SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
เอกภพ   ( Universe ) โดย นักเรียนระดับชั้น ม .6 / 1  กลุ่มที่ 5 เป็นส่วนหนึ่งของวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ภาคเรียนที่  2 / 2554 โรงเรียน เซนต์โยเซฟ บางนา
วัตถุประสงค์ ฝึกฝนการทำงานเป็นทีม ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์   เป็นสื่อการเรียนแหล่งข้อมูลทางการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเอกภพที่สามารถศึกษาได้สะดวก และรวดเร็ว เป็นการฝึกทักษะทางกระบวนการทำงานของการจัดทำสื่อการเรียนรู้ เป็นสื่อการเรียนรู้ที่น่าสนใจ และ สามารถเข้าใจถึงข้อมูลได้มากขึ้นจากรูปภาพ และเนื้อหา
เอกภพ  ( Universe ) เอกภพ ( Universe ) คืออะไร ? เอกภพ ( Universe ) เกิดขึ้นได้อย่างไร? ทฤษฎีบิกแบง ( Big-Bang Theory ) Animation  การกำเนิดเอกภพ Animation  การกำเนิดเอกภพ ( 2 ) ความคิดเรื่องเอกภพของคนในยุคก่อน   ชาวฮินดู   ชาวอิยิปต์   ชาวกรีก   ชาวกรีก   (พ.ศ. 159-218 )   ชาวยุโรปกลาง(พ . ศ . 2000)     กาแล็กซี ( GALAXY)  คืออะไร ?    กาแลคซี่ทางช้างเผือก( Milky Way)    กาแล็กซีเพื่อนบ้าน ประเภทของกาแล็กซี่   กาแล็กซีกลมรีรูปไข่    กาแล็กซีก้นหอย หรือ แบบกังหัน   กาแล็กซีก้นหอยคาน    กาแล็กซีไร้รูปร่าง  จุดจบของเอกภพ   เอกภพปิด  (Closed Universe)    เอกภพแบน  (Flat Universe)    เอกภพปิด  (Open Universe ) คำถามก่อน - หลังเรียน เฉลยคำถามก่อน - หลังเรียน บรรณานุกรม
เอกภพ  ( Universe )  คืออะไร  ? เอกภพ หรือ จักรวาล  ( Universe )   คือ ระบบที่รวบรวมทุกสิ่งทุกอย่างในธรรมชาติ ข้อมูลสำคัญของเอกภพคือ เส้นสเปกตรัมของดาราจักรเลื่อนไปทางสีแดงทำให้รู้ว่าเอกภพกำลังขยายตัว เอกภพมีรัศมีไม่น้อยกว่า  15,000  ล้านปีแสง มีอายุประมาณ  15,000  ล้านปี เอกภพจึงเป็นปริมณฑลอันกว้างใหญ่ไพศาล ไม่มีขอบเขต ทุกสิ่งทุกอย่างต้องอยู่ในเอกภพทั้งสิ้น ในเอกภพประกอบไปด้วยหลายๆ กลุ่มดาว หรือเรียกว่า  กาแลคซี่ ( Galaxy)   ภายในกาแลคซี่ประกอบไปด้วยดวงดาวมากมายหลายร้อยล้านดวง ทั้งดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ฝุ่นและกลุ่มเนบิวลา เช่นเดียวกับกลุ่มดาวที่โลกเราอยู่คือ  กาแลคซี่ทางช้างเผือก( Milky Way)
เอกภพ  ( Universe )  เกิดขึ้นได้อย่างไร ?   นักดาราศาสตร์ยังไม่ทราบแน่นชัดว่าเอกภพมาจากไหน เกิดขึ้นได้อย่างไร แต่มีสรุปทฤษฎีที่กล่าวถึงการกำเนิดเอกภพได้หลายทฤษฎี แต่ที่ยอมรับ กันมากก็คือ ทฤษฎีบิกแบง ( Big-Bang Theory )
ทฤษฎีบิกแบง หรือ ทฤษฎีระเบิดใหญ่      เป็นการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ จากพลังงานบางอย่าง สาดกระจายมวลสารทั้งหลาย ออกไปทุกทิศทาง แล้วเริ่มเย็นตัวลง จับกลุ่มเป็น ก้อนก๊าซ ขนาดใหญ่ จนยุบตัวลงเป็น กาแล็กซี และดาวฤกษ์ ได้ก่อรูปขึ้นมาในกาแล็กซีเหล่านั้น ประมาณหนึ่งหมื่นล้านปี    หลังจากการระเบิดใหญ่ ที่เกลียวของของ กาแล็กซีทางช้างเผือก ดวงอาทิตย์ โลก และดาวเคราะห์ดวงอื่น ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นระบบสุริยะ History of the universe ทฤษฎีบิกแบง  ( Big-Bang Theory )
Animation  การกำเนิดเอกภพ
Animation  การกำเนิดเอกภพ  ( 2 )
เอกภพของชาวฮินดู   ชาวฮินดูโบราณเชื่อว่าเทพวิษณุผู้มีเศียรเป็นช้างคือผู้สร้างโลก จึงอธิบายเอกภพว่า มีช้าง  4   เชือก ยืนแบกโลก ไว้อยู่บนหลังเต่า เมื่อเกิดแผ่นดินไหว เชื่อว่าเป็นเพราะช้างขยับตัว เอกภพยังถูกล้อมรอบ ด้วยงูเห่าที่ขดหัว จรดหางเป็นวงกลม ซึ่งงูเป็นสัญลักษณ์แทนน้ำ ความคิดเรื่องเอกภพของคนในยุคก่อน
ความคิดเรื่องเอกภพของคนในยุคก่อน ( ต่อ ) เอกภพของชาวอิยิปต์       ชาวอิยิปต์โบราณ    อธิบายเอกภพด้วยโลกซึ่งแทนด้วยเทพชื่อ เจ๊บ  ( Geb )  ผู้มีใบไม้สีเขียวคลุมร่างนอนราบ อยู่เบื้องล่าง มีเทพธิดาแห่งท้องฟ้าชื่อ นู้ด  ( Nut )  ผู้ประดับร่างกายด้วยดวงดาวยืนโอบโค้งอยู่ โดยมีเทพ แห่งอากาศชื่อ ชู  ( Shu )  ยกแขนทั้ง สองค้ำอยู่ระหว่างเทพเจ๊บและนู้ด ส่วนเทพรา  ( Ra )  แล่นเรือเคลื่อน ข้ามท้องฟ้าขึ้นและตกอยู่ทุกวัน
ความคิดเรื่องเอกภพของคนในยุคก่อน ( ต่อ ) เอกภพของชาวกรีก   ชาวกรีกโบราณ เชื่อว่า เอกภพเป็นวงกลมกลวงใสขนาดมหึมา มีดาวประดับอยู่รอบทรงกลม โลกเป็นแผ่นกลม ลอยอยู่ในน้ำ ดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์เคลื่อนขึ้นและตกจากแผ่นน้ำอยู่ทุกวัน
[object Object],[object Object],ความคิดเรื่องเอกภพของคนในยุคก่อน ( ต่อ )
ความคิดเรื่องเอกภพของคนในยุคก่อน ( ต่อ ) เอกภพของชาวยุโรปยุคกลาง  ( พ . ศ . 2000 )     ภาพแกะไม้อธิบายเอกภพคือทรงกลมกลวงใส ประกอบด้วยดาวฤกษ์ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และเหล่า ดาวเคราะห์ทั้งหลาย มีธาตุทั้ง  4   คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ก่อเกิดกลไกธรรมชาติของสรรพสิ่งบนโลก
      กาแล็กซี  ( GALAXY)  คืออะไร  ?
[object Object]
กาแลคซี่ทางช้างเผือก ( Milky Way)  มีลักษณะกาแล็กซีแบบกังหัน เป็นกาแล็กซีที่เราตั้งรกรากอยู่ และเนื่องจากว่าทางช้างเผือกนี้มีส่วนปลายด้านหนึ่งเป็นแนวราบซึ่งเป็นที่ อยู่ของดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์ทั้งหลายที่เป็นดาวบริวาร ทำให้เราได้เห็นแต่เฉพาะด้านข้างของมันเมื่อมองไปบนฟ้าในเวลากลางคืน  และจะเห็นมันเป็นเหมือนแถบสีขาวสว่างสุกใสแถบหนึ่งพาดอยู่บนฟากฟ้าจากข้าง หนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่ง มีดาวประมาณแสนล้านดวง มวลรวมประมาณ  9  หมื่นล้านเท่าของมวลดวงอาทิตย์  แบ่งเป็น  3  ส่วน ดังนี้               1.  จาน  ( Disk)               2.  ส่วนโป่ง  ( Bulge)                 3.  เฮโล  ( Halo)
              1.  จาน  ( Disk)   ประกอบด้วยแขนของกาแล็กซี มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ  100,000  ปีแสง หนาประมาณ  1,000 – 2,000  ปีแสง มีดาวฤกษ์ประมาณ  400,000  ล้านดวง องค์ประกอบหลักเป็นฝุ่น ก๊าซ และประชากรดาวประเภทหนึ่ง  ( Population I)  ซึ่งมีสเปคตรัมของโลหะอยู่มาก               2.  ส่วนโป่ง  ( Bulge)   คือบริเวณใจกลางของกาแล็กซี มีขนาดประมาณ  6,000  ปีแสง มีฝุ่นและก๊าซเพียงเล็กน้อย องค์ประกอบหลัก เป็นประชากรดาวประเภทหนึ่งที่มีอายุมาก และประชากรดาวประเภทสอง  ( Population II)  ซึ่งเป็นดาวเก่าแก่แต่มีโลหะเพียงเล็กน้อย                  3.  เฮโล  ( Halo)   อยู่ล้อมรอบส่วนโป่งของกาแล็กซี  มีองค์ประกอบหลักเป็น “ กระจุกดาวทรงกลม ”   ( Global Cluster)  จำนวนมาก  แต่ละกระจุกประกอบด้วยดาวฤกษ์นับล้านดวง ล้วนเป็นประชากรดาวประเภทสอง  นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่า กระจุกดาวทรงกลมเป็นโครงสร้างเก่าของกาแล็กซี เพราะมันโคจรขึ้นลงผ่านส่วนโป่งของกาแล็กซี 
  กาแล็กซีเพื่อนบ้าน กาแล็กซีเพื่อนบ้าน คือ กาแล็กซีที่มองเห็นด้วยตาเปล่า ได้แก่   กาแล็กซีแอนโดรเมดา   กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่  และ กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก  
กาแล็กซีแอนโดรเมดา  กาแล็กซีแอนโดรมีดา  หรือที่เรียกสั้น ๆ เป็นรหัสว่า  M31  กาแล็กซีแอนดรอมีดาเป็นกาแล็กซีรูปเกลียว  ( Spiral galaxy)  คือมีลักษณะกลมแบน เหมือนจานสองใบประกบกัน มีแขนเกลียวยื่นออกมา คล้าย ๆ กันกับ กาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา และยังเป็นกาแล็กซีขนาดใหญ่ ที่อยู่ใกล้ทางช้างเผือก ของเรามากที่สุด  ( คืออยู่ห่างไปเพียง  2.2 ล้านปีแสง )   คนแรกที่สามารถวัดระยะทาง จากโลกไปถึง กาแล็กซีแอนดรอมีดาได้ คือเอ็ดวิน ฮับเบิล  ( ซึ่งต่อมา กล้องโทรทรรศน์ลอยฟ้าฮับเบิล ก็ตั้งชื่อตามชายผู้นี้ )  เขาแสดงให้เห็นว่า ระยะทางจากโลกไปยังกาแล็กซีแอนดรอมีดานั้น มากกว่าขนาดของกาแล็คซีทาง ช้างเผือก ดังนั้น กาแล็กซีแอนดรอมีดาจึงอยู่นอกทางช้างเผือกของเรา  ( เป็นอีกกาแล็คซีหนึ่งต่างหาก )  และมีขนาดใหญ่มาก ๆถ้าถ่ายภาพกาแล็กซี แอนโดรมีดา ด้วยกล้องดูดาวกำลังขยายสูงมาก ๆ จะพบว่า มันมีกาแล็กซีเพื่อนบ้านเล็ก ๆ เป็นฝ้าจาง ๆ อีก  2 กาแล็กซี คือ  M32(NGC 221)  และ  M110(NGC 205)
กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่  กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่  จะโคจรรอบทางช้างเผือกที่ระยะห่างประมาณ  200,000  ปีแสง เป็นกาแล็กซีแบบไร้รูปทรงหรือมีรูปร่างไม่แน่นอน มีความ สว่างมากจนสามารถมองเห็นได้คล้ายกับก้อนเมฆในยามค่ำคืน อยู่ใกล้ขอบฟ้าทิศใต้ เป็นกาแล็กซีที่อยู่ใกล้เราที่สุดกาแล็กซีแอนโดรเมดา มองเห็นอยู่ ในบริเวณท้องฟ้าทางเหนือมีรูปร่างแบบกังหัน เหมือนกาแล็กซีทางช้างเผือก กาแล็กซีแอนโดรเมดาอยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราไกลประมาณ  2  ล้านปีแสง มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  M31  หรือ  NGC 224
กาแล็กซี   แมกเจลแลนเล็ก    กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่  จะโคจรรอบทางช้างเผือกที่ระยะห่างประมาณ  200,000  ปีแสง เป็นกาแล็กซีแบบไร้รูปทรงหรือมีรูปร่างไม่แน่นอน มีความ สว่างมากจนสามารถมองเห็นได้คล้ายกับก้อนเมฆในยามค่ำคืน อยู่ใกล้ขอบฟ้าทิศใต้ เป็นกาแล็กซีที่อยู่ใกล้เราที่สุดกาแล็กซีแอนโดรเมดา มองเห็นอยู่  ในบริเวณท้องฟ้าทางเหนือมีรูปร่างแบบกังหัน เหมือนกาแล็กซีทางช้างเผือก กาแล็กซีแอนโดรเมดาอยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราไกลประมาณ  2  ล้านปีแสง มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  M31  หรือ  NGC 224
1. กาแล็กซีกลมรีรูปไข่ (  ELLIPTICAL GALAXIES ) 2. กาแล็กซีก้นหอย หรือ แบบกังหัน (  SPIRAL GALAXIES )  3. กาแล็กซีก้นหอยคาน (  BARRED SPIRAL GALAXIES ) 4. กาแล็กซีไร้รูปร่าง (  IRREGULAR GALAXIES )  เอกภพมีกาแล็กซีหรือดาราจักรประมาณหนึ่งแสนล้านกาแล็กซี จำแนกลักษณะของกาแล็กซี ได้  4  ประเภท
 
2.  กาแล็กซีก้นหอย หรือ แบบกังหัน  (  SPIRAL GALAXIES )  มีบริเวณตรงกลางสว่างและมีแขน แยกออกเป็น  3  ระดับ ดังนี้  1 )  จุดตรงกลางสว่าง มีแขนหลายแขนใกล้ชิดกัน เรียกว่า สไปรัล เอส เอ  2 )  จุดกลางสว่างไม่มาก มีแขนหลวมๆ เรียกว่า สไปรัล เอส บี เช่น กาแล็กซีทางช้างเผือกและแอนโดรเมด้า  3 )  จุดกลางไม่เด่นชัด มีแขนแยกออกจากกัน เรียกว่า สไปรัล เอส ซี              
3.  กาแล็กซีก้นหอยคาน  (  BARRED SPIRAL GALAXIES )  มีลักษณะที่มีแกนเป็นศูนย์กลาง ที่ปลายของแกนทั้งสองข้างมีแขนต่อออกไปเป็นกังหัน แบ่งได้เป็น  3  ระดับ ดังนี้   1 )  แกนกลางและแขนสว่างชัดเจน เรียกว่า เอส บี เอ   2 )  แกนกลางสว่างไม่มาก และ มีแขนหลวมๆ เรียกว่า เอส บี บี   3 )  แกนกลางไม่ชัดเจน และ มีแขนหลวมๆที่แยกจากกัน เรียกว่า เอส บี ซี
4.  กาแล็กซีไร้รูปร่าง  (  IRREGULAR GALAXIES )  มีลักษณะที่แตกต่างไปจาก  3  แบบข้างต้น มีอยู่น้อยมากในเอกภพ เช่น กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่และเล็ก
จุดจบของเอกภพ มี 3  แบบ ใหญ่ ๆ ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นโดยรวมของเอกภพ  (the universe’ s overall density)    นักดาราศาสตร์ใช้สัญลักษณ์ว่า  ซึ่งมีความสำคัญมาก เนื่องจากเป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดลักษณะของเอกภพ ดังนี้ เอกภพปิด  (Closed Universe)  :  ถ้าค่า  นั่นคือ เอกภพมีความหนาแน่นของมวลสารและพลังงาน มากเพียงพอ จนแรงโน้มถ่วงสามารถเอาชนะการขยายตัวได้ ในที่สุดเอกภพจะหดตัวกลับ และถึงจุดจบที่เรียกว่า บิ๊กครันช์  (Big Crunch) ( คำว่า  crunch  หมายถึง บดเคี้ยว )
เอกภพแบน  (Flat Universe)  :  ถ้าค่า  นั่นคือ เอกภพมีความหนาแน่นของมวลสารและพลังงาน ในระดับที่ แรงโน้มถ่วง ได้ดุลกับการขยายตัว ในที่สุดเอกภพจะขยายตัว แต่ด้วยอัตราที่ช้าลงเรื่อย ๆ เอกภพเปิด  (Open Universe)  :  ถ้าค่า  นั่นคือ เอกภพมีความหนาแน่นของมวลสารและพลังงาน ต่ำเกินไป ทำให้แรงโน้มถ่วง ไม่สามารถเอาชนะการขยายตัวได้ เอกภพจะขยายตัวอย่างต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ        ค่าความหนาแน่นนี้ แม้ว่าในปัจจุบันยังไม่สามารถวัดได้อย่างแน่นอน แต่ก็มีหลักฐานบางประการชี้ให้เห็นว่า อาจมีค่า  ประมาณ  0.2  ถึง  0.3  ซึ่งถ้าเป็นเช่นนั้นจริง ก็หมายความว่า เรากำลังอยู่ในเอกภพแบบเปิด    แต่ถ้าหากมีหลักฐานใหม่ ๆ ที่ขัดแย้งข้อมูลนี้ ข้อสรุปที่ได้ก็อาจเปลี่ยนแปลงได้ เช่น ถ้าหากพบว่านิวตริโน หรือ ดาวแคระสีน้ำตาลทั้งหมดมีมวลรวมกันมากพอ หรือ พบสสารมืด  (dark matter)  ในรูปแบบอื่น เอกภพก็อาจจะเป็นเอกภพปิดก็เป็นได้  จุดจบของเอกภพ  ( ต่อ )
ข้อสอบก่อน  –  หลังเรียน 1. ทฤษฎีที่อธิบายเกี่ยวกับการกำเนิดของเอกภพ ที่เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน คือทฤษฎีอะไร   ก .   เอกภพ  ข .   บิกแบง  ค .   สัมพันธภาพ   ง .   ดาราศาสตร์ 2.   ทฤษฎีตามข้อ  1  ได้อธิบายหลักการสำคัญไว้ว่าอย่างไร   ก .   พระเจ้าเป็นผู้สร้าง  ข .   ธรรมชาติเป็นผู้สร้าง   ค .   มวลเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานได้  ง .   พลังงานเปลี่ยนรูปเป็นมวลได้
3. อนุภาคมูลฐานที่มีขนาดเล็กที่สุด ในการให้กำเนิดเอกภพ เรียกว่าอะไร   ก .   ควาร์ก  ข .   โปรตอน   ค .   นิวเคลียส   ง .   อิเล็กตรอน  4. เอกภพ มีอายุประมาณเท่าไร   ก . 15,000  ล้านปี  ข . 10,000  ล้านปี  ค . 5,000  ล้านปี  ง . 1,000  ล้านปี 5. เอกภพ มีรัศมีไม่น้อยกว่าเท่าไร  ก . 15,000  ล้านปีแสง  ข . 10,000  ล้านปี แสง  ค . 5,000  ล้านปีแสง  ง . 1,000  ล้านปีแสง ข้อสอบก่อน  –  หลังเรียน ( ต่อ )
ข้อสอบก่อน  –  หลังเรียน ( ต่อ ) 6.   ปัจจุบันนี้เอกภพ มีการเคลื่อนที่อย่างไร  ก .   อยู่นิ่ง    ข .   เคลื่อนที่เข้ามารวมกัน  ค .  ขยายตัวออกจากกัน  ง . ยังไม่มีข้อมูล 7. การเรียงลำดับจากสิ่งที่มีขนาดเล็กไปหาขนาดใหญ่ ในข้อใดถูกต้อง  ก .   กาแล็กซี ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ เอกภพ  ข .     ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ กาแล็กซี เอกภพ   ค . กาแล็กซี ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ เอกภพ  ง .   ดาวฤกษ์ กาแล็กซี ดาวเคราะห์ เอกภพ
ข้อสอบก่อน  –  หลังเรียน ( ต่อ ) 8. ระบบสุริยะ อยู่ในกาแล็กซีใด  ก .   กังหัน   ข .   ทางช้างเผือก  ค .  แอนโอรเมดา  ง . แมกเจลแลนง 9. กาแล็กซีของเรา สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าในคืนเดือนมืด อยู่ในทิศใด  ก .   ใต้    ข .   เหนือ  ค .  ตะวันตก  ง . ตะวันออก 10. กาแล็กซี หนึ่ง ๆ มีรัศมีประมาณเท่าไร  ก 150,000  ปีแสง ข    100,000  ปีแสง ค . 50,000  ปีแสง ง .      10,000  ปีแสง
เฉลยข้อสอบก่อน  –  หลังเรียน 1.  ตอบข้อ   2   2.  ตอบข้อ  4 3.  ตอบข้อ  1 4.  ตอบข้อ  1 5.  ตอบข้อ  1 6.  ตอบข้อ  3 7.  ตอบข้อ  2 8.  ตอบข้อ  2 9.  ตอบข้อ  1 10.   ตอบข้อ  1
บรรณานุกรม http://www.rmutphysics.com/charud/naturemystery/sci3/universe/universe_infinity.htm http://www.rmutphysics.com/charud/naturemystery/sci3/universe/universe1.htm www.thaigoodview.com/node/80068 www.thaigoodview.com/node/12340 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A0%E0%B8%9E  http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%87
ขอบคุณสำหรับการรับชม

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
Phattarawan Wai
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
Gwang Mydear
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
Jariya Jaiyot
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
KuNg Pw
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wann Rattiya
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
soysuwanyuennan
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
Enormity_tung
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
Natthaya Khaothong
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
พัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Ast.c2560.5tp
Ast.c2560.5tpAst.c2560.5tp
Ast.c2560.5tp
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 

Viewers also liked

บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
narongsakday
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
mayureesongnoo
 

Viewers also liked (10)

บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
Microsoft word ระบบสุริยะ
Microsoft word   ระบบสุริยะMicrosoft word   ระบบสุริยะ
Microsoft word ระบบสุริยะ
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
 
ดาราศาสตร
ดาราศาสตร ดาราศาสตร
ดาราศาสตร
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 

Similar to Universe

บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
Sakchai Sodsejan
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
Wichai Likitponrak
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.
pangpon
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
kalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
ratchaneeseangkla
 
กำเนิดหลุมดำ
กำเนิดหลุมดำกำเนิดหลุมดำ
กำเนิดหลุมดำ
Kanjana K'zz
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
Wichai Likitponrak
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
Un Sn
 

Similar to Universe (20)

บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
 
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียนแบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
Univers1
Univers1Univers1
Univers1
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
กำเนิดหลุมดำ
กำเนิดหลุมดำกำเนิดหลุมดำ
กำเนิดหลุมดำ
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 

Universe

  • 1. เอกภพ ( Universe ) โดย นักเรียนระดับชั้น ม .6 / 1 กลุ่มที่ 5 เป็นส่วนหนึ่งของวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ภาคเรียนที่ 2 / 2554 โรงเรียน เซนต์โยเซฟ บางนา
  • 2. วัตถุประสงค์ ฝึกฝนการทำงานเป็นทีม ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นสื่อการเรียนแหล่งข้อมูลทางการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเอกภพที่สามารถศึกษาได้สะดวก และรวดเร็ว เป็นการฝึกทักษะทางกระบวนการทำงานของการจัดทำสื่อการเรียนรู้ เป็นสื่อการเรียนรู้ที่น่าสนใจ และ สามารถเข้าใจถึงข้อมูลได้มากขึ้นจากรูปภาพ และเนื้อหา
  • 3. เอกภพ ( Universe ) เอกภพ ( Universe ) คืออะไร ? เอกภพ ( Universe ) เกิดขึ้นได้อย่างไร? ทฤษฎีบิกแบง ( Big-Bang Theory ) Animation การกำเนิดเอกภพ Animation การกำเนิดเอกภพ ( 2 ) ความคิดเรื่องเอกภพของคนในยุคก่อน ชาวฮินดู ชาวอิยิปต์ ชาวกรีก ชาวกรีก (พ.ศ. 159-218 ) ชาวยุโรปกลาง(พ . ศ . 2000) กาแล็กซี ( GALAXY) คืออะไร ? กาแลคซี่ทางช้างเผือก( Milky Way)   กาแล็กซีเพื่อนบ้าน ประเภทของกาแล็กซี่ กาแล็กซีกลมรีรูปไข่ กาแล็กซีก้นหอย หรือ แบบกังหัน กาแล็กซีก้นหอยคาน กาแล็กซีไร้รูปร่าง จุดจบของเอกภพ เอกภพปิด (Closed Universe) เอกภพแบน (Flat Universe) เอกภพปิด (Open Universe ) คำถามก่อน - หลังเรียน เฉลยคำถามก่อน - หลังเรียน บรรณานุกรม
  • 4. เอกภพ ( Universe ) คืออะไร ? เอกภพ หรือ จักรวาล ( Universe ) คือ ระบบที่รวบรวมทุกสิ่งทุกอย่างในธรรมชาติ ข้อมูลสำคัญของเอกภพคือ เส้นสเปกตรัมของดาราจักรเลื่อนไปทางสีแดงทำให้รู้ว่าเอกภพกำลังขยายตัว เอกภพมีรัศมีไม่น้อยกว่า 15,000 ล้านปีแสง มีอายุประมาณ 15,000 ล้านปี เอกภพจึงเป็นปริมณฑลอันกว้างใหญ่ไพศาล ไม่มีขอบเขต ทุกสิ่งทุกอย่างต้องอยู่ในเอกภพทั้งสิ้น ในเอกภพประกอบไปด้วยหลายๆ กลุ่มดาว หรือเรียกว่า กาแลคซี่ ( Galaxy) ภายในกาแลคซี่ประกอบไปด้วยดวงดาวมากมายหลายร้อยล้านดวง ทั้งดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ฝุ่นและกลุ่มเนบิวลา เช่นเดียวกับกลุ่มดาวที่โลกเราอยู่คือ กาแลคซี่ทางช้างเผือก( Milky Way)
  • 5. เอกภพ ( Universe ) เกิดขึ้นได้อย่างไร ? นักดาราศาสตร์ยังไม่ทราบแน่นชัดว่าเอกภพมาจากไหน เกิดขึ้นได้อย่างไร แต่มีสรุปทฤษฎีที่กล่าวถึงการกำเนิดเอกภพได้หลายทฤษฎี แต่ที่ยอมรับ กันมากก็คือ ทฤษฎีบิกแบง ( Big-Bang Theory )
  • 6. ทฤษฎีบิกแบง หรือ ทฤษฎีระเบิดใหญ่   เป็นการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ จากพลังงานบางอย่าง สาดกระจายมวลสารทั้งหลาย ออกไปทุกทิศทาง แล้วเริ่มเย็นตัวลง จับกลุ่มเป็น ก้อนก๊าซ ขนาดใหญ่ จนยุบตัวลงเป็น กาแล็กซี และดาวฤกษ์ ได้ก่อรูปขึ้นมาในกาแล็กซีเหล่านั้น ประมาณหนึ่งหมื่นล้านปี หลังจากการระเบิดใหญ่ ที่เกลียวของของ กาแล็กซีทางช้างเผือก ดวงอาทิตย์ โลก และดาวเคราะห์ดวงอื่น ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นระบบสุริยะ History of the universe ทฤษฎีบิกแบง ( Big-Bang Theory )
  • 9. เอกภพของชาวฮินดู ชาวฮินดูโบราณเชื่อว่าเทพวิษณุผู้มีเศียรเป็นช้างคือผู้สร้างโลก จึงอธิบายเอกภพว่า มีช้าง 4 เชือก ยืนแบกโลก ไว้อยู่บนหลังเต่า เมื่อเกิดแผ่นดินไหว เชื่อว่าเป็นเพราะช้างขยับตัว เอกภพยังถูกล้อมรอบ ด้วยงูเห่าที่ขดหัว จรดหางเป็นวงกลม ซึ่งงูเป็นสัญลักษณ์แทนน้ำ ความคิดเรื่องเอกภพของคนในยุคก่อน
  • 10. ความคิดเรื่องเอกภพของคนในยุคก่อน ( ต่อ ) เอกภพของชาวอิยิปต์      ชาวอิยิปต์โบราณ   อธิบายเอกภพด้วยโลกซึ่งแทนด้วยเทพชื่อ เจ๊บ ( Geb ) ผู้มีใบไม้สีเขียวคลุมร่างนอนราบ อยู่เบื้องล่าง มีเทพธิดาแห่งท้องฟ้าชื่อ นู้ด ( Nut ) ผู้ประดับร่างกายด้วยดวงดาวยืนโอบโค้งอยู่ โดยมีเทพ แห่งอากาศชื่อ ชู ( Shu ) ยกแขนทั้ง สองค้ำอยู่ระหว่างเทพเจ๊บและนู้ด ส่วนเทพรา ( Ra ) แล่นเรือเคลื่อน ข้ามท้องฟ้าขึ้นและตกอยู่ทุกวัน
  • 11. ความคิดเรื่องเอกภพของคนในยุคก่อน ( ต่อ ) เอกภพของชาวกรีก ชาวกรีกโบราณ เชื่อว่า เอกภพเป็นวงกลมกลวงใสขนาดมหึมา มีดาวประดับอยู่รอบทรงกลม โลกเป็นแผ่นกลม ลอยอยู่ในน้ำ ดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์เคลื่อนขึ้นและตกจากแผ่นน้ำอยู่ทุกวัน
  • 12.
  • 13. ความคิดเรื่องเอกภพของคนในยุคก่อน ( ต่อ ) เอกภพของชาวยุโรปยุคกลาง ( พ . ศ . 2000 )   ภาพแกะไม้อธิบายเอกภพคือทรงกลมกลวงใส ประกอบด้วยดาวฤกษ์ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และเหล่า ดาวเคราะห์ทั้งหลาย มีธาตุทั้ง 4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ก่อเกิดกลไกธรรมชาติของสรรพสิ่งบนโลก
  • 14.     กาแล็กซี ( GALAXY) คืออะไร ?
  • 15.
  • 16. กาแลคซี่ทางช้างเผือก ( Milky Way) มีลักษณะกาแล็กซีแบบกังหัน เป็นกาแล็กซีที่เราตั้งรกรากอยู่ และเนื่องจากว่าทางช้างเผือกนี้มีส่วนปลายด้านหนึ่งเป็นแนวราบซึ่งเป็นที่ อยู่ของดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์ทั้งหลายที่เป็นดาวบริวาร ทำให้เราได้เห็นแต่เฉพาะด้านข้างของมันเมื่อมองไปบนฟ้าในเวลากลางคืน และจะเห็นมันเป็นเหมือนแถบสีขาวสว่างสุกใสแถบหนึ่งพาดอยู่บนฟากฟ้าจากข้าง หนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่ง มีดาวประมาณแสนล้านดวง มวลรวมประมาณ 9 หมื่นล้านเท่าของมวลดวงอาทิตย์  แบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้             1.  จาน ( Disk)            2.  ส่วนโป่ง ( Bulge)              3.  เฮโล ( Halo)
  • 17.             1.  จาน ( Disk) ประกอบด้วยแขนของกาแล็กซี มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปีแสง หนาประมาณ 1,000 – 2,000 ปีแสง มีดาวฤกษ์ประมาณ 400,000 ล้านดวง องค์ประกอบหลักเป็นฝุ่น ก๊าซ และประชากรดาวประเภทหนึ่ง ( Population I) ซึ่งมีสเปคตรัมของโลหะอยู่มาก              2.  ส่วนโป่ง ( Bulge) คือบริเวณใจกลางของกาแล็กซี มีขนาดประมาณ 6,000 ปีแสง มีฝุ่นและก๊าซเพียงเล็กน้อย องค์ประกอบหลัก เป็นประชากรดาวประเภทหนึ่งที่มีอายุมาก และประชากรดาวประเภทสอง ( Population II) ซึ่งเป็นดาวเก่าแก่แต่มีโลหะเพียงเล็กน้อย                3.  เฮโล ( Halo) อยู่ล้อมรอบส่วนโป่งของกาแล็กซี  มีองค์ประกอบหลักเป็น “ กระจุกดาวทรงกลม ” ( Global Cluster) จำนวนมาก  แต่ละกระจุกประกอบด้วยดาวฤกษ์นับล้านดวง ล้วนเป็นประชากรดาวประเภทสอง  นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่า กระจุกดาวทรงกลมเป็นโครงสร้างเก่าของกาแล็กซี เพราะมันโคจรขึ้นลงผ่านส่วนโป่งของกาแล็กซี 
  • 18.   กาแล็กซีเพื่อนบ้าน กาแล็กซีเพื่อนบ้าน คือ กาแล็กซีที่มองเห็นด้วยตาเปล่า ได้แก่ กาแล็กซีแอนโดรเมดา กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ และ กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก  
  • 19. กาแล็กซีแอนโดรเมดา กาแล็กซีแอนโดรมีดา หรือที่เรียกสั้น ๆ เป็นรหัสว่า M31 กาแล็กซีแอนดรอมีดาเป็นกาแล็กซีรูปเกลียว ( Spiral galaxy) คือมีลักษณะกลมแบน เหมือนจานสองใบประกบกัน มีแขนเกลียวยื่นออกมา คล้าย ๆ กันกับ กาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา และยังเป็นกาแล็กซีขนาดใหญ่ ที่อยู่ใกล้ทางช้างเผือก ของเรามากที่สุด ( คืออยู่ห่างไปเพียง 2.2 ล้านปีแสง ) คนแรกที่สามารถวัดระยะทาง จากโลกไปถึง กาแล็กซีแอนดรอมีดาได้ คือเอ็ดวิน ฮับเบิล ( ซึ่งต่อมา กล้องโทรทรรศน์ลอยฟ้าฮับเบิล ก็ตั้งชื่อตามชายผู้นี้ ) เขาแสดงให้เห็นว่า ระยะทางจากโลกไปยังกาแล็กซีแอนดรอมีดานั้น มากกว่าขนาดของกาแล็คซีทาง ช้างเผือก ดังนั้น กาแล็กซีแอนดรอมีดาจึงอยู่นอกทางช้างเผือกของเรา ( เป็นอีกกาแล็คซีหนึ่งต่างหาก ) และมีขนาดใหญ่มาก ๆถ้าถ่ายภาพกาแล็กซี แอนโดรมีดา ด้วยกล้องดูดาวกำลังขยายสูงมาก ๆ จะพบว่า มันมีกาแล็กซีเพื่อนบ้านเล็ก ๆ เป็นฝ้าจาง ๆ อีก 2 กาแล็กซี คือ M32(NGC 221) และ M110(NGC 205)
  • 20. กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ จะโคจรรอบทางช้างเผือกที่ระยะห่างประมาณ 200,000 ปีแสง เป็นกาแล็กซีแบบไร้รูปทรงหรือมีรูปร่างไม่แน่นอน มีความ สว่างมากจนสามารถมองเห็นได้คล้ายกับก้อนเมฆในยามค่ำคืน อยู่ใกล้ขอบฟ้าทิศใต้ เป็นกาแล็กซีที่อยู่ใกล้เราที่สุดกาแล็กซีแอนโดรเมดา มองเห็นอยู่ ในบริเวณท้องฟ้าทางเหนือมีรูปร่างแบบกังหัน เหมือนกาแล็กซีทางช้างเผือก กาแล็กซีแอนโดรเมดาอยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราไกลประมาณ 2 ล้านปีแสง มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า M31 หรือ NGC 224
  • 21. กาแล็กซี แมกเจลแลนเล็ก   กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ จะโคจรรอบทางช้างเผือกที่ระยะห่างประมาณ 200,000 ปีแสง เป็นกาแล็กซีแบบไร้รูปทรงหรือมีรูปร่างไม่แน่นอน มีความ สว่างมากจนสามารถมองเห็นได้คล้ายกับก้อนเมฆในยามค่ำคืน อยู่ใกล้ขอบฟ้าทิศใต้ เป็นกาแล็กซีที่อยู่ใกล้เราที่สุดกาแล็กซีแอนโดรเมดา มองเห็นอยู่ ในบริเวณท้องฟ้าทางเหนือมีรูปร่างแบบกังหัน เหมือนกาแล็กซีทางช้างเผือก กาแล็กซีแอนโดรเมดาอยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราไกลประมาณ 2 ล้านปีแสง มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า M31 หรือ NGC 224
  • 22. 1. กาแล็กซีกลมรีรูปไข่ ( ELLIPTICAL GALAXIES ) 2. กาแล็กซีก้นหอย หรือ แบบกังหัน ( SPIRAL GALAXIES ) 3. กาแล็กซีก้นหอยคาน ( BARRED SPIRAL GALAXIES ) 4. กาแล็กซีไร้รูปร่าง ( IRREGULAR GALAXIES ) เอกภพมีกาแล็กซีหรือดาราจักรประมาณหนึ่งแสนล้านกาแล็กซี จำแนกลักษณะของกาแล็กซี ได้ 4 ประเภท
  • 23.  
  • 24. 2. กาแล็กซีก้นหอย หรือ แบบกังหัน ( SPIRAL GALAXIES ) มีบริเวณตรงกลางสว่างและมีแขน แยกออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1 ) จุดตรงกลางสว่าง มีแขนหลายแขนใกล้ชิดกัน เรียกว่า สไปรัล เอส เอ 2 ) จุดกลางสว่างไม่มาก มีแขนหลวมๆ เรียกว่า สไปรัล เอส บี เช่น กาแล็กซีทางช้างเผือกและแอนโดรเมด้า 3 ) จุดกลางไม่เด่นชัด มีแขนแยกออกจากกัน เรียกว่า สไปรัล เอส ซี              
  • 25. 3. กาแล็กซีก้นหอยคาน ( BARRED SPIRAL GALAXIES ) มีลักษณะที่มีแกนเป็นศูนย์กลาง ที่ปลายของแกนทั้งสองข้างมีแขนต่อออกไปเป็นกังหัน แบ่งได้เป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1 ) แกนกลางและแขนสว่างชัดเจน เรียกว่า เอส บี เอ 2 ) แกนกลางสว่างไม่มาก และ มีแขนหลวมๆ เรียกว่า เอส บี บี 3 ) แกนกลางไม่ชัดเจน และ มีแขนหลวมๆที่แยกจากกัน เรียกว่า เอส บี ซี
  • 26. 4. กาแล็กซีไร้รูปร่าง ( IRREGULAR GALAXIES ) มีลักษณะที่แตกต่างไปจาก 3 แบบข้างต้น มีอยู่น้อยมากในเอกภพ เช่น กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่และเล็ก
  • 27. จุดจบของเอกภพ มี 3 แบบ ใหญ่ ๆ ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นโดยรวมของเอกภพ (the universe’ s overall density) นักดาราศาสตร์ใช้สัญลักษณ์ว่า ซึ่งมีความสำคัญมาก เนื่องจากเป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดลักษณะของเอกภพ ดังนี้ เอกภพปิด (Closed Universe) : ถ้าค่า นั่นคือ เอกภพมีความหนาแน่นของมวลสารและพลังงาน มากเพียงพอ จนแรงโน้มถ่วงสามารถเอาชนะการขยายตัวได้ ในที่สุดเอกภพจะหดตัวกลับ และถึงจุดจบที่เรียกว่า บิ๊กครันช์ (Big Crunch) ( คำว่า crunch หมายถึง บดเคี้ยว )
  • 28. เอกภพแบน (Flat Universe) : ถ้าค่า นั่นคือ เอกภพมีความหนาแน่นของมวลสารและพลังงาน ในระดับที่ แรงโน้มถ่วง ได้ดุลกับการขยายตัว ในที่สุดเอกภพจะขยายตัว แต่ด้วยอัตราที่ช้าลงเรื่อย ๆ เอกภพเปิด (Open Universe) : ถ้าค่า นั่นคือ เอกภพมีความหนาแน่นของมวลสารและพลังงาน ต่ำเกินไป ทำให้แรงโน้มถ่วง ไม่สามารถเอาชนะการขยายตัวได้ เอกภพจะขยายตัวอย่างต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ        ค่าความหนาแน่นนี้ แม้ว่าในปัจจุบันยังไม่สามารถวัดได้อย่างแน่นอน แต่ก็มีหลักฐานบางประการชี้ให้เห็นว่า อาจมีค่า ประมาณ 0.2 ถึง 0.3 ซึ่งถ้าเป็นเช่นนั้นจริง ก็หมายความว่า เรากำลังอยู่ในเอกภพแบบเปิด แต่ถ้าหากมีหลักฐานใหม่ ๆ ที่ขัดแย้งข้อมูลนี้ ข้อสรุปที่ได้ก็อาจเปลี่ยนแปลงได้ เช่น ถ้าหากพบว่านิวตริโน หรือ ดาวแคระสีน้ำตาลทั้งหมดมีมวลรวมกันมากพอ หรือ พบสสารมืด (dark matter) ในรูปแบบอื่น เอกภพก็อาจจะเป็นเอกภพปิดก็เป็นได้ จุดจบของเอกภพ ( ต่อ )
  • 29. ข้อสอบก่อน – หลังเรียน 1. ทฤษฎีที่อธิบายเกี่ยวกับการกำเนิดของเอกภพ ที่เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน คือทฤษฎีอะไร ก . เอกภพ ข . บิกแบง ค . สัมพันธภาพ ง . ดาราศาสตร์ 2. ทฤษฎีตามข้อ 1 ได้อธิบายหลักการสำคัญไว้ว่าอย่างไร ก . พระเจ้าเป็นผู้สร้าง ข . ธรรมชาติเป็นผู้สร้าง ค . มวลเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานได้ ง . พลังงานเปลี่ยนรูปเป็นมวลได้
  • 30. 3. อนุภาคมูลฐานที่มีขนาดเล็กที่สุด ในการให้กำเนิดเอกภพ เรียกว่าอะไร ก . ควาร์ก ข . โปรตอน ค . นิวเคลียส ง . อิเล็กตรอน 4. เอกภพ มีอายุประมาณเท่าไร ก . 15,000 ล้านปี ข . 10,000 ล้านปี ค . 5,000 ล้านปี ง . 1,000 ล้านปี 5. เอกภพ มีรัศมีไม่น้อยกว่าเท่าไร ก . 15,000 ล้านปีแสง ข . 10,000 ล้านปี แสง ค . 5,000 ล้านปีแสง ง . 1,000 ล้านปีแสง ข้อสอบก่อน – หลังเรียน ( ต่อ )
  • 31. ข้อสอบก่อน – หลังเรียน ( ต่อ ) 6. ปัจจุบันนี้เอกภพ มีการเคลื่อนที่อย่างไร ก . อยู่นิ่ง ข . เคลื่อนที่เข้ามารวมกัน ค . ขยายตัวออกจากกัน ง . ยังไม่มีข้อมูล 7. การเรียงลำดับจากสิ่งที่มีขนาดเล็กไปหาขนาดใหญ่ ในข้อใดถูกต้อง ก . กาแล็กซี ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ เอกภพ ข .   ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ กาแล็กซี เอกภพ ค . กาแล็กซี ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ เอกภพ ง . ดาวฤกษ์ กาแล็กซี ดาวเคราะห์ เอกภพ
  • 32. ข้อสอบก่อน – หลังเรียน ( ต่อ ) 8. ระบบสุริยะ อยู่ในกาแล็กซีใด ก . กังหัน ข . ทางช้างเผือก ค . แอนโอรเมดา ง . แมกเจลแลนง 9. กาแล็กซีของเรา สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าในคืนเดือนมืด อยู่ในทิศใด ก . ใต้ ข . เหนือ ค . ตะวันตก ง . ตะวันออก 10. กาแล็กซี หนึ่ง ๆ มีรัศมีประมาณเท่าไร ก 150,000 ปีแสง ข    100,000 ปีแสง ค . 50,000 ปีแสง ง .    10,000 ปีแสง
  • 33. เฉลยข้อสอบก่อน – หลังเรียน 1. ตอบข้อ 2 2. ตอบข้อ 4 3. ตอบข้อ 1 4. ตอบข้อ 1 5. ตอบข้อ 1 6. ตอบข้อ 3 7. ตอบข้อ 2 8. ตอบข้อ 2 9. ตอบข้อ 1 10. ตอบข้อ 1
  • 34. บรรณานุกรม http://www.rmutphysics.com/charud/naturemystery/sci3/universe/universe_infinity.htm http://www.rmutphysics.com/charud/naturemystery/sci3/universe/universe1.htm www.thaigoodview.com/node/80068 www.thaigoodview.com/node/12340 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A0%E0%B8%9E http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%87