SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
คำำอธิบำยรำยวิชำ ว 30104
รำยวิชำ โลก ดำรำศำสตร์ และอวกำศ
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๔ รหัสวิชำ ว 30104
เวลำ 40 ชั่วโมง จำำนวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษำ วิเครำะห์ โครงสร้ำงของโลก แผ่นเปลือกโลก กำรเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกและผลของกำร
เคลื่อนที่ กระบวนกำรเกิดภูเขำ รอยเลื่อน รอยคดโค้ง ปรำกฏกำรณ์ทำงธรณีวิทยำเกี่ยวกับแผ่นดินไหว
ภูเขำไฟระเบิดและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม กำรหำอำยุหิน กำรลำำดับชั้นหิน ลักษณะและอำยุ
ของซำกดึกดำำบรรพ์ และโครงสร้ำงทำงธรณีวิทยำ เพื่ออธิบำยประวัติควำมเป็นมำของพื้นที่ และกำรใช้
ประโยชน์จำกข้อมูลทำงธรณีวิทยำ กำรเกิดและวิวัฒนำกำรของระบบสุริยะ กำแล็กซีและเอกภพ ธรรมชำติ
และวัฒนำกำรของดำวฤกษ์ กำรส่งและกำรคำำนวณควำมเร็วในกำรโคจรของดำวเทียมรอบโลก กำรใช้
ประโยชน์ด้ำนต่ำงๆ จำกดำวเทียม กำรส่งและกำรสำำรวจอวกำศโดยใช้ยำนอวกำศและสถำนีอวกำศ
โดยใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ กระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรสำำรวจตรวจสอบ กำรสังเกต
กำรสืบค้นข้อมูล กำรอภิปรำย สรุป
เพื่อให้เกิดควำมรู้ ควำมคิด ควำมเข้ำใจ สื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้ มีควำมสำมำรถในกำรตัดสินใจ นำำควำมรู้
ไปใช้ในชีวิต มีจิตวิทยำศำสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่ำนิยมที่เหมำะสม
ตัวชี้วัด
ว 6.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/5 ม. 4-6/6
ว 7.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2
ว 7.2 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3
ว 8.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/5 ม. 4-6/6 ม. 4-
6/7
ม. 4-6/8 ม. 4-6/9 ม. 4-6/10 ม. 4-6/11 ม. 4-6/12
รวม 23 ตัวชี้วัด
หน่วยกำรเรียนรู้
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รหัสวิชำ ว 30104 รำยวิชำ โลกและอวกำศ
พื้นฐำน
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ภำคเรียนที่ 1 เวลำ 2 ชั่วโมง/สัปดำห์ จำำนวน 1.0
หน่วยกิต
อัตรำส่วนคะแนน มฐ. /ตัวชี้วัด : คะแนนกำรทดสอบกลำงภำคและปลำยภำค = ๗๐:๓๐
กรอบกำรวัด-ประเมินผล คะแนนเต็ม
คะแนน มฐ./ตัวชี้วัด ๗๐
คะแนนกลำงภำค ๑๕
คะแนนปลำยภำค ๑๕
รวมคะแนนทั้งหมด ๑๐๐
ลำำดับที่ ชื่อหน่วยกำรเรียน
เวลำ
(ชั่วโมง)
นำ้ำหนัก
คะแนน
1 โลกและกำรเปลี่ยนแปลง
- กำำเนิดโลก
- โครงสร้ำงของโลก
- กำรเปลี่ยนแปลงทำงธรณีภำคของ
โลก
- กำรเกิดแผ่นดินไหว ภูเขำไฟ
ระเบิด
10 25
2 กำรศึกษำเกี่ยวกับโลก
- โครงสร้ำงทำงธรณีวิทยำ
- กำรวำงตัวของชั้นหินและกำร
ลำำดับชั้นหิน
- ซำกดึกดำำบรรพ์ อำยุของหิน
- ตำรำงธรณีกำล
10 25
3 เอกภพ กำแล็กซี และระบบสุริยะ
- กำรเกิดวิวัฒนำกำรของเอกภพ
แกแลคซี่ และระบบสุริยะ
- องค์ประกอบและชนิดของแกแลคซี่
4 10
4 ดำวฤกษ์
- กำำเนิดดำวฤกษ์ และโครงสร้ำง
ของดำวฤกษ์
- อันดับควำมสว่ำงและสีของ
ดำวฤกษ์
8 20
- อำยุของดำวฤกษ์
5 เทคโนโลยีสำำรวจอวกำศ
- ดำวเทียม
- ชนิดของดำวเทียม
- กำรเคลื่อนที่ของดำวเทียมและกำร
ส่งดำวเทียมสู่อวกำศ
- ประโยชน์ของดำวเทียม
- กำรสำำรวจอวกำศ
- ภำรกิจในกำรสำำรวจอวกำศ
- ประโยชน์ของกำรสำำรวจอวกำศ
8 20
สำระที่ ๗ ดำรำศำสตร์และอวกำศ
มำตรฐำน ว ๗. ๑ เข้ำใจวิวัฒนำกำรของระบบสุริยะ กำแล็กซีและเอกภพ กำรปฏิสัมพันธ์ภำยใน
ระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลกมีกระบวนกำรสืบเสำะ หำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์
กำรสื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้และนำำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์
ชั้น ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง
ม.๔-ม.๖ ๑. สืบค้นและอธิบำยกำร
เกิดและวิวัฒนำกำรของ
ระบบสุริยะ กำแล็กซี และ
เอกภพ
-เอกภพกำำเนิด ณ จุดที่เรียกว่ำบิกแบง เป็น จุดที่
พลังงำน
เริ่มเปลี่ยนเป็นสสำร เกิดเป็นอนุภำค ควำร์ก
อิเล็กตรอน
นิวทริโน พร้อมปฏิอนุภำค เมื่ออุณหภูมิของเอกภพ
ลดตำ่ำลง ควำร์กจะรวมตัวกันเป็นอนุภำคพื้นฐำน คือ
โปรตรอน
และนิวตรอน ต่อมำโปรตรอนและนิวตรอนรวมตัวกัน
เป็น
นิวเคลียสของฮีเลียม และเกิดเป็นอะตอมของไฮโดรเจน
และ
ฮีเลียม อะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม ซึ่งเป็นองค์
ประกอบ
ส่วนใหญ่ของเนบิวลำดั้งเดิม เนบิวลำดั้งเดิมกระจำยอยู่
เป็น
หย่อมๆกลำยเป็นกำแล็กซี่ ภำยในกำแล็กซี่ เกิดเป็น
ดำวฤกษ์
ระบบดำวฤกษ์
๒. สืบค้นและอธิบำย
ธรรมชำติและวัฒนำกำร
ของดำวฤกษ์์
-ดำวฤกษ์ เป็นก้อนแกสร้อนขนำดใหญ่ กำำเนิดมำ
จำกเนบิวลำ ที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นธำตุ
ไฮโดรเจน
ที่แก่นกลำงของ ดำวฤกษ์จะเกิดปฏิกิริยำเทอร์โม
นิวเคลียร์หลอมนิวเคลียสของไฮโดรเจนเป็น นิวเคลียส
ของ
ฮีเลียม ได้พลังงำนออกมำ
-อันดับควำมสว่ำงของดำวฤกษ์ที่สังเกตเห็นได้มำ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
จาก ความสวางปรากฏที่ขึ้นอยูกับความสวางจริงและ
ระยะ
หางจากโลก
-สีของดาวฤกษมีความสัมพันธกับอุณหภูมิผิวของ
ดาวฤกษและอายุของดาวฤกษ
-ดาวฤกษมีอายุยาวหรือสั้น มีจุดจบเปนหลุมดํา หรือ
ดาวนิวตรอน หรือดาวแคระขาว ขึ้นอยูกับมวลของ
ดาว ฤกษ
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก ดาราศาสตร และอวกาศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เวลา 40 ชั่วโมง
หนวยการเรียนรู้ แผนการจัด
การเรียนรู้
วิธีสอน / กระบวนการจัด
การเรียนรู้
ทักษะการคิด เวลา
(ชั่วโมง
)
หนวยการเรียนรู้
ที่ 3
เอกภพ กาแล็กซี
และระบบสุริยะ
1. เอกภพ - วิธีสอนโดยการจัดการ
เรียนรู้
แบบรวมมือ : เทคนิค
การจัดทีมแขงขัน
(TGT)
1. ทักษะการคิด
วิเคราะห
2. ทักษะการคิด
สร้างสรรค
1
2. ระบบสุริยะ 1. วิธีสอนโดยการจัดการ
เรียนรู้
แบบรวมมือ : เทคนิค
เลาเรื่อง
รอบวง
2. วิธีสอนโดยการจัดการ
เรียนรู้
แบบรวมมือ : เทคนิค
คูคิด
1. ทักษะการคิด
วิเคราะห
2. ทักษะการคิด
สร้างสรรค
2
จุดประสงคการเรียนรู้ ว 30104
15. บอกลําดับการเกิดเอกภพ ระบบสุริยะ ได้
16. บอกวิวัฒนาการของเอกภพและระบบสุริยะได้
17. อภิปรายเกี่ยวกับระบบสุริยะและพัฒนาการที่เกิดขึ้นของระบบสุริยะได้
หนวยการเรียนรู้ที่ 3 เอกภพ ดาวฤกษ และระบบสุริยะ
ตอนที่ 1 เอกภพ กาแล็กซี
กิจกรรมที่ 15 สืบค้นข้อมูลความสําคัญของการศึกษาดาราศาสตร
จุดประสงคของกิจกรรม
อภิปรายและนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับความสําคัญของการศึกษาดาราศาสตร
ปัญหา สิ่งมีชีวิตและการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลกเกี่ยวข้องกับดาราศาสตรในด้านใดบ้าง
ขั้นตอน
ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจ
ที่คงทน
1. การสืบค้นข้อมูล
2. การลงความคิดเห็นข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและลง
ข้อสรุป
4. การจัดกระทําและสื่อความ
หมายข้อมูล
แหลงการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หนังสืออ้างอิง
1. ทําการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลในหัวข้อ “ดาราศาสตรมีความสําคัญและสงผลตอสิ่งมีชีวิตและ
การดํารงชีวิตของมนุษยบนโลกในด้านใดบ้าง”
2. นําข้อมูลที่สืบค้นได้จากข้อ 1 มาเขียนเปนผังมโนทัศน (concept map)
3. รวมกันอภิปรายลงข้อสรุปและนําเสนอผลการอภิปรายและข้อสรุปของกลุมหน้าชั้นเรียนและ/หรือ
จัดทําเปนรายงาน
หมายเหตุ ครูอาจให้นักเรียนแตละคนนําหัวข้อ
ที่ได้จากผังมโนทัศนมาเขียนเรียงความเปนการบ้าน
โดยใช้ความรู้และจินตนาการของตนเองประกอบ
จากนั้นนํามาเสนอและแลกเปลี่ยนกับเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน
บันทึกผลการสืบค้นข้อมูล
สรุปผล
พิจารณาจากคําตอบนักเรียน
แนวคําตอบ
จากผังมโนทัศน (concept map) ที่นักเรียนรวมกันเขียนควรสรุปความสําคัญของดาราศาสตร
ตามประเด็นตอไปนี้
1) สามารถใช้กําหนดทิศบนโลกเพื่อประโยชนในการนําทาง
2) สามารถใช้กําหนดเวลาบนโลก และใช้ในการทําปฏิทินทั้งทางจันทรคติและสุริยคติ
3) เพื่อให้มนุษยสามารถปรับสภาวะการดําเนินชีวิตให้เหมาะสมกับฤดูกาล
4) นําความรู้ที่ได้จากการศึกษาด้านนี้มาอธิบายปรากฏการณตาง ๆ บนโลก เชน การเกิด
สเปกตรัมของแสง การเกิดปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียร
5) ชวยขยายความรู้ของมนุษยเกี่ยวกับกําเนิดของโลกและตัวเรา
คําถามประกอบกิจกรรม
1. มนุษยเริ่มศึกษาเกี่ยวกับดาราศาสตรเมื่อใด เริ่มศึกษาตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร
2. ดาราศาสตรเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับอะไร ศึกษาเกี่ยวกับเอกภพ เทหวัตถุตาง ๆ บนท้องฟ้า โลกที่
เราอาศัยอยู ปรากฏการณตาง ๆ
รายการบันทึกผลการสืบค้นข้อมูล
วันที่.........เดือน....................พ.ศ...........
พิจารณาจากคําตอบนักเรียน
ที่เกิดขึ้นบนเอกภพ และเทคโนโลยีอวกาศ
3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใดที่เปนจุดเริ่มต้นให้มนุษยเริ่มสนใจดวงดาวบนท้องฟ้า ทักษะ
การสังเกต
4. การศึกษาดาราศาสตรในอดีตเกี่ยวข้องกับอะไร ศาสนาและเทพนิยาย
5. ดาราศาสตรมีความสําคัญตอมนุษยด้านใดบ้าง พิจารณาจากคําตอบนักเรียน
แนวคําตอบ มีความสําคัญตอการกําหนดทิศทางบนโลก การกําหนดเวลาและฤดูกาล ชวยให้มนุษยปรับวิถี
การดํารงชีวิตให้สอดคล้องกับฤดูกาลตาง ๆ
กิจกรรมที่ 16 สร้างแบบจําลองเอกภพขยายตัว
จุดประสงคของกิจกรรม
สร้างและอธิบายแบบจําลองการขยายตัวของเอกภพได้
ปัญหา เอกภพขยายตัวในลักษณะใด
ขั้นตอน
1. นําลูกโป่งที่เตรียมไว้มาเป่าจนมีขนาดใหญพอสมควร จากนั้นใช้ยางรัด รัดไมให้ลมออกจากลูกโป่ง
2. ใช้สายวัดทําการวัดขนาดเส้นผานศูนยกลางของลูกโป่ง
3. นําปากกาเคมีสีดําทําจุดขนาดใหญพอประมาณให้ทั่วผิวลูกโป่ง ดังรูป
4. ใช้ปากกาเคมีสีแดงทําวงกลมล้อมรอบจุดจุดหนึ่งไว้ จากนั้นเลือกจุด 6 จุด ที่อยูใกล้และไกลจากจุดที่ทํา
วงกลมไว้ พร้อมทั้งเขียนเลข 1–6 กํากับไว้ ดังรูป
5. วัดระยะทางจากจุดที่เลือกทั้ง 6 จุด ถึงจุดที่ได้ทําวงกลมล้อมรอบไว้ แล้วบันทึกระยะทางที่ได้ลงใน
คอลัมนที่ 2 ของตารางบันทึกผล
6. แกะยางรัดลูกโป่งออก แล้วทําการเป่าจนกระทั่งลูกโป่งมีเส้นผานศูนยกลางประมาณ 2 เทาของลูกโป่งที่
เป่าครั้งแรก จากนั้นใช้ยางรัดลูกโป่งให้แนน
7. วัดระยะทางจากจุดที่เลือกทั้ง 6 จุดถึงจุดที่ได้ทําวงกลมล้อมรอบไว้อีกครั้งหนึ่ง แล้วบันทึกระยะทางที่ได้
ลงในคอลัมนที่ 3 ของตารางบันทึกผล
8. นําคาระยะทางในคอลัมนที่ 3 ตั้ง แล้วลบด้วยระยะทางในคอลัมนที่ 2 จากนั้นบันทึกผลลงในคอลัมนที่ 4
ของตารางบันทึกผล
9. นําคาระยะทางในคอลัมนที่ 3 ตั้ง แล้วหารด้วยระยะทางในคอลัมนที่ 2 จากนั้นบันทึกผลลงในคอลัมนที่
5 ของตารางบันทึกผล
บันทึกผลการสร้างแบบจําลอง
จุด
ที่
ระยะทาง
เริ่มแรก
ระยะทางหลัง
จาก
ลูกโป่งขยายตัว
ระยะทางที่
เปลี่ยนแปลง
ปัจจัยที่เปนผล
เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงระยะทาง
1 4.2 8.4 4.2 2
2 3.1 6.2 3.1 2
3 4.3 8.6 4.3 2
4 6.2 12.4 6.2 2
5 2.1 4.2 2.1 2
6 7.2 14.4 7.2 2
ทักษะสร้างเสริมความ
เข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การลงความคิดเห็นข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและ
ลงข้อสรุป
4. การจัดกระทําและสื่อความ
หมายข้อมูล
อุปกรณ
1. ลูกโป่งสีขาว
1 ใบ
ทักษะสร้างเสริมความ
เข้าใจที่คงทน
1. การสืบค้นข้อมูล
2. การลงความคิดเห็นข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูล
และลงข้อสรุป
4. การจัดกระทำาและสื่อความ
หมายข้อมูล
แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หนังสือ
สรุปผล
ระยะทางที่เปลี่ยนแปลงของกาแล็กซี (ระยะห่างจากจุดอ้างอิงถึงจุดที่เลือกไว้ 6 จุด) ไม่ขึ้นอยู่
กับความใกล้–ไกลของกาแลกซีกับระยะทางเริ่มแรก แสดงว่าไม่มีปัจจัยที่ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ของระยะห่าง เนื่องจากค่าที่ได้เป็นค่าคงที่ (ระยะทางที่เปลี่ยนแปลงลบด้วยระยะทางเริ่มแรก)
คำาถามประกอบกิจกรรม
1. กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสาธิตเกี่ยวกับการขยายตัว
ของเอกภพได้
2. นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ที่ใช้ลูกโป่งแทนเอกภพ เพราะเหตุใด พิจารณาจากคำาตอบนักเรียน
3. วัตถุประสงค์ของการกำาหนดจุดอ้างอิง (จุดที่ใช้ปากกาเคมีสีแดงทำาวงกลมล้อมรอบ) และการเลือกจุดต่าง
ๆ บนลูกโป่งอีก 6 จุด คืออะไร
เพื่อใช้จุดเหล่านี้เป็นเป้าหมายของการสังเกตขณะที่เป่าลูกโป่งให้ขยายตัว
4. ถ้ากำาหนดให้ลูกโป่งที่เป่าลมแทนการขยายตัวของเอกภพแล้ว ระยะทางที่เปลี่ยนแปลงของกาแล็กซีต่าง ๆ
ขึ้นอยู่กับความใกล้–ไกลของกาแล็กซีกับระยะทางเริ่มแรกหรือไม่ เพราะเหตุใด (เปรียบเทียบระยะทางใน
คอลัมน์ที่ 2 กับ 4) ระยะทางที่เปลี่ยนแปลงไปเท่ากับระยะทางเริ่มแรกของจุดแต่ละจุด
5. ปัจจัยที่เป็นผลเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงระยะทางขึ้นอยู่กับความใกล้–ไกลของกาแล็กซีกับระยะทางเริ่ม
แรกหรือไม่ เพราะเหตุใด
(เปรียบเทียบระยะทางในคอลัมน์ที่ 2 กับ 5) ปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงไม่ขึ้นอยู่กับระยะทางเริ่มแรก แต่
จะมีค่าคงที่
กิจกรรมที่ 17 สืบค้นข้อมูลอิทธิพลของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลก
และระบบสุริยะ
จุดประสงค์ของกิจกรรม
สืบค้นและอธิบายข้อมูลเกี่ยวกับอิทธิพลของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลกและ
ระบบสุริยะได้
ปัญหา ดวงอาทิตย์มีอิทธิพลต่อโลกและระบบสุริยะในลักษณะใด
ขั้นตอน
1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับอิทธิพลของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลกและ
ระบบสุริยะในประเด็นต่อไปนี้
1) ดวงอาทิตย์ที่เรารู้จัก (กำาเนิดและวิวัฒนาการของดวงอาทิตย์
ความเป็นดาวฤกษ์ สิ่งที่ประกอบกันเป็นดวงอาทิตย์)
2) ผลกระทบของพลังงานจากดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลก
3) ผลกระทบของพลังงานจากดวงอาทิตย์ที่มีต่อดาวเคราะห์และเทหวัตถุในระบบสุริยะ
2. นำาข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาอภิปรายร่วมกัน นำาเสนอในรูปของรายงาน และจัดทำาป้าย
นิเทศแสดงผลงานของกลุ่ม
บันทึกผลการสืบค้นข้อมูล
รายการบันทึกผลการสืบค้นข้อมูล
วันที่.........เดือน....................พ.ศ...........
พิจารณาจากคำาตอบนักเรียน
สรุปผล
ดวงอาทิตย์ที่เรารู้จัก
ดวงอาทิตย์เป็นวัตถุทรงกลมใหญ่ซึ่งร้อนจัด เป็นไอและแก๊ส มีความร้อนและแสงสว่างเกิดขึ้น
ภายในใจกลาง แล้วถ่ายทอดออกมาสู่พื้นผิวและแผ่กระจายออกสู่ที่ว่างโดยรอบ ถ้าเราเดินทางโดย
ยานอวกาศห่างออกไปจากดวงอาทิตย์จะเห็นดวงอาทิตย์ลดขนาดเล็กลงเรื่อย ๆ จนในที่สุดจะปรากฏ
เพียงจุดสว่างเช่นเดียวกับดาวฤกษ์ที่ปรากฏอยู่เต็มท้องฟ้า
ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากโลกโดยเฉลี่ย 149.6 ล้านกิโลเมตร แต่มีขนาดใหญ่โตกว่าโลกมาก ข้อมูล
เกี่ยวกับดวงอาทิตย์ที่สำาคัญ มีดังนี้
ข้อมูล ปริมาณที่วัดได้
มวล 1.99 ×1030
กิโลเมตร
รัศมี 6.96 ×105
กิโลเมตร
ความหนาแน่นเฉลี่ย 1,410 กิโลเมตร/ลูกบาศก์เมตร
อัตราการปลดปล่อยรังสี 3.90 ×1026
จูล/วินาที
อุณหภูมิที่พื้นผิว 5,800 เคลวิน
อุณหภูมิ ณ ใจกลาง 15.5 ×106
เคลวิน
คาบเวลาการหมุนรอบตัวเอง 25 วัน
ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยแก๊สไฮโดรเจน เมื่ออะตอมของไฮโดรเจนรวมตัวกันจะกลายเป็นอะตอมของ
ธาตุฮีเลียมในปฏิกิริยาที่เรียกว่า ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ มวลสารของไฮโดรเจน 1 กรัม จะสูญหายไป
0.007 กรัม โดยการแปรรูปเป็นพลังงานจะได้พลังงานเท่ากับ 0.007 ×(3 ×1010
) 2
เอิร์ก/ทุก ๆ 1 กรัม
ของไฮโดรเจนที่เข้าทำาปฏิกิริยา พลังงานดังกล่าวเป็นพลังงานปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันของแก๊สไฮโดรเจน
ซึ่งจะแผ่พลังงานมายังโลก การที่โลกอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร ทำาให้โลกได้รับ
พลังงานจากดวงอาทิตย์น้อยเมื่อเทียบกับพลังงานที่ดวงอาทิตย์ปลดปล่อยออกมา
นักวิทยาศาสตร์พบว่าโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี ทำาให้ระยะห่างจากดวงอาทิตย์กับโลก
มีการเปลี่ยนแปลงได้ พลังงานที่โลกได้รับมีค่าสูงสุดประมาณ 1,400 วัตต์/ตารางเมตร ในช่วงเดือน
ธันวาคมและมกราคม และมีค่าตำ่าสุดเท่ากับ 1,305 วัตต์/ตารางเมตร ในช่วงเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม
แต่โดยเฉลี่ยแล้วโลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์เท่ากับ 1,353 วัตต์/ตารางเมตร
ซึ่งคิดเป็น 1/2,200,000,000 ของพลังงานทั้งหมดที่ดวงอาทิตย์เปล่งออกมา ทั้งนี้นอกจากระยะทาง
ที่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์มากแล้ว บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกไว้ยังดูดกลืนพลังงานบางส่วนที่ส่งมาจาก
ดวงอาทิตย์อีกด้วย
แม้ว่าโลกจะได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ในปริมาณที่น้อยมากเมื่อเทียบกับปริมาณของ
พลังงานที่ดวงอาทิตย์ปลดปล่อยออกมา แต่พลังงานทั้งหมดที่โลกได้รับนั้น ก็มีผลทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมต่าง ๆ บนโลกได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ปรากฏการณ์ที่แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของพลังงาน
จากดวงอาทิตย์ต่อสิ่งแวดล้อมที่เห็นได้ชัดเจน เช่น วัฏจักรของนำ้า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การ
เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก และการไหลเวียนของกระแสนำ้าในมหาสมุทร
คำาถามประกอบกิจกรรม
1. การที่กล่าวว่า “ดวงอาทิตย์มีความสำาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทั้งมวลบนโลก” นักเรียนคิดว่าเนื่องมาจากเหตุผลใด
เนื่องจากดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำาเนิดพลังงานที่สำาคัญของโลก สิ่งมีชีวิตทั้งมวลบนโลกจะต้องอาศัย
ดวงอาทิตย์เพื่อการดำารงชีวิต ดวงอาทิตย์จะให้แสงสว่าง ความร้อน และพลังงานอื่น ๆ แก่โลก ช่วยทำาให้สิ่ง
มีชีวิตเกิดความอบอุ่น ช่วยในการปรุงอาหารของพืช และทำาให้เกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางธรรมชาติที่มี
อิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิต
2. ถ้าโลกสามารถควบคุมอุณหภูมิบนโลกไม่ให้สูงกว่าปกติได้ จะเกิดผลอะไรต่อโลกบ้าง
ทำาให้โลกเกิดความอบอุ่นพอเหมาะต่อการดำารงชีวิต เกิดความสมดุลทางธรรมชาติ ทำาให้
สิ่งมีชีวิตดำารงชีวิตอยู่ได้เป็นเวลานาน
3. อะไรคือสาเหตุที่ทำาให้โลกไม่สามารถส่งพลังงานจากดวงอาทิตย์กลับคืนออกไปนอกโลกได้
การเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก อันเนื่องมาจากมีแก๊สบางชนิด เช่น
คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกระบวนการเผาไหม้ หรือกระบวนการผลิตทางเคมีจะถูกปลดปล่อยออกสู่
บรรยากาศผิวโลกและเกิดการสะสมอยู่ในบรรยากาศที่ทำาหน้าที่ถ่ายเทพลังงาน ซึ่งแก๊สดังกล่าวมีสมบัติใน
การเก็บกักความร้อน จึงทำาให้กระบวนการถ่ายเทพลังงานโดยเฉพาะการสะท้อนกลับของพลังงานสู่
บรรยากาศภายนอกลดลง
4. สิ่งที่ทำาให้ดาวเคราะห์และเทหวัตถุในระบบสุริยะอยู่ในระบบสุริยะได้คืออะไร อธิบายเหตุผล
ประกอบ
พิจารณาจากคำาตอบนักเรียน
5. นักเรียนคิดว่าพลังงานจากดวงอาทิตย์ส่งผลกระทบต่อดาวเคราะห์ที่อยู่ในระบบสุริยะในลักษณะใด
อธิบายเหตุผลประกอบ
พิจารณาจากคำาตอบนักเรียน
การเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก อันเนื่องมาจากมีแก๊สบางชนิด เช่น
คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกระบวนการเผาไหม้ หรือกระบวนการผลิตทางเคมีจะถูกปลดปล่อยออกสู่
บรรยากาศผิวโลกและเกิดการสะสมอยู่ในบรรยากาศที่ทำาหน้าที่ถ่ายเทพลังงาน ซึ่งแก๊สดังกล่าวมีสมบัติใน
การเก็บกักความร้อน จึงทำาให้กระบวนการถ่ายเทพลังงานโดยเฉพาะการสะท้อนกลับของพลังงานสู่
บรรยากาศภายนอกลดลง
4. สิ่งที่ทำาให้ดาวเคราะห์และเทหวัตถุในระบบสุริยะอยู่ในระบบสุริยะได้คืออะไร อธิบายเหตุผล
ประกอบ
พิจารณาจากคำาตอบนักเรียน
5. นักเรียนคิดว่าพลังงานจากดวงอาทิตย์ส่งผลกระทบต่อดาวเคราะห์ที่อยู่ในระบบสุริยะในลักษณะใด
อธิบายเหตุผลประกอบ
พิจารณาจากคำาตอบนักเรียน

More Related Content

What's hot

กำหนดการจัดการเรียนรู้
กำหนดการจัดการเรียนรู้กำหนดการจัดการเรียนรู้
กำหนดการจัดการเรียนรู้guest9fcc72
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51Weerachat Martluplao
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓Wijitta DevilTeacher
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์koorimkhong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์Mam Chongruk
 

What's hot (20)

หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้
กำหนดการจัดการเรียนรู้กำหนดการจัดการเรียนรู้
กำหนดการจัดการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 
1
11
1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
ป.4
ป.4ป.4
ป.4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 

Viewers also liked

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะKook Su-Ja
 
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกเรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกKobwit Piriyawat
 
เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาคเรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาคKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิเรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหวเรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหวKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟเรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟKobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (10)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
 
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
 
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกเรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5
 
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาคเรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
 
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
 
เรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิเรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิ
 
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหวเรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
 
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟเรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
 

Similar to เอกภพ111

ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายFaris Singhasena
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานKobwit Piriyawat
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานKobwit Piriyawat
 
บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม  เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก  บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม  เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก Maikeed Tawun
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 

Similar to เอกภพ111 (20)

แนวข้อสอบประมวล Radompon
แนวข้อสอบประมวล Radomponแนวข้อสอบประมวล Radompon
แนวข้อสอบประมวล Radompon
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
Astroplan17
Astroplan17Astroplan17
Astroplan17
 
Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
 
บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม  เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก  บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม  เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 

More from Marnburapa รักในหลวง

More from Marnburapa รักในหลวง (15)

Microsoft word กิจกรรม nasa exercise
Microsoft word   กิจกรรม nasa  exerciseMicrosoft word   กิจกรรม nasa  exercise
Microsoft word กิจกรรม nasa exercise
 
Microsoft word ระบบสุริยะ
Microsoft word   ระบบสุริยะMicrosoft word   ระบบสุริยะ
Microsoft word ระบบสุริยะ
 
Microsoft word แผนเอกภพ
Microsoft word   แผนเอกภพMicrosoft word   แผนเอกภพ
Microsoft word แผนเอกภพ
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
 
เอกภพ111
เอกภพ111เอกภพ111
เอกภพ111
 
เอกภพ111
เอกภพ111เอกภพ111
เอกภพ111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียนแบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
 
ทดสอบก่อนเรียน
ทดสอบก่อนเรียนทดสอบก่อนเรียน
ทดสอบก่อนเรียน
 
ว23101 เรื่องของไฟฟ้า
ว23101 เรื่องของไฟฟ้าว23101 เรื่องของไฟฟ้า
ว23101 เรื่องของไฟฟ้า
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 

เอกภพ111

  • 1. คำำอธิบำยรำยวิชำ ว 30104 รำยวิชำ โลก ดำรำศำสตร์ และอวกำศ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๔ รหัสวิชำ ว 30104 เวลำ 40 ชั่วโมง จำำนวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษำ วิเครำะห์ โครงสร้ำงของโลก แผ่นเปลือกโลก กำรเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกและผลของกำร เคลื่อนที่ กระบวนกำรเกิดภูเขำ รอยเลื่อน รอยคดโค้ง ปรำกฏกำรณ์ทำงธรณีวิทยำเกี่ยวกับแผ่นดินไหว ภูเขำไฟระเบิดและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม กำรหำอำยุหิน กำรลำำดับชั้นหิน ลักษณะและอำยุ ของซำกดึกดำำบรรพ์ และโครงสร้ำงทำงธรณีวิทยำ เพื่ออธิบำยประวัติควำมเป็นมำของพื้นที่ และกำรใช้ ประโยชน์จำกข้อมูลทำงธรณีวิทยำ กำรเกิดและวิวัฒนำกำรของระบบสุริยะ กำแล็กซีและเอกภพ ธรรมชำติ และวัฒนำกำรของดำวฤกษ์ กำรส่งและกำรคำำนวณควำมเร็วในกำรโคจรของดำวเทียมรอบโลก กำรใช้ ประโยชน์ด้ำนต่ำงๆ จำกดำวเทียม กำรส่งและกำรสำำรวจอวกำศโดยใช้ยำนอวกำศและสถำนีอวกำศ โดยใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ กระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรสำำรวจตรวจสอบ กำรสังเกต กำรสืบค้นข้อมูล กำรอภิปรำย สรุป เพื่อให้เกิดควำมรู้ ควำมคิด ควำมเข้ำใจ สื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้ มีควำมสำมำรถในกำรตัดสินใจ นำำควำมรู้ ไปใช้ในชีวิต มีจิตวิทยำศำสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่ำนิยมที่เหมำะสม ตัวชี้วัด ว 6.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/5 ม. 4-6/6 ว 7.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ว 7.2 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ว 8.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/5 ม. 4-6/6 ม. 4- 6/7 ม. 4-6/8 ม. 4-6/9 ม. 4-6/10 ม. 4-6/11 ม. 4-6/12 รวม 23 ตัวชี้วัด หน่วยกำรเรียนรู้
  • 2. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ รหัสวิชำ ว 30104 รำยวิชำ โลกและอวกำศ พื้นฐำน ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ภำคเรียนที่ 1 เวลำ 2 ชั่วโมง/สัปดำห์ จำำนวน 1.0 หน่วยกิต อัตรำส่วนคะแนน มฐ. /ตัวชี้วัด : คะแนนกำรทดสอบกลำงภำคและปลำยภำค = ๗๐:๓๐ กรอบกำรวัด-ประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนน มฐ./ตัวชี้วัด ๗๐ คะแนนกลำงภำค ๑๕ คะแนนปลำยภำค ๑๕ รวมคะแนนทั้งหมด ๑๐๐ ลำำดับที่ ชื่อหน่วยกำรเรียน เวลำ (ชั่วโมง) นำ้ำหนัก คะแนน 1 โลกและกำรเปลี่ยนแปลง - กำำเนิดโลก - โครงสร้ำงของโลก - กำรเปลี่ยนแปลงทำงธรณีภำคของ โลก - กำรเกิดแผ่นดินไหว ภูเขำไฟ ระเบิด 10 25 2 กำรศึกษำเกี่ยวกับโลก - โครงสร้ำงทำงธรณีวิทยำ - กำรวำงตัวของชั้นหินและกำร ลำำดับชั้นหิน - ซำกดึกดำำบรรพ์ อำยุของหิน - ตำรำงธรณีกำล 10 25 3 เอกภพ กำแล็กซี และระบบสุริยะ - กำรเกิดวิวัฒนำกำรของเอกภพ แกแลคซี่ และระบบสุริยะ - องค์ประกอบและชนิดของแกแลคซี่ 4 10 4 ดำวฤกษ์ - กำำเนิดดำวฤกษ์ และโครงสร้ำง ของดำวฤกษ์ - อันดับควำมสว่ำงและสีของ ดำวฤกษ์ 8 20
  • 3. - อำยุของดำวฤกษ์ 5 เทคโนโลยีสำำรวจอวกำศ - ดำวเทียม - ชนิดของดำวเทียม - กำรเคลื่อนที่ของดำวเทียมและกำร ส่งดำวเทียมสู่อวกำศ - ประโยชน์ของดำวเทียม - กำรสำำรวจอวกำศ - ภำรกิจในกำรสำำรวจอวกำศ - ประโยชน์ของกำรสำำรวจอวกำศ 8 20 สำระที่ ๗ ดำรำศำสตร์และอวกำศ มำตรฐำน ว ๗. ๑ เข้ำใจวิวัฒนำกำรของระบบสุริยะ กำแล็กซีและเอกภพ กำรปฏิสัมพันธ์ภำยใน ระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลกมีกระบวนกำรสืบเสำะ หำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์ กำรสื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้และนำำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์ ชั้น ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง ม.๔-ม.๖ ๑. สืบค้นและอธิบำยกำร เกิดและวิวัฒนำกำรของ ระบบสุริยะ กำแล็กซี และ เอกภพ -เอกภพกำำเนิด ณ จุดที่เรียกว่ำบิกแบง เป็น จุดที่ พลังงำน เริ่มเปลี่ยนเป็นสสำร เกิดเป็นอนุภำค ควำร์ก อิเล็กตรอน นิวทริโน พร้อมปฏิอนุภำค เมื่ออุณหภูมิของเอกภพ ลดตำ่ำลง ควำร์กจะรวมตัวกันเป็นอนุภำคพื้นฐำน คือ โปรตรอน และนิวตรอน ต่อมำโปรตรอนและนิวตรอนรวมตัวกัน เป็น นิวเคลียสของฮีเลียม และเกิดเป็นอะตอมของไฮโดรเจน และ ฮีเลียม อะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม ซึ่งเป็นองค์ ประกอบ ส่วนใหญ่ของเนบิวลำดั้งเดิม เนบิวลำดั้งเดิมกระจำยอยู่ เป็น หย่อมๆกลำยเป็นกำแล็กซี่ ภำยในกำแล็กซี่ เกิดเป็น ดำวฤกษ์ ระบบดำวฤกษ์ ๒. สืบค้นและอธิบำย ธรรมชำติและวัฒนำกำร ของดำวฤกษ์์ -ดำวฤกษ์ เป็นก้อนแกสร้อนขนำดใหญ่ กำำเนิดมำ จำกเนบิวลำ ที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นธำตุ ไฮโดรเจน ที่แก่นกลำงของ ดำวฤกษ์จะเกิดปฏิกิริยำเทอร์โม นิวเคลียร์หลอมนิวเคลียสของไฮโดรเจนเป็น นิวเคลียส ของ ฮีเลียม ได้พลังงำนออกมำ -อันดับควำมสว่ำงของดำวฤกษ์ที่สังเกตเห็นได้มำ
  • 4. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จาก ความสวางปรากฏที่ขึ้นอยูกับความสวางจริงและ ระยะ หางจากโลก -สีของดาวฤกษมีความสัมพันธกับอุณหภูมิผิวของ ดาวฤกษและอายุของดาวฤกษ -ดาวฤกษมีอายุยาวหรือสั้น มีจุดจบเปนหลุมดํา หรือ ดาวนิวตรอน หรือดาวแคระขาว ขึ้นอยูกับมวลของ ดาว ฤกษ โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เวลา 40 ชั่วโมง หนวยการเรียนรู้ แผนการจัด การเรียนรู้ วิธีสอน / กระบวนการจัด การเรียนรู้ ทักษะการคิด เวลา (ชั่วโมง ) หนวยการเรียนรู้ ที่ 3 เอกภพ กาแล็กซี และระบบสุริยะ 1. เอกภพ - วิธีสอนโดยการจัดการ เรียนรู้ แบบรวมมือ : เทคนิค การจัดทีมแขงขัน (TGT) 1. ทักษะการคิด วิเคราะห 2. ทักษะการคิด สร้างสรรค 1 2. ระบบสุริยะ 1. วิธีสอนโดยการจัดการ เรียนรู้ แบบรวมมือ : เทคนิค เลาเรื่อง รอบวง 2. วิธีสอนโดยการจัดการ เรียนรู้ แบบรวมมือ : เทคนิค คูคิด 1. ทักษะการคิด วิเคราะห 2. ทักษะการคิด สร้างสรรค 2 จุดประสงคการเรียนรู้ ว 30104 15. บอกลําดับการเกิดเอกภพ ระบบสุริยะ ได้ 16. บอกวิวัฒนาการของเอกภพและระบบสุริยะได้ 17. อภิปรายเกี่ยวกับระบบสุริยะและพัฒนาการที่เกิดขึ้นของระบบสุริยะได้ หนวยการเรียนรู้ที่ 3 เอกภพ ดาวฤกษ และระบบสุริยะ ตอนที่ 1 เอกภพ กาแล็กซี กิจกรรมที่ 15 สืบค้นข้อมูลความสําคัญของการศึกษาดาราศาสตร จุดประสงคของกิจกรรม อภิปรายและนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับความสําคัญของการศึกษาดาราศาสตร ปัญหา สิ่งมีชีวิตและการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลกเกี่ยวข้องกับดาราศาสตรในด้านใดบ้าง ขั้นตอน
  • 5. ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจ ที่คงทน 1. การสืบค้นข้อมูล 2. การลงความคิดเห็นข้อมูล 3. การตีความหมายข้อมูลและลง ข้อสรุป 4. การจัดกระทําและสื่อความ หมายข้อมูล แหลงการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน หนังสืออ้างอิง 1. ทําการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลในหัวข้อ “ดาราศาสตรมีความสําคัญและสงผลตอสิ่งมีชีวิตและ การดํารงชีวิตของมนุษยบนโลกในด้านใดบ้าง” 2. นําข้อมูลที่สืบค้นได้จากข้อ 1 มาเขียนเปนผังมโนทัศน (concept map) 3. รวมกันอภิปรายลงข้อสรุปและนําเสนอผลการอภิปรายและข้อสรุปของกลุมหน้าชั้นเรียนและ/หรือ จัดทําเปนรายงาน หมายเหตุ ครูอาจให้นักเรียนแตละคนนําหัวข้อ ที่ได้จากผังมโนทัศนมาเขียนเรียงความเปนการบ้าน โดยใช้ความรู้และจินตนาการของตนเองประกอบ จากนั้นนํามาเสนอและแลกเปลี่ยนกับเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน บันทึกผลการสืบค้นข้อมูล สรุปผล พิจารณาจากคําตอบนักเรียน แนวคําตอบ จากผังมโนทัศน (concept map) ที่นักเรียนรวมกันเขียนควรสรุปความสําคัญของดาราศาสตร ตามประเด็นตอไปนี้ 1) สามารถใช้กําหนดทิศบนโลกเพื่อประโยชนในการนําทาง 2) สามารถใช้กําหนดเวลาบนโลก และใช้ในการทําปฏิทินทั้งทางจันทรคติและสุริยคติ 3) เพื่อให้มนุษยสามารถปรับสภาวะการดําเนินชีวิตให้เหมาะสมกับฤดูกาล 4) นําความรู้ที่ได้จากการศึกษาด้านนี้มาอธิบายปรากฏการณตาง ๆ บนโลก เชน การเกิด สเปกตรัมของแสง การเกิดปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียร 5) ชวยขยายความรู้ของมนุษยเกี่ยวกับกําเนิดของโลกและตัวเรา คําถามประกอบกิจกรรม 1. มนุษยเริ่มศึกษาเกี่ยวกับดาราศาสตรเมื่อใด เริ่มศึกษาตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร 2. ดาราศาสตรเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับอะไร ศึกษาเกี่ยวกับเอกภพ เทหวัตถุตาง ๆ บนท้องฟ้า โลกที่ เราอาศัยอยู ปรากฏการณตาง ๆ รายการบันทึกผลการสืบค้นข้อมูล วันที่.........เดือน....................พ.ศ........... พิจารณาจากคําตอบนักเรียน
  • 6. ที่เกิดขึ้นบนเอกภพ และเทคโนโลยีอวกาศ 3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใดที่เปนจุดเริ่มต้นให้มนุษยเริ่มสนใจดวงดาวบนท้องฟ้า ทักษะ การสังเกต 4. การศึกษาดาราศาสตรในอดีตเกี่ยวข้องกับอะไร ศาสนาและเทพนิยาย 5. ดาราศาสตรมีความสําคัญตอมนุษยด้านใดบ้าง พิจารณาจากคําตอบนักเรียน แนวคําตอบ มีความสําคัญตอการกําหนดทิศทางบนโลก การกําหนดเวลาและฤดูกาล ชวยให้มนุษยปรับวิถี การดํารงชีวิตให้สอดคล้องกับฤดูกาลตาง ๆ กิจกรรมที่ 16 สร้างแบบจําลองเอกภพขยายตัว จุดประสงคของกิจกรรม สร้างและอธิบายแบบจําลองการขยายตัวของเอกภพได้ ปัญหา เอกภพขยายตัวในลักษณะใด ขั้นตอน 1. นําลูกโป่งที่เตรียมไว้มาเป่าจนมีขนาดใหญพอสมควร จากนั้นใช้ยางรัด รัดไมให้ลมออกจากลูกโป่ง 2. ใช้สายวัดทําการวัดขนาดเส้นผานศูนยกลางของลูกโป่ง 3. นําปากกาเคมีสีดําทําจุดขนาดใหญพอประมาณให้ทั่วผิวลูกโป่ง ดังรูป 4. ใช้ปากกาเคมีสีแดงทําวงกลมล้อมรอบจุดจุดหนึ่งไว้ จากนั้นเลือกจุด 6 จุด ที่อยูใกล้และไกลจากจุดที่ทํา วงกลมไว้ พร้อมทั้งเขียนเลข 1–6 กํากับไว้ ดังรูป 5. วัดระยะทางจากจุดที่เลือกทั้ง 6 จุด ถึงจุดที่ได้ทําวงกลมล้อมรอบไว้ แล้วบันทึกระยะทางที่ได้ลงใน คอลัมนที่ 2 ของตารางบันทึกผล 6. แกะยางรัดลูกโป่งออก แล้วทําการเป่าจนกระทั่งลูกโป่งมีเส้นผานศูนยกลางประมาณ 2 เทาของลูกโป่งที่ เป่าครั้งแรก จากนั้นใช้ยางรัดลูกโป่งให้แนน 7. วัดระยะทางจากจุดที่เลือกทั้ง 6 จุดถึงจุดที่ได้ทําวงกลมล้อมรอบไว้อีกครั้งหนึ่ง แล้วบันทึกระยะทางที่ได้ ลงในคอลัมนที่ 3 ของตารางบันทึกผล 8. นําคาระยะทางในคอลัมนที่ 3 ตั้ง แล้วลบด้วยระยะทางในคอลัมนที่ 2 จากนั้นบันทึกผลลงในคอลัมนที่ 4 ของตารางบันทึกผล 9. นําคาระยะทางในคอลัมนที่ 3 ตั้ง แล้วหารด้วยระยะทางในคอลัมนที่ 2 จากนั้นบันทึกผลลงในคอลัมนที่ 5 ของตารางบันทึกผล บันทึกผลการสร้างแบบจําลอง จุด ที่ ระยะทาง เริ่มแรก ระยะทางหลัง จาก ลูกโป่งขยายตัว ระยะทางที่ เปลี่ยนแปลง ปัจจัยที่เปนผล เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงระยะทาง 1 4.2 8.4 4.2 2 2 3.1 6.2 3.1 2 3 4.3 8.6 4.3 2 4 6.2 12.4 6.2 2 5 2.1 4.2 2.1 2 6 7.2 14.4 7.2 2 ทักษะสร้างเสริมความ เข้าใจที่คงทน 1. การสังเกต 2. การลงความคิดเห็นข้อมูล 3. การตีความหมายข้อมูลและ ลงข้อสรุป 4. การจัดกระทําและสื่อความ หมายข้อมูล อุปกรณ 1. ลูกโป่งสีขาว 1 ใบ
  • 7. ทักษะสร้างเสริมความ เข้าใจที่คงทน 1. การสืบค้นข้อมูล 2. การลงความคิดเห็นข้อมูล 3. การตีความหมายข้อมูล และลงข้อสรุป 4. การจัดกระทำาและสื่อความ หมายข้อมูล แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน หนังสือ สรุปผล ระยะทางที่เปลี่ยนแปลงของกาแล็กซี (ระยะห่างจากจุดอ้างอิงถึงจุดที่เลือกไว้ 6 จุด) ไม่ขึ้นอยู่ กับความใกล้–ไกลของกาแลกซีกับระยะทางเริ่มแรก แสดงว่าไม่มีปัจจัยที่ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของระยะห่าง เนื่องจากค่าที่ได้เป็นค่าคงที่ (ระยะทางที่เปลี่ยนแปลงลบด้วยระยะทางเริ่มแรก) คำาถามประกอบกิจกรรม 1. กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสาธิตเกี่ยวกับการขยายตัว ของเอกภพได้ 2. นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ที่ใช้ลูกโป่งแทนเอกภพ เพราะเหตุใด พิจารณาจากคำาตอบนักเรียน 3. วัตถุประสงค์ของการกำาหนดจุดอ้างอิง (จุดที่ใช้ปากกาเคมีสีแดงทำาวงกลมล้อมรอบ) และการเลือกจุดต่าง ๆ บนลูกโป่งอีก 6 จุด คืออะไร เพื่อใช้จุดเหล่านี้เป็นเป้าหมายของการสังเกตขณะที่เป่าลูกโป่งให้ขยายตัว 4. ถ้ากำาหนดให้ลูกโป่งที่เป่าลมแทนการขยายตัวของเอกภพแล้ว ระยะทางที่เปลี่ยนแปลงของกาแล็กซีต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับความใกล้–ไกลของกาแล็กซีกับระยะทางเริ่มแรกหรือไม่ เพราะเหตุใด (เปรียบเทียบระยะทางใน คอลัมน์ที่ 2 กับ 4) ระยะทางที่เปลี่ยนแปลงไปเท่ากับระยะทางเริ่มแรกของจุดแต่ละจุด 5. ปัจจัยที่เป็นผลเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงระยะทางขึ้นอยู่กับความใกล้–ไกลของกาแล็กซีกับระยะทางเริ่ม แรกหรือไม่ เพราะเหตุใด (เปรียบเทียบระยะทางในคอลัมน์ที่ 2 กับ 5) ปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงไม่ขึ้นอยู่กับระยะทางเริ่มแรก แต่ จะมีค่าคงที่ กิจกรรมที่ 17 สืบค้นข้อมูลอิทธิพลของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลก และระบบสุริยะ จุดประสงค์ของกิจกรรม สืบค้นและอธิบายข้อมูลเกี่ยวกับอิทธิพลของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลกและ ระบบสุริยะได้ ปัญหา ดวงอาทิตย์มีอิทธิพลต่อโลกและระบบสุริยะในลักษณะใด ขั้นตอน 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับอิทธิพลของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลกและ ระบบสุริยะในประเด็นต่อไปนี้ 1) ดวงอาทิตย์ที่เรารู้จัก (กำาเนิดและวิวัฒนาการของดวงอาทิตย์ ความเป็นดาวฤกษ์ สิ่งที่ประกอบกันเป็นดวงอาทิตย์) 2) ผลกระทบของพลังงานจากดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลก 3) ผลกระทบของพลังงานจากดวงอาทิตย์ที่มีต่อดาวเคราะห์และเทหวัตถุในระบบสุริยะ 2. นำาข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาอภิปรายร่วมกัน นำาเสนอในรูปของรายงาน และจัดทำาป้าย นิเทศแสดงผลงานของกลุ่ม บันทึกผลการสืบค้นข้อมูล รายการบันทึกผลการสืบค้นข้อมูล วันที่.........เดือน....................พ.ศ........... พิจารณาจากคำาตอบนักเรียน
  • 8. สรุปผล ดวงอาทิตย์ที่เรารู้จัก ดวงอาทิตย์เป็นวัตถุทรงกลมใหญ่ซึ่งร้อนจัด เป็นไอและแก๊ส มีความร้อนและแสงสว่างเกิดขึ้น ภายในใจกลาง แล้วถ่ายทอดออกมาสู่พื้นผิวและแผ่กระจายออกสู่ที่ว่างโดยรอบ ถ้าเราเดินทางโดย ยานอวกาศห่างออกไปจากดวงอาทิตย์จะเห็นดวงอาทิตย์ลดขนาดเล็กลงเรื่อย ๆ จนในที่สุดจะปรากฏ เพียงจุดสว่างเช่นเดียวกับดาวฤกษ์ที่ปรากฏอยู่เต็มท้องฟ้า ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากโลกโดยเฉลี่ย 149.6 ล้านกิโลเมตร แต่มีขนาดใหญ่โตกว่าโลกมาก ข้อมูล เกี่ยวกับดวงอาทิตย์ที่สำาคัญ มีดังนี้ ข้อมูล ปริมาณที่วัดได้ มวล 1.99 ×1030 กิโลเมตร รัศมี 6.96 ×105 กิโลเมตร ความหนาแน่นเฉลี่ย 1,410 กิโลเมตร/ลูกบาศก์เมตร อัตราการปลดปล่อยรังสี 3.90 ×1026 จูล/วินาที อุณหภูมิที่พื้นผิว 5,800 เคลวิน อุณหภูมิ ณ ใจกลาง 15.5 ×106 เคลวิน คาบเวลาการหมุนรอบตัวเอง 25 วัน ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยแก๊สไฮโดรเจน เมื่ออะตอมของไฮโดรเจนรวมตัวกันจะกลายเป็นอะตอมของ ธาตุฮีเลียมในปฏิกิริยาที่เรียกว่า ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ มวลสารของไฮโดรเจน 1 กรัม จะสูญหายไป 0.007 กรัม โดยการแปรรูปเป็นพลังงานจะได้พลังงานเท่ากับ 0.007 ×(3 ×1010 ) 2 เอิร์ก/ทุก ๆ 1 กรัม ของไฮโดรเจนที่เข้าทำาปฏิกิริยา พลังงานดังกล่าวเป็นพลังงานปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันของแก๊สไฮโดรเจน ซึ่งจะแผ่พลังงานมายังโลก การที่โลกอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร ทำาให้โลกได้รับ พลังงานจากดวงอาทิตย์น้อยเมื่อเทียบกับพลังงานที่ดวงอาทิตย์ปลดปล่อยออกมา นักวิทยาศาสตร์พบว่าโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี ทำาให้ระยะห่างจากดวงอาทิตย์กับโลก มีการเปลี่ยนแปลงได้ พลังงานที่โลกได้รับมีค่าสูงสุดประมาณ 1,400 วัตต์/ตารางเมตร ในช่วงเดือน ธันวาคมและมกราคม และมีค่าตำ่าสุดเท่ากับ 1,305 วัตต์/ตารางเมตร ในช่วงเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม แต่โดยเฉลี่ยแล้วโลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์เท่ากับ 1,353 วัตต์/ตารางเมตร ซึ่งคิดเป็น 1/2,200,000,000 ของพลังงานทั้งหมดที่ดวงอาทิตย์เปล่งออกมา ทั้งนี้นอกจากระยะทาง ที่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์มากแล้ว บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกไว้ยังดูดกลืนพลังงานบางส่วนที่ส่งมาจาก ดวงอาทิตย์อีกด้วย แม้ว่าโลกจะได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ในปริมาณที่น้อยมากเมื่อเทียบกับปริมาณของ พลังงานที่ดวงอาทิตย์ปลดปล่อยออกมา แต่พลังงานทั้งหมดที่โลกได้รับนั้น ก็มีผลทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมต่าง ๆ บนโลกได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ปรากฏการณ์ที่แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของพลังงาน จากดวงอาทิตย์ต่อสิ่งแวดล้อมที่เห็นได้ชัดเจน เช่น วัฏจักรของนำ้า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การ เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก และการไหลเวียนของกระแสนำ้าในมหาสมุทร คำาถามประกอบกิจกรรม 1. การที่กล่าวว่า “ดวงอาทิตย์มีความสำาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทั้งมวลบนโลก” นักเรียนคิดว่าเนื่องมาจากเหตุผลใด เนื่องจากดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำาเนิดพลังงานที่สำาคัญของโลก สิ่งมีชีวิตทั้งมวลบนโลกจะต้องอาศัย ดวงอาทิตย์เพื่อการดำารงชีวิต ดวงอาทิตย์จะให้แสงสว่าง ความร้อน และพลังงานอื่น ๆ แก่โลก ช่วยทำาให้สิ่ง มีชีวิตเกิดความอบอุ่น ช่วยในการปรุงอาหารของพืช และทำาให้เกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางธรรมชาติที่มี อิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิต 2. ถ้าโลกสามารถควบคุมอุณหภูมิบนโลกไม่ให้สูงกว่าปกติได้ จะเกิดผลอะไรต่อโลกบ้าง ทำาให้โลกเกิดความอบอุ่นพอเหมาะต่อการดำารงชีวิต เกิดความสมดุลทางธรรมชาติ ทำาให้ สิ่งมีชีวิตดำารงชีวิตอยู่ได้เป็นเวลานาน 3. อะไรคือสาเหตุที่ทำาให้โลกไม่สามารถส่งพลังงานจากดวงอาทิตย์กลับคืนออกไปนอกโลกได้
  • 9. การเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก อันเนื่องมาจากมีแก๊สบางชนิด เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกระบวนการเผาไหม้ หรือกระบวนการผลิตทางเคมีจะถูกปลดปล่อยออกสู่ บรรยากาศผิวโลกและเกิดการสะสมอยู่ในบรรยากาศที่ทำาหน้าที่ถ่ายเทพลังงาน ซึ่งแก๊สดังกล่าวมีสมบัติใน การเก็บกักความร้อน จึงทำาให้กระบวนการถ่ายเทพลังงานโดยเฉพาะการสะท้อนกลับของพลังงานสู่ บรรยากาศภายนอกลดลง 4. สิ่งที่ทำาให้ดาวเคราะห์และเทหวัตถุในระบบสุริยะอยู่ในระบบสุริยะได้คืออะไร อธิบายเหตุผล ประกอบ พิจารณาจากคำาตอบนักเรียน 5. นักเรียนคิดว่าพลังงานจากดวงอาทิตย์ส่งผลกระทบต่อดาวเคราะห์ที่อยู่ในระบบสุริยะในลักษณะใด อธิบายเหตุผลประกอบ พิจารณาจากคำาตอบนักเรียน
  • 10. การเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก อันเนื่องมาจากมีแก๊สบางชนิด เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกระบวนการเผาไหม้ หรือกระบวนการผลิตทางเคมีจะถูกปลดปล่อยออกสู่ บรรยากาศผิวโลกและเกิดการสะสมอยู่ในบรรยากาศที่ทำาหน้าที่ถ่ายเทพลังงาน ซึ่งแก๊สดังกล่าวมีสมบัติใน การเก็บกักความร้อน จึงทำาให้กระบวนการถ่ายเทพลังงานโดยเฉพาะการสะท้อนกลับของพลังงานสู่ บรรยากาศภายนอกลดลง 4. สิ่งที่ทำาให้ดาวเคราะห์และเทหวัตถุในระบบสุริยะอยู่ในระบบสุริยะได้คืออะไร อธิบายเหตุผล ประกอบ พิจารณาจากคำาตอบนักเรียน 5. นักเรียนคิดว่าพลังงานจากดวงอาทิตย์ส่งผลกระทบต่อดาวเคราะห์ที่อยู่ในระบบสุริยะในลักษณะใด อธิบายเหตุผลประกอบ พิจารณาจากคำาตอบนักเรียน