SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
                                                         พระอวโลกิเตศวร พระโพธิสัตว์องค์สาคัญของ
                                               พระพุทธศาสนามหายาน ที่มีผู้เคารพศรัทธามากที่สุด และเป็น
                                               เสมือนปุคคลาธิษฐานแห่งมหากรุณาคุณของพระพุทธเจ้าทั้ง
                                               ปวง เรื่องราวของพระอวโลกิเตศวรปรากฏอยู่ทั่วไปในคัมภีร์
                                               สันสกฤตของมหายาน อาทิ ปฺรชฺญาปารมิตาสูตฺร , สทฺธรฺม
                                               ปุณฑรีกสูตฺร และการณฺฑวยูหสูตฺร

                                               ความหมายของพระนาม

                                                         คาว่า อวโลกิเตศวร ได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลายนัย
                                                ด้วยกัน แต่โดยรูปศัพท์แล้ว คาว่าอวโลกิเตศวรมาจากคา
                                                สันสกฤตสองคาคือ อวโลกิต กับ อิศวร แปลได้ว่าผู้เป็นใหญ่ที่
                                                เฝ้ามองจากเบื้องบน หรือพระผู้ทัศนาดูโลก ซึ่งหมายถึงเฝ้าดู
                                                แลสรรพสัตว์ที่ตกอยู่ในห้วงทุกข์นั่นเอง, ซิมเมอร์ นักวิชาการ
                                                ชาวเยอรมันอธิบายว่า พระโพธิสัตว์องค์นี้ทรงเป็นสมันตมุข
  พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ถือดอกบัว              คือ ปรากฏพระพักตร์อยู่ทุกทิศอาจแลเห็นทั้งหมด ทรงเป็นผู้ที่
       นาลันทา, รัฐพิหาร, อินเดีย,              สามารถบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ คืออาจจะเป็น
พุทธศตวรรษที่ 14-15 (คริสต์ศตวรรษที่ 9)         พระพุทธเจ้าเมื่อใดก็ได้ แต่ทรงยับยั้งไว้เนื่องจากความกรุณา
                                                สงสารต่อสรรพสัตว์ นอกจากนี้นักปราชญ์พุทธศาสนาบาง
    ท่านยังได้เสนอความเห็นว่า คาว่า อิศวร นั้น เป็นเสมือนตาแหน่งที่ติดมากับพระนามอวโลกิตะ จึงถือได้ว่า
    ทรงเป็นพระโพธิสัตว์พระองค์เดียวที่มีตาแหน่งระบุไว้ท้ายพระนาม ในขณะที่พระโพธิสัตว์พระองค์อื่นหา
    มีไม่ อันแสดงให้เห็นถึงความยิ่งใหญ่และความสาคัญยิ่งของพระโพธิสัตว์พระองค์นี้

            พุทธศาสนิกชนชาวจีนจะรู้จักพระโพธิสัตว์พระองค์นี้ในพระนามว่า กวนซีอิม หรือ กวนอิม ซึ่งก็มี
    ความหมายเช่นเดียวกับคาว่าอวโลกิเตศวรในภาษาสันสกฤต คือผู้เพ่งสดับเสียงแห่งโลก แต่โดยทั่วไปแล้ว
    มักให้อรรถาธิบายเป็นใจความว่าหมายถึง พระผู้สดับฟังเสียงคร่าครวญของสัตว์โลก (ที่กาลังตกอยู่ในห้วง
    ทุกข์) คาว่ากวนซีอิมนี้พระกุมารชีวะชาวเอเชียกลางผู้ไปเผยแผ่พระศาสนาในจีนเป็นผู้แปลขึ้น ต่อมาตัดออก
    เหลือเพียงกวนอิมเท่านั้น เนื่องจากคาว่าซีไปพ้องกับพระนามของ จักรพรรดิถังไท่จง หรือ หลีซีหมิง นั่นเอง
พระอวโลกิเตศวรในฐานะเป็นพระธยานิโพธิสัตว์

    พุทธศาสนามหายานได้จาแนกพระโพธิสัตว์ออกเป็น ๒ ประเภท อันได้แก่ พระมนุษิโพธิสัตว์ และ
พระธยานิโพธิสัตว์

      พระมนุษิโพธิสัตว์ คือพระโพธิสัตว์ในสภาวะมนุษย์หรือเป็นสิ่งมีชีวิตในรูปแบบอื่น ๆ ที่กาลัง
       บาเพ็ญสั่งสมบารมีอันยิ่งใหญ่เพื่อพระโพธิญาณอันประเสริฐ ถ้าตามมติของฝ่ายเถรวาทก็คือผู้ที่ยัง
       เวียนว่ายอยู่ในวัฏสงสารเพื่อบาเพ็ญ ทศบารมี ๑๐ ประการให้บริบูรณ์ เหมือนเมื่อครั้งสมเด็จพระผู้มี
       พระภาคได้ทรงกระทามาในอดีต โดยที่ทรงเสวยพระชาติเป็นทั้งมนุษย์และสัตว์จนได้ตรัสรู้สัมมา
       สัมโพธิญาณเป็นพระศากยมุนีพุทธเจ้า การบาเพ็ญบารมีดังกล่าวนี้เป็นความยากลาบากแสนสาหัส
       สาเร็จได้ด้วยโพธิจิต อีกทั้งวิริยะและความกรุณาอันหาที่เปรียบมิได้ ต้องอาศัยระยะเวลายาวนาน
       นับด้วยกัปอสงไขย สิ้นภพสิ้นชาติสุดจะประมาณได้
      พระธยานิโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ประเภทนี้มิใช่พระโพธิสัตว์ผู้กาลังบาเพ็ญบารมีเพื่อแสวงหาดวง
       ปัญญาอันจะนาไปสู่ความรู้แจ้งเหมือนประเภทแรก แต่เป็นพระโพธิสัตว์ผู้บาเพ็ญบารมีบริบูรณ์
       ครบถ้วนแล้ว และสาเร็จเป็นพระธยานิโพธิสัตว์หรือพระโพธิสัตว์ในสมาธิโดยยับยั้งไว้ยังไม่เสด็จ
       เข้าสู่พุทธภูมิ เพื่อจะโปรดสรรพสัตว์ต่อไปอีกไม่มีที่สิ้นสุด พระธยานิโพธิสัตว์นี้เป็นทิพยบุคคลที่มี
       ลักษณะดังหนึ่งเทพยดา มีคุณชาติทางจิตเข้าสู่ภูมิธรรมขั้นสูงสุดและทรงไว้ซึ่งพระโพธิญาณอย่าง
       มั่นคง จึงมีสภาวะที่สูงกว่าพระโพธิสัตว์ทั่วไป พระธยานิโพธิสัตว์มักจะมีภูมิหลังที่ยาวนาน เป็น
       พระโพธิสัตว์เจ้าที่สาเร็จเป็นพระโพธิสัตว์มาเนิ่นนานนับแต่สมัยพระอดีตพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ สุด
       จะคณานับเป็นกาลเวลาได้ พระธยานิโพธิสัตว์ที่พุทธศาสนิกชนมหายานรู้จักดี อาทิ พระมัญชุศรี
       พระอวโลกิเตศวร พระมหาสถามปราปต์ พระสมันตภัทร พระกษิติครรภ์ เป็นต้น

ประวัติความเป็นมาในคัมภีร์ฝ่ายมหายาน

      พระไตรปิฎกของพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทไม่มีปรากฏเรื่องราวหรือแม้แต่พระนามของพระอวโลกิเต
ศวรอยู่เลย ทว่าในส่วนของนิกายมหายานแล้ว พระอวโลกิเตศวรมีบทบาทปรากฏอยู่มากในพระสูตรสาคัญ
ๆ และยังมีเรื่องราวปรากฏในพระสูตรมหายานว่าพระพุทธเจ้าและพระสาวกยังได้เคยตรัสสนทนาธรรมกับ
พระโพธิสัตว์พระองค์นี้อยู่บ่อยครั้งทีเดียว ในพุทธศาสนามหายานยกย่องพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ว่าเป็น
พระผู้ได้รับธรรมจักรมาโดยตรงจากพระพุทธเจ้า และเป็นผู้นาในการรักษาพระพุทธศาสนาและหมุน
ธรรมจักรต่อไป

    การอุบัติของพระอวโลกิเตศวรนี้สันนิษฐานว่ามีขึ้นภายหลังการเกิดนิกายมหายานขึ้นแล้วในราวพุทธ
ศตวรรษที่ ๖-๗ ภายหลังพุทธปรินิพพาน ซึ่งเมื่อตรวจสอบจากวรรณคดีสันสกฤตยุคต้น ๆ ของมหายาน
อย่าง ชาดกมาลา ทิวยาวทาน หรือลลิตวิสตระ ก็ยังไม่ปรากฏนามพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์แต่อย่างใด แต่
มีปรากฏขึ้นครั้งแรกพร้อม ๆ กับพระมัญชุศรีโพธิสัตว์ในพระสูตรปรัชญาปารมิตาซึ่งถือว่าเป็นพระสูตร
มหายานรุ่นเก่าที่สุด และในพระสูตรรุ่นต่อ ๆ มาก็ได้มีเรื่องราวเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์พระองค์นี้ปรากฏขึ้น
มากมาย

       พระสูตรมหายานกล่าวว่าพระอวโลกิเตศวรประทับอยู่ ณ สุขาวดีพุทธเกษตร คอยช่วยพระอมิตาภะ
โปรดสรรพสัตว์ที่ตกอยู่ในห้วงทุกข์ และเนื่องจากทรงเป็นพระธยานิโพธิสัตว์จึงมีความเป็นมาอันยาวนาน
สุดจะคาดคานวณได้ นับแต่สมัยของ พระวิปัสสีพุทธเจ้า เป็นต้นมาก็ทรงได้โปรดสัตว์มาเป็นลาดับจนถึง
บัดนี้ อันเป็นกาลสมัยของพระสมณโคดมศากยมุนีพุทธเจ้า ก็เป็นระยะเวลาเนิ่นนานสุดจะพรรณนา ใน
กรุณาปุณฑริกสูตร อธิบายว่า พระอวโลกิเตศวรเป็นพระธรรมกายโพธิสัตว์ สูงกว่าพระโพธิสัตว์สามัญอื่น
ๆ และเป็นเอกชาติปฏิพัทธะเช่นเดียวกับพระโพธิสัตว์อารยเมตตรัย กล่าวคือเป็นผู้ที่ยังข้องอยู่กับการเกิดอีก
เพียงชาติเดียวก็จะได้ตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ กล่าวกันว่าพระอวโลกิเตศวรจะได้ตรัสรู้เป็นพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้าภายหลังการดับขันธปรินิพพานของพระอมิตาภะ เพื่อเป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ต่อไป ณ
แดนสุขาวดี

     นอกจากนี้ในพระสูตรมหายานอื่น ๆ ก็ยังมีปรากฏว่าอธิบายแตกต่างออกไปอีก กล่าวคือ บางพระสูตร
กล่าวว่าพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์นั้นแท้จริงแล้วคืออวตารภาคหนึ่งของพระอดีตพุทธเจ้า ที่ได้ทรงบรรลุ
พุทธภูมิเป็นอรหันตสัมมาสัมพุทธะแล้วในอดีตกาลอันยาวไกล ก่อนสมัยพระพุทธเจ้าของเรา แต่ด้วยพระ
มหากรุณาที่เล็งเห็นสรรพสัตว์ยังตกอยู่ในโมหะอวิชชา ทาให้ต้องทนทุกข์อยู่ในวังวนแห่งสังสารวัฏยากจะ
หลุดพ้นไปได้ จึงทรงแบ่งภาคมาเป็นพระอวโลกิเตศวรเพื่อโปรดปวงสัตว์ให้เห็นธรรมพ้นทุกข์ด้วยพระ
เมตตากรุณา ในบางแห่งก็กล่าวว่าพระอวโลกิเตศวรเป็นพุทธโอรสของพระอมิตาภะที่ทรงบันดาลด้วยพุทธา
ภินิหาริย์ให้อุบัติขึ้นมาเพื่อเป็นที่พึ่งแก่โลก แต่ทางฝ่ายทิเบตเชื่อว่าพระอวโลกิเตศวรอุบัติขึ้นมาพร้อม ๆ กับ
พระนางตาราด้วยอานุภาพของพระอมิตาภพุทธ จากแสงสว่าง (บางแห่งว่าเป็นน้าพระเนตรจากความกรุณา
สงสารสรรพสัตว์) ที่เปล่งออกมาจากพระเนตรเบื้องขวาของพระอมิตาภะได้บังเกิดเป็นพระอวโลกิเตศวร
ประทับบนดอกบัวที่ปรากฏขึ้นพร้อม ๆ กับมนตร์ โอม มณี ปัทเม หูม ส่วนแสงจากพระเนตรเบื้องซ้าย
ก่อให้เกิดพระนางตาราโพธิสัตว์ อย่างไรก็ตาม ในพระสูตรอื่นบางแห่งก็มีกล่าวว่าแท้จริงแล้วพระอวโลกิเต
ศวรก็คือภาคหนึ่งขององค์พระอมิตาภะนั่นเอง
อ้างอิง
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี        . "โบราณวัตถุ,"พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ . 29 สิงหาคม 2554.
<http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AD%
E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0
%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%
B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C&action=edit&section=6 >
29 สิงหาคม 2554.

More Related Content

What's hot

ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
Wataustin Austin
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
maerimwittayakom school
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Jariya Huangjing
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกแปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
วัดศรีสวาย2
วัดศรีสวาย2วัดศรีสวาย2
วัดศรีสวาย2
Gamonros
 

What's hot (19)

พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิวิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
โวหาร
โวหารโวหาร
โวหาร
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกแปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
 
วัดศรีสวาย2
วัดศรีสวาย2วัดศรีสวาย2
วัดศรีสวาย2
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
 

Viewers also liked

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Projet carrières
Projet carrièresProjet carrières
Projet carrières
21samuel
 
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
Nicodeme Feuwo
 

Viewers also liked (20)

จังหวัดน่าน
จังหวัดน่านจังหวัดน่าน
จังหวัดน่าน
 
ประเทศฟินแลนต์
ประเทศฟินแลนต์ประเทศฟินแลนต์
ประเทศฟินแลนต์
 
เรื่องจังหวัดพิจิตร
เรื่องจังหวัดพิจิตรเรื่องจังหวัดพิจิตร
เรื่องจังหวัดพิจิตร
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
งานพี่มอส
งานพี่มอสงานพี่มอส
งานพี่มอส
 
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
 
เยอรมันนี
เยอรมันนีเยอรมันนี
เยอรมันนี
 
จังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม
 
แฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงานแฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงาน
 
ซูดาน (Sudan)
ซูดาน (Sudan)ซูดาน (Sudan)
ซูดาน (Sudan)
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
จังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม
 
งานกานา
งานกานางานกานา
งานกานา
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
อาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจอาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจ
 
Projet carrières
Projet carrièresProjet carrières
Projet carrières
 
ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111
 
เชียงราย
เชียงรายเชียงราย
เชียงราย
 
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
 

Similar to พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
Wataustin Austin
 
บาลี 67 80
บาลี 67 80บาลี 67 80
บาลี 67 80
Rose Banioki
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
Tongsamut vorasan
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
Tongsamut vorasan
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
Wataustin Austin
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
Tongsamut vorasan
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
Rose Banioki
 
บาลี 26 80
บาลี 26 80บาลี 26 80
บาลี 26 80
Rose Banioki
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
Tongsamut vorasan
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
Taweedham Dhamtawee
 

Similar to พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ (20)

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
 
บาลี 67 80
บาลี 67 80บาลี 67 80
บาลี 67 80
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
บาลี 26 80
บาลี 26 80บาลี 26 80
บาลี 26 80
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์

  • 1. พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ พระอวโลกิเตศวร พระโพธิสัตว์องค์สาคัญของ พระพุทธศาสนามหายาน ที่มีผู้เคารพศรัทธามากที่สุด และเป็น เสมือนปุคคลาธิษฐานแห่งมหากรุณาคุณของพระพุทธเจ้าทั้ง ปวง เรื่องราวของพระอวโลกิเตศวรปรากฏอยู่ทั่วไปในคัมภีร์ สันสกฤตของมหายาน อาทิ ปฺรชฺญาปารมิตาสูตฺร , สทฺธรฺม ปุณฑรีกสูตฺร และการณฺฑวยูหสูตฺร ความหมายของพระนาม คาว่า อวโลกิเตศวร ได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลายนัย ด้วยกัน แต่โดยรูปศัพท์แล้ว คาว่าอวโลกิเตศวรมาจากคา สันสกฤตสองคาคือ อวโลกิต กับ อิศวร แปลได้ว่าผู้เป็นใหญ่ที่ เฝ้ามองจากเบื้องบน หรือพระผู้ทัศนาดูโลก ซึ่งหมายถึงเฝ้าดู แลสรรพสัตว์ที่ตกอยู่ในห้วงทุกข์นั่นเอง, ซิมเมอร์ นักวิชาการ ชาวเยอรมันอธิบายว่า พระโพธิสัตว์องค์นี้ทรงเป็นสมันตมุข พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ถือดอกบัว คือ ปรากฏพระพักตร์อยู่ทุกทิศอาจแลเห็นทั้งหมด ทรงเป็นผู้ที่ นาลันทา, รัฐพิหาร, อินเดีย, สามารถบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ คืออาจจะเป็น พุทธศตวรรษที่ 14-15 (คริสต์ศตวรรษที่ 9) พระพุทธเจ้าเมื่อใดก็ได้ แต่ทรงยับยั้งไว้เนื่องจากความกรุณา สงสารต่อสรรพสัตว์ นอกจากนี้นักปราชญ์พุทธศาสนาบาง ท่านยังได้เสนอความเห็นว่า คาว่า อิศวร นั้น เป็นเสมือนตาแหน่งที่ติดมากับพระนามอวโลกิตะ จึงถือได้ว่า ทรงเป็นพระโพธิสัตว์พระองค์เดียวที่มีตาแหน่งระบุไว้ท้ายพระนาม ในขณะที่พระโพธิสัตว์พระองค์อื่นหา มีไม่ อันแสดงให้เห็นถึงความยิ่งใหญ่และความสาคัญยิ่งของพระโพธิสัตว์พระองค์นี้ พุทธศาสนิกชนชาวจีนจะรู้จักพระโพธิสัตว์พระองค์นี้ในพระนามว่า กวนซีอิม หรือ กวนอิม ซึ่งก็มี ความหมายเช่นเดียวกับคาว่าอวโลกิเตศวรในภาษาสันสกฤต คือผู้เพ่งสดับเสียงแห่งโลก แต่โดยทั่วไปแล้ว มักให้อรรถาธิบายเป็นใจความว่าหมายถึง พระผู้สดับฟังเสียงคร่าครวญของสัตว์โลก (ที่กาลังตกอยู่ในห้วง ทุกข์) คาว่ากวนซีอิมนี้พระกุมารชีวะชาวเอเชียกลางผู้ไปเผยแผ่พระศาสนาในจีนเป็นผู้แปลขึ้น ต่อมาตัดออก เหลือเพียงกวนอิมเท่านั้น เนื่องจากคาว่าซีไปพ้องกับพระนามของ จักรพรรดิถังไท่จง หรือ หลีซีหมิง นั่นเอง
  • 2. พระอวโลกิเตศวรในฐานะเป็นพระธยานิโพธิสัตว์ พุทธศาสนามหายานได้จาแนกพระโพธิสัตว์ออกเป็น ๒ ประเภท อันได้แก่ พระมนุษิโพธิสัตว์ และ พระธยานิโพธิสัตว์  พระมนุษิโพธิสัตว์ คือพระโพธิสัตว์ในสภาวะมนุษย์หรือเป็นสิ่งมีชีวิตในรูปแบบอื่น ๆ ที่กาลัง บาเพ็ญสั่งสมบารมีอันยิ่งใหญ่เพื่อพระโพธิญาณอันประเสริฐ ถ้าตามมติของฝ่ายเถรวาทก็คือผู้ที่ยัง เวียนว่ายอยู่ในวัฏสงสารเพื่อบาเพ็ญ ทศบารมี ๑๐ ประการให้บริบูรณ์ เหมือนเมื่อครั้งสมเด็จพระผู้มี พระภาคได้ทรงกระทามาในอดีต โดยที่ทรงเสวยพระชาติเป็นทั้งมนุษย์และสัตว์จนได้ตรัสรู้สัมมา สัมโพธิญาณเป็นพระศากยมุนีพุทธเจ้า การบาเพ็ญบารมีดังกล่าวนี้เป็นความยากลาบากแสนสาหัส สาเร็จได้ด้วยโพธิจิต อีกทั้งวิริยะและความกรุณาอันหาที่เปรียบมิได้ ต้องอาศัยระยะเวลายาวนาน นับด้วยกัปอสงไขย สิ้นภพสิ้นชาติสุดจะประมาณได้  พระธยานิโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ประเภทนี้มิใช่พระโพธิสัตว์ผู้กาลังบาเพ็ญบารมีเพื่อแสวงหาดวง ปัญญาอันจะนาไปสู่ความรู้แจ้งเหมือนประเภทแรก แต่เป็นพระโพธิสัตว์ผู้บาเพ็ญบารมีบริบูรณ์ ครบถ้วนแล้ว และสาเร็จเป็นพระธยานิโพธิสัตว์หรือพระโพธิสัตว์ในสมาธิโดยยับยั้งไว้ยังไม่เสด็จ เข้าสู่พุทธภูมิ เพื่อจะโปรดสรรพสัตว์ต่อไปอีกไม่มีที่สิ้นสุด พระธยานิโพธิสัตว์นี้เป็นทิพยบุคคลที่มี ลักษณะดังหนึ่งเทพยดา มีคุณชาติทางจิตเข้าสู่ภูมิธรรมขั้นสูงสุดและทรงไว้ซึ่งพระโพธิญาณอย่าง มั่นคง จึงมีสภาวะที่สูงกว่าพระโพธิสัตว์ทั่วไป พระธยานิโพธิสัตว์มักจะมีภูมิหลังที่ยาวนาน เป็น พระโพธิสัตว์เจ้าที่สาเร็จเป็นพระโพธิสัตว์มาเนิ่นนานนับแต่สมัยพระอดีตพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ สุด จะคณานับเป็นกาลเวลาได้ พระธยานิโพธิสัตว์ที่พุทธศาสนิกชนมหายานรู้จักดี อาทิ พระมัญชุศรี พระอวโลกิเตศวร พระมหาสถามปราปต์ พระสมันตภัทร พระกษิติครรภ์ เป็นต้น ประวัติความเป็นมาในคัมภีร์ฝ่ายมหายาน พระไตรปิฎกของพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทไม่มีปรากฏเรื่องราวหรือแม้แต่พระนามของพระอวโลกิเต ศวรอยู่เลย ทว่าในส่วนของนิกายมหายานแล้ว พระอวโลกิเตศวรมีบทบาทปรากฏอยู่มากในพระสูตรสาคัญ ๆ และยังมีเรื่องราวปรากฏในพระสูตรมหายานว่าพระพุทธเจ้าและพระสาวกยังได้เคยตรัสสนทนาธรรมกับ พระโพธิสัตว์พระองค์นี้อยู่บ่อยครั้งทีเดียว ในพุทธศาสนามหายานยกย่องพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ว่าเป็น พระผู้ได้รับธรรมจักรมาโดยตรงจากพระพุทธเจ้า และเป็นผู้นาในการรักษาพระพุทธศาสนาและหมุน ธรรมจักรต่อไป การอุบัติของพระอวโลกิเตศวรนี้สันนิษฐานว่ามีขึ้นภายหลังการเกิดนิกายมหายานขึ้นแล้วในราวพุทธ ศตวรรษที่ ๖-๗ ภายหลังพุทธปรินิพพาน ซึ่งเมื่อตรวจสอบจากวรรณคดีสันสกฤตยุคต้น ๆ ของมหายาน
  • 3. อย่าง ชาดกมาลา ทิวยาวทาน หรือลลิตวิสตระ ก็ยังไม่ปรากฏนามพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์แต่อย่างใด แต่ มีปรากฏขึ้นครั้งแรกพร้อม ๆ กับพระมัญชุศรีโพธิสัตว์ในพระสูตรปรัชญาปารมิตาซึ่งถือว่าเป็นพระสูตร มหายานรุ่นเก่าที่สุด และในพระสูตรรุ่นต่อ ๆ มาก็ได้มีเรื่องราวเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์พระองค์นี้ปรากฏขึ้น มากมาย พระสูตรมหายานกล่าวว่าพระอวโลกิเตศวรประทับอยู่ ณ สุขาวดีพุทธเกษตร คอยช่วยพระอมิตาภะ โปรดสรรพสัตว์ที่ตกอยู่ในห้วงทุกข์ และเนื่องจากทรงเป็นพระธยานิโพธิสัตว์จึงมีความเป็นมาอันยาวนาน สุดจะคาดคานวณได้ นับแต่สมัยของ พระวิปัสสีพุทธเจ้า เป็นต้นมาก็ทรงได้โปรดสัตว์มาเป็นลาดับจนถึง บัดนี้ อันเป็นกาลสมัยของพระสมณโคดมศากยมุนีพุทธเจ้า ก็เป็นระยะเวลาเนิ่นนานสุดจะพรรณนา ใน กรุณาปุณฑริกสูตร อธิบายว่า พระอวโลกิเตศวรเป็นพระธรรมกายโพธิสัตว์ สูงกว่าพระโพธิสัตว์สามัญอื่น ๆ และเป็นเอกชาติปฏิพัทธะเช่นเดียวกับพระโพธิสัตว์อารยเมตตรัย กล่าวคือเป็นผู้ที่ยังข้องอยู่กับการเกิดอีก เพียงชาติเดียวก็จะได้ตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ กล่าวกันว่าพระอวโลกิเตศวรจะได้ตรัสรู้เป็นพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าภายหลังการดับขันธปรินิพพานของพระอมิตาภะ เพื่อเป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ต่อไป ณ แดนสุขาวดี นอกจากนี้ในพระสูตรมหายานอื่น ๆ ก็ยังมีปรากฏว่าอธิบายแตกต่างออกไปอีก กล่าวคือ บางพระสูตร กล่าวว่าพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์นั้นแท้จริงแล้วคืออวตารภาคหนึ่งของพระอดีตพุทธเจ้า ที่ได้ทรงบรรลุ พุทธภูมิเป็นอรหันตสัมมาสัมพุทธะแล้วในอดีตกาลอันยาวไกล ก่อนสมัยพระพุทธเจ้าของเรา แต่ด้วยพระ มหากรุณาที่เล็งเห็นสรรพสัตว์ยังตกอยู่ในโมหะอวิชชา ทาให้ต้องทนทุกข์อยู่ในวังวนแห่งสังสารวัฏยากจะ หลุดพ้นไปได้ จึงทรงแบ่งภาคมาเป็นพระอวโลกิเตศวรเพื่อโปรดปวงสัตว์ให้เห็นธรรมพ้นทุกข์ด้วยพระ เมตตากรุณา ในบางแห่งก็กล่าวว่าพระอวโลกิเตศวรเป็นพุทธโอรสของพระอมิตาภะที่ทรงบันดาลด้วยพุทธา ภินิหาริย์ให้อุบัติขึ้นมาเพื่อเป็นที่พึ่งแก่โลก แต่ทางฝ่ายทิเบตเชื่อว่าพระอวโลกิเตศวรอุบัติขึ้นมาพร้อม ๆ กับ พระนางตาราด้วยอานุภาพของพระอมิตาภพุทธ จากแสงสว่าง (บางแห่งว่าเป็นน้าพระเนตรจากความกรุณา สงสารสรรพสัตว์) ที่เปล่งออกมาจากพระเนตรเบื้องขวาของพระอมิตาภะได้บังเกิดเป็นพระอวโลกิเตศวร ประทับบนดอกบัวที่ปรากฏขึ้นพร้อม ๆ กับมนตร์ โอม มณี ปัทเม หูม ส่วนแสงจากพระเนตรเบื้องซ้าย ก่อให้เกิดพระนางตาราโพธิสัตว์ อย่างไรก็ตาม ในพระสูตรอื่นบางแห่งก็มีกล่าวว่าแท้จริงแล้วพระอวโลกิเต ศวรก็คือภาคหนึ่งขององค์พระอมิตาภะนั่นเอง
  • 4. อ้างอิง วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . "โบราณวัตถุ,"พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ . 29 สิงหาคม 2554. <http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AD% E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0 %B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0% B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C&action=edit&section=6 > 29 สิงหาคม 2554.