน
S-M

เพื่อสังคม
E-E

S – Safety
E – Environment
(ความปลอดภัย)
(สิ่งแวดล้อม)
M – Morale
E – Ethic
(ขวัญ กาลังใจ)
(จริยธรรม)

2
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่





ถ้าคุณไม่เป็นผู้เปลี่ยน
ถ้าคุณไม่ต้องการไปข้างหน้า
ถ้าคุณยังไม่เปลี่ยนใจ

คุณก็จะถูกเปลี่ยน
คุณก็จะถูกทิ้งให้อยู่ข้างหลัง
คุณก็จะอยู่อดีตตลอดไป

3
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

4

ประเทศไทยอยู่ตรงไหน ?
4

ลูกค้ารายใหญ่ของไทย:
 ลูก ค้ารายใหญ่ที่ สุ ดของไทยคือ ประเทศ
จี น รองลงมาจึ ง เป็ น ญี่ ปุ่ น และสหรั ฐ ฯ
ตามลาดับ
 มูลค่าการส่งออกของไทยไปประเทศกลุ่ม
อาเซี ย นนั้ น มากกว่ า มู ล ค่ า การส่ ง ออกไป
สหรัฐและญี่ปุนรวมกัน ประมาณ 10%

ไทยขายอะไร:
 สั ด ส่ ว นมู ล ค่ า สิ น ค้ า ส่ ง ออกของไทย
ประกอบด้วยสิน ค้าเกษตรกรรม (กสิก รรม
,ปศุสัตว์ ,ประมง) 11%, สิน ค้าอุตสาหกรรม
การเกษตร 6.8%, สิ น ค้ า แร่ แ ละเชื้ อ เพลิ ง
5.1% และสินค้าอุตสาหกรรม 76.9%
สินค้าส่งออกที่สาคัญ:
 สิ น ค้ า ส่ ง ออกที่ มี มู ล ค่ า สู ง สุ ด ได้ แ ก่
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ร ถ ย น ต์ อั ญ ม ณี แ ล ะ
เครื่ อ งประดั บ นอกจากนี้ ยางพารา เม็ ด
พลาสติก หรือเคมีภัณฑ์
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ระดับ 3

ระดับ 4

ระดับ 5

สินค้าบกพร่อง
เล็ดลอดออกนอก
โรงงาน

สินค้าบกพร่อง
ถูกกัก อยู่ใน
โรงงาน

ลดสินค้า
บกพร่อง

กักสินค้า
บกพร่องให้อยู่
ในกระบวนการ
ผลิต

ไม่ผลิต สินค้า
บกพร่อง

ความผิดพลาด
มากเท่าใด ข้อ
ร้องเรียนมาก
เท่านั้น

ความผิดพลาด
ปล่อยได้แต่อย่า
ให้ถูกร้องเรียน

ความผิดพลาด
ยอมได้ แต่ครั้ง
ต่อไปต้องไม่ทา

ระดับ 1

สภาพ

คาขวัญ

ระดับ 2

ความผิดพลาด
เกิดได้แต่อย่า
ปล่อยออกมา

ความผิดพลาด
เกิดได้แต่อย่า
ให้เกิดของเสีย

5
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 ความตรงต่อข้อกาหนด
 ความทนทาน
 หน้าที่เสริม
 ความเชื่อถือได้

 ชื่อเสียง
 ความสามารถในการบริการ
 สมรรถนะ
 สุนทรียภาพ

(Conformance)
(Durability)
(Features)
(Reliability)
(Reputation)
(Serviceability)
(Performance)
(Aesthetics)

6
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

7
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

1)
2)
3)

ต้องมีมุมมองปัญหา บนแนวคิดคุณภาพ
ดาเนินการแก้ไขปัญหาตามแนวทางของเดมมิ่ง
ใช้เครื่องมือคุณภาพ (7 QC Tools)

8
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ความเข้าใจที่ผิดพลาด

ความเข้าใจที่ถูกต้อง

ของคุณภาพดีตองมีราคาแพง
้

ทางานอย่างมีคุณภาพ ต้นทุนต่าที่สุด

คุณภาพเป็นหน้าที่ของฝ่าย QC

คุณภาพเป็นหน้าที่ของทุกฝ่าย

ถ้าผลิตของเสียมากขึ้น
ต้องเพิ่มการตรวจสอบให้มากขึ้น
คุณภาพดี หมายถึง เกรดสูงกว่า

ถ้าผลิตของเสียมากขึ้น
ควรต้องใส่ใจการผลิตให้มากขึ้น
คุณภาพไม่เกี่ยวกับเกรดของสินค้า

คนงานคือ 80% ของปัญหาคุณภาพ

กว่า 80% ของปัญหาคุณภาพมาจากผู้บริหาร

เครื่องจักรทันสมัย คุณภาพก็มาเอง

คนที่คุณภาพดี ย่อมผลิตของดี

คุณภาพเป็นเรื่องของโชคชะตา

คุณภาพเป็นเรื่องของการจัดการทีดี
่

9
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ลูกค้าภายในแผนก

ลูกค้าภายในองค์กร

ลูกค้า

ลูกค้าภายนอกแผนก
ลูกค้าภายนอกองค์กร

10
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

บริหาร ด้วยข้อมูลจริง (Management by fact)
 แก้ไขปัญหาที่สาเหตุ เน้นการป้องกัน (Preventive action)
 ใช้กรรมวิธีทางสถิติ (Statistical methods)
 ดาเนินการบริหารแบบ PDCA (Plan – Do – Check – Act)
 สร้างระบบเอกสารมาตรฐาน ที่มีการปรับปรุงอย่างสม่าเสมอ


11
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ใบตรวจสอบ
 กราฟ
 ฮิสโตแกรม
 แผนผังพาเรโต
 แผนผังก้างปลา
 แผนผังการกระจาย
 แผนภูมิควบคุม


(Check Sheet)
(Graph)
(Histogram)
(Pareto Diagram)
(Fish Bone Diagram)
(Scatter Diagram)
(Control Chart)

12
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คือ “แบบฟอร์ ม สาหรั บ การบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ซึ่ ง ได้ รั บ การ
ออกแบบเป็นพิเศษ เพื่อการตีความหมายผลการบันทึก
ทันทีที่กรอกแบบฟอร์มดังกล่าวเสร็จสิ้น”
 แบ่งได้ 3 ประเภท


 ใบตรวจสอบแสดงการกระจายข้อมูลการผลิต
 ใบตรวจสอบแสดงรายการข้อบกพร่อง

 ใบตรวจสอบแสดงตาแหน่งข้อบกพร่อง

13
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

14
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

15
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

16
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คือ “แผนภาพที่แสดงถึงตัวเลข ผลการวเคราะห์ทางสถิติ
ซึ่งสามารถทาให้ง่ายต่อการเข้าใจ”
 แบ่งได้ 3 ประเภท


 กราฟเส้น
 กราฟแท่ง
 กราฟวงกลม

17
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่



คือ “กราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัว
โดยมากมักเป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร
ตามกาลเวลา โดยให้แกนนอน แทน เวลา”

18
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่



คือ “กราฟที่ป ระกอบด้วยรู ป สี่เหลี่ย มผืน ผ้ า ใช้ ใ นการ
เปรียบเทียบค่าของข้อมูลตั้งแต่ 2 ตัวแปรขึ้นไป”

19
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่



คือ “กราฟที่ใช้ในการเปรียบเทียบข้อมูลชนิดเดียวกัน ที่
สามารถแบ่งออกเป็นหลายกลุ่ม เพื่อเปรียบเทียบอัตรา
ร้อยละของข้อมูล”

20
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่



คือ “เครื่องมือในการแสดงความถี่ของสิ่งที่เกิดขึ้น โดย
แสดงเป็นกราฟแท่ง ที่มีความกว้างเท่ากันและติดกัน”

21
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ที่ ต้ อ งการวิ เ คราะห์ ใ นปริ ม าณที่
เหมาะสม (โดยทั่วไปไม่ควรต่ากว่า 30 ตัวอย่าง)
 กาหนดจานวนอัตราภาคชั้นที่ต้องการ โดยปกติมักจะอยู่
ในระหว่าง 8–12 ชั้น
 สร้างตารางแจกแจงความถี่ โดยกาหนดค่าของแต่ละช่วง
และนับจานวนข้อมูลในแต่ละชั้น


22
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่



คือ “แผนภาพที่แสดงว่ามูลเหตุใด เป็นมูลเหตุท่ีสาคั ญ
ที่สุดของปัญหา”

23
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เลือกหัวข้อเรื่องที่ต้องการจะศึกษา
 ออกแบบฟอร์ม ในการเก็บข้อมูล
 รวบรวมข้อมูล และคานวณผลรวม


24
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่



แกนตั้ง
 ด้านซ้ายแสดงจานวนของข้อมูล จาก 0 ถึงผลรวมทั้งหมด

 ด้านขวาแสดงอัตราร้อยละ จาก 0% - 100%



แกนนอน แสดงสาเหตุของปัญหา

25
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คือ “แผนภาพที่วเคราะห์สาเหตุ (cause & effect)”
ิ
 สาเหตุหลักและสาเหตุรอง มาจากการระดมสมอง


26
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วัตถุดิบ
 เครื่องจักร
 บุคลากร
 วิธีการทางาน
 สภาพแวดล้อม
 ระบบการตรวจวัด
 ระบบการบริหารจัดการ


(Raw Material)
(Machine)
(Manpower)
(Method)
(Environment)
(Measurement)
(Management)

27
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

28
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่



คือ “แผนภาพที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2
ตัวแปร ว่ามีลักษณะสัมพันธ์เป็นอย่างไร”

29
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คือ “แผนภาพที่ใช้ในการควบคุมกระบวนการผลิต โดย
เป็นการวาดกราฟของสิ่งที่ต้องการควบคุมเทียบกับเวลา”
 เกี่ยวข้องกับ


 ความผันแปร จากสาเหตุธรรมชาติ (Common cause)
 ความผันแปร จากสาเหตุพิเศษ (Special cause)

30
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

31
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

32
เครื่อง WAVE SOLDERING

กระบวนการชุบตะกัวเหลว
่

33
ผลจากการศึกษา
34

 กระบวนการนี้ จ าเป็ น ต้ อ งใช้

Solder Bar
ปริมาณ 24 กิโลกรัมต่อการชุบแผ่น PCB 1,000
แผ่น โดยที่ราคาของ Solder Bar อยู่ที่ ฿1,000
ต่อ kg ทาให้ต้นทุนการใช้ Solder Bar ในปีที่
ผ่านมาสูงถึง ฿32,228,727 จากต้นทุนในการ
ผลิต รวมทั้ง หมด ฿41,918,613 คิดเป็น 77%
ซึ่งสูงกว่าความเป็นจริงมาก
 เมื่อนา Solder Bar ป้อนเข้าเครื่อง Wave
Soldering จะถู ก ความร้ อ นหลอมเหลวที่
อุณ หภูมิ 245 – 255 OC จากนั้น จะใช้เครื่อง
กวน Solder เพื่อกระจายความร้อนให้ ทั่วทั้ง
Solder Bath และจะมีหัว Nozzle ทาหน้าที่ปั้ม
Solder ขึ้นมาสัมผัสกับแผ่น PCB ดังรูป
 เมื่ อ Solder
ที่ ห ลอมเหลวสั ม ผั ส กั บ
ออกซิเจนในอากาศ ทาให้เกิด การออกซิไดซ์
เปลี่ ย นรู ป เป็ น Dross (Tin-Silver Oxides)
กลายเป็ น ของแข็ ง ลอยอยู่ บ น Solder ที่
หลอมเหลว ส่งผลให้ความเข้มข้นของส่วนผสม
ของ Solder เปลี่ยนแปลงไปทาให้ไม่สามารถใช้
ชุบได้ จาเป็นเปลี่ยนหรือเติม Solder Bar เพิ่ม
เข้าไปสม่าเสมอ
ปรับปรุง
การปรับขนาดของ Solder Bath ให้เล็กลง เพื่อลดความ
สูญเสียเนื่องจากปฏิกิริยาออกซิเดชั่น
Solder Bath Before
After
Change
 ลึก
0.3 เมตร
0.2 เมตร
0.1 เมตร
 ความจุ
0.108 ม3
0.072 ม3
0.036 ม3
 ดังนั้นอัตราการเกิด Dross ก็จะลดลง 33.33% โดยประมาณ
 ต้นทุนในการปรับขนาดประมาณ ฿20,000 ต่อเครื่อง
 วิเคราะห์ความคุ้มค่าของโครงการ
 เงินลงทุนสาหรับ 2 เครื่องใน Line B7 เท่ากับ ฿40,000
 ลดอัตราการใช้ Solder Bar ลง 33.33%
 เท่ากับ 32,228,727 x 33.33% = ฿10,741,825 ต่อปี
 ระยะเวลาคืนทุน เท่ากับ 0.004 ปี


35
โครงการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

36

The End
36

Together

Everybody
Achieve
More

More Related Content

What's hot

From quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceFrom quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceAreté Partners
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementTeetut Tresirichod
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
Quality Awareness Training Material
Quality Awareness Training MaterialQuality Awareness Training Material
Quality Awareness Training MaterialNukool Thanuanram
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมRonnarit Junsiri
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1Prachyanun Nilsook
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Krishna Rama
 
Kaizen วัตถุดิบ
Kaizen   วัตถุดิบKaizen   วัตถุดิบ
Kaizen วัตถุดิบViam Manufacturing
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )Sireetorn Buanak
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)Suntichai Inthornon
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกVisiene Lssbh
 

What's hot (20)

From quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceFrom quality management to performance excellence
From quality management to performance excellence
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
Quality Awareness Training Material
Quality Awareness Training MaterialQuality Awareness Training Material
Quality Awareness Training Material
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
Lean 1
Lean 1Lean 1
Lean 1
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
Kaizen วัตถุดิบ
Kaizen   วัตถุดิบKaizen   วัตถุดิบ
Kaizen วัตถุดิบ
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
 

Similar to แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต

Mechanical Engineering QA vs PA Alignment
Mechanical Engineering QA vs PA AlignmentMechanical Engineering QA vs PA Alignment
Mechanical Engineering QA vs PA AlignmentSarawoot Watechagit
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...AmIndy Thirawut
 
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการkulachai
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยPunyapon Tepprasit
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมงานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้napatporn
 
วิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมวิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
ไวนิล
ไวนิลไวนิล
ไวนิลfatinsani
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพอัยเหี้ยม ยัยห้อย
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพอัยเหี้ยม ยัยห้อย
 
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยางานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยาSorayatan
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลาkullasab
 

Similar to แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต (20)

Mechanical Engineering QA vs PA Alignment
Mechanical Engineering QA vs PA AlignmentMechanical Engineering QA vs PA Alignment
Mechanical Engineering QA vs PA Alignment
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
Qc1
Qc1Qc1
Qc1
 
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการนิสิตระดับบัณฑิต...
 
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมงานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
 
Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
วิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมวิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรม
 
Strategy Map K
Strategy Map KStrategy Map K
Strategy Map K
 
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
 
ไวนิล
ไวนิลไวนิล
ไวนิล
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
L1
L1L1
L1
 
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยางานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 

แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต