SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
รายวิชาคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การ                                                รหัสใบความรู้ที่ 1.1
                                           ใบความรู้
วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น                                         ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6
1. จุดประสงค์การเรียนรู้
        1.1 หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้้าหนักและค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวมได้
2. สาระส้าคัญ
        ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้้าหนักเป็นการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่ข้อมูลแต่ละตัวมีความส้าคัญไม่เท่ากัน
        ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวมเป็นการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลหลายชุดที่หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตไว้แล้ว
3. สาระการเรียนรู้

                                   ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้้าหนัก

        การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้้าหนักนี้ใช้ในกรณีข้อมูลแต่ละค่ามีความส้าคัญไม่เท่ากัน ซึ่งมี
วิธีการหาดังนี้
        ให้ W1 , W2 , W3 , …, WN เป็นความส้าคัญหรือน้้าหนักถ่วงของค่า จากการสังเกต X1 , X2 ,
X3 , …, XN ตามล้าดับแล้ว

                                                    W 1X 1 W 2X       W 3X             ...  W       X
           ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้้าหนัก    x    =                  2                3               N       N

                                                            W 1 W     2
                                                                           W   3
                                                                                     ...W   N




       หรือเขียนอย่างย่อ ๆ ได้ดังนี้
                                               = 
                                                   WX
                                          x
                                                    W
ตัวอย่างที่ 1 ในการสอบครั้งหนึ่งครูให้น้าหนักวิชาเคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา และคณิตศาสตร์
               เป็น 2 , 1 , 3 และ 4 ตามล้าดับ ถ้าวิมลสอบทั้งสี่รายวิชาได้คะแนน 65 , 70 , 80
               และ 85 ตามล้าดับ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนวิมลสอบครั้งนี้
 วิธีทา
                   รายวิชา คะแนน (X ) น้าหนัก (W)                   WX
                เคมี                65              2               130
                ฟิสิกส์             70              1                70
                ชีววิทยา            80              3               240
                คณิตศาสตร์          85              4               340
                                               W = 10  WX = 780

                        จากสูตร
                                            x    =  WX
                                                          W
                                                 =        780
                                                          10
                                                 =         78 คะแนน                ตอบ

                                       ค่าเฉลี่ยเลขคณิตร่วม

           ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม เป็นการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตจากข้อมูลหลายชุดที่มีการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตไว้แล้ว
ซึ่งมีวิธีการหาดังนี้
           ให้ x 1 , x 2 , x 3 , …, x K เป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1 , 2 , 3 ,…K
              1
                N , N , N ,…, N
                   2     3         K
                                       เป็นจ้านวนค่าจากการสังเกตในข้อมูลชุดที่ 1 , 2 , 3 … , K
                ตามล้าดับแล้ว

                                                N1X       N2X       N3X        ...  N K X
          ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม     x     =             1          2          3                   K

                                                           N 1  N 2  N 3  ... N K
หรือเขียนอย่างย่อ ๆ ได้ดังนี้
                                                              = 
                                                                  N X
                                                   x
                                                                       N

ตัวอย่างที่ 2     ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตอายุของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 , 5 และ 6 ของโรงเรียน
                  แห่งหนึ่งเป็น 15 , 17 และ 19 ตามล้าดับ และนักเรียนแห่งนี้มีนักเรียนแต่ละชั้น
                  เป็น 80 , 70 และ 50 ตามล้าดับ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตอายุของนักเรียนรวมทั้งสามชั้น
                                                                      N2X          N3X
วิธีทา                จากสูตร x          รวม    =      N1X        1             2              3

                                                                  N1  N2  N3

                      จากโจทย์จะได้        x   1    = 15 , x 2 = 17 และ                x   3       = 19
                                           N1       = 80 , N = 70 และ  2
                                                                                       N   3
                                                                                                   = 50

                                                                      ( 80  15 )  ( 70  17 )  ( 50  19 )
                                     x             รวม       =
                                                                                   80  70  50
                                                                           1 , 200  1 ,190  950
                                                          =
                                                                                     200
                                           = 16.7 ปี
                     อายุเฉลี่ยของนักเรียนทั้งสามชั้น 16.7 ปี                                                  ตอบ

More Related Content

What's hot

Sequence and series 01
Sequence and series 01Sequence and series 01
Sequence and series 01manrak
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตaossy
 
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Seriesลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & SeriesChomsurangUpathamSchool
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6KruGift Girlz
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับaoynattaya
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมPumPui Oranuch
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม Patteera Praew
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบprapasun
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2aoynattaya
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สองSuputtra Panam
 
SEQUENCE&SERIES
SEQUENCE&SERIES SEQUENCE&SERIES
SEQUENCE&SERIES Jeengsssh_m
 

What's hot (18)

Sequence and series 01
Sequence and series 01Sequence and series 01
Sequence and series 01
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิต
 
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Seriesลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
Series
SeriesSeries
Series
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรม
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
 
SEQUENCE&SERIES
SEQUENCE&SERIES SEQUENCE&SERIES
SEQUENCE&SERIES
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1

Similar to ใบความรู้ที่ 1 (11)

6 statistic
6 statistic6 statistic
6 statistic
 
สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ลองทำ
สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ลองทำสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ลองทำ
สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ลองทำ
 
Contraction Mapping
Contraction MappingContraction Mapping
Contraction Mapping
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
Statistics 04
Statistics 04Statistics 04
Statistics 04
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
เอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯเอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯ
 
ใบความรู้ 7
ใบความรู้ 7ใบความรู้ 7
ใบความรู้ 7
 
7 statistic
7 statistic7 statistic
7 statistic
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551
 

ใบความรู้ที่ 1

  • 1. รายวิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การ รหัสใบความรู้ที่ 1.1 ใบความรู้ วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.1 หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้้าหนักและค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวมได้ 2. สาระส้าคัญ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้้าหนักเป็นการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่ข้อมูลแต่ละตัวมีความส้าคัญไม่เท่ากัน ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวมเป็นการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลหลายชุดที่หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตไว้แล้ว 3. สาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้้าหนัก การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้้าหนักนี้ใช้ในกรณีข้อมูลแต่ละค่ามีความส้าคัญไม่เท่ากัน ซึ่งมี วิธีการหาดังนี้ ให้ W1 , W2 , W3 , …, WN เป็นความส้าคัญหรือน้้าหนักถ่วงของค่า จากการสังเกต X1 , X2 , X3 , …, XN ตามล้าดับแล้ว W 1X 1 W 2X W 3X  ...  W X ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้้าหนัก x = 2 3 N N W 1 W 2 W 3  ...W N หรือเขียนอย่างย่อ ๆ ได้ดังนี้ =  WX x W
  • 2. ตัวอย่างที่ 1 ในการสอบครั้งหนึ่งครูให้น้าหนักวิชาเคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา และคณิตศาสตร์ เป็น 2 , 1 , 3 และ 4 ตามล้าดับ ถ้าวิมลสอบทั้งสี่รายวิชาได้คะแนน 65 , 70 , 80 และ 85 ตามล้าดับ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนวิมลสอบครั้งนี้ วิธีทา รายวิชา คะแนน (X ) น้าหนัก (W) WX เคมี 65 2 130 ฟิสิกส์ 70 1 70 ชีววิทยา 80 3 240 คณิตศาสตร์ 85 4 340  W = 10  WX = 780 จากสูตร x =  WX W = 780 10 = 78 คะแนน ตอบ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตร่วม ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม เป็นการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตจากข้อมูลหลายชุดที่มีการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตไว้แล้ว ซึ่งมีวิธีการหาดังนี้ ให้ x 1 , x 2 , x 3 , …, x K เป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1 , 2 , 3 ,…K 1 N , N , N ,…, N 2 3 K เป็นจ้านวนค่าจากการสังเกตในข้อมูลชุดที่ 1 , 2 , 3 … , K ตามล้าดับแล้ว N1X N2X N3X  ...  N K X ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม x = 1 2 3 K N 1  N 2  N 3  ... N K
  • 3. หรือเขียนอย่างย่อ ๆ ได้ดังนี้ =  N X x N ตัวอย่างที่ 2 ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตอายุของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 , 5 และ 6 ของโรงเรียน แห่งหนึ่งเป็น 15 , 17 และ 19 ตามล้าดับ และนักเรียนแห่งนี้มีนักเรียนแต่ละชั้น เป็น 80 , 70 และ 50 ตามล้าดับ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตอายุของนักเรียนรวมทั้งสามชั้น N2X N3X วิธีทา จากสูตร x รวม = N1X 1 2 3 N1  N2  N3 จากโจทย์จะได้ x 1 = 15 , x 2 = 17 และ x 3 = 19 N1 = 80 , N = 70 และ 2 N 3 = 50 ( 80  15 )  ( 70  17 )  ( 50  19 )  x รวม = 80  70  50 1 , 200  1 ,190  950 = 200 = 16.7 ปี  อายุเฉลี่ยของนักเรียนทั้งสามชั้น 16.7 ปี ตอบ