SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
นายอิทธิเดช มูลมั่งมี

                                                       นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล

                                                            มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี




     แนวคิดของการหาจุดตรึง (fixed point) มาจากวิธีการหาผลเฉลยโดยประมาณที่เรียกวา Successive
Approximation ซึ่งเปนวิธีการหาผลเฉลยโดยการคํานวณวนรอบซ้ํา (iteration) จากความสัมพันธ
 x = T ( x ) เมื่อ n = 0 ,1, 2 ,... เมื่อการกําหนดเงื่อนไขเริ่มตน x มาให กลาวคือผลลัพธที่ไดจากการ
 n +1      n                                                     0


คํานวณในรอบกอน( n ) จะถูกสงคาไปยังรอบถัดๆไป( n + 1 ) จนกระทั่งคาของผลลัพธลูเขาสูคงที่คาหนึ่ง
เราเรียกคาคงที่นี้วา จุดตรึง
     ทฤษฎีบทการสงแบบดึงดูด (contraction mapping theorem) หรือ ทฤษฎีบทจุดตรึงของบานาค
(Banach fixed point theorem) เปนทฤษฎีบทที่อธิบายผลของการสงแบบดึงดูด (contraction mapping)
เมื่อพิจารณาบนปริภูมิเมตริกบริบูรณ (complete metric space) ซึ่งจะใหเงื่อนไขเพียงพอ (sufficient
condition) สําหรับการมีอยู (existence) และมีเพียงคาเดียว (uniqueness) ของจุดตรึง x * จากการสง T
ขางตน การคํานวณซ้ําจะทําใหลําดับ { x } ลูเขาจุดตรึง x * ดังบทนิยามตอไปนี้
                                        n




บทนิยาม 1 (Fixed point)

    ให T เปนการสงบนปริภูมิเวกเตอร   X   กลาวคือ T : X → X เรานิยาม x * ∈ X วาเปนจุดตรึง (fixed

point) ถา T (x *) = x * และนิยมเขียนแทนดวยสัญลักษณ     T x* = x*
บทนิยาม 2 (Contraction)

   ให   X = (X , d )   เปนปริภูมิเมตริก เราจะกลาววา การสง           T:X →X         เปนการสงแบบดึงดูด

(contraction mapping) ถามีจํานวนจริงบวก α < 1 ซึ่งทําให

                               d (T x , T y ) ≤ α d ( x , y )          สําหรับทุกคา   x , y∈ X

โดยที่จํานวนจริงบวก α เรียกวา คาคงที่การดึงดูด (contraction constant) ของการสง T



                                         ปริภูมิ X              x

                                                                      d(x,y)

                                         Tx
                                                      d(Tx,Ty)
                                                                          y


                                                        Ty




                        รูปที่ 1 แสดงใหเห็นตัวอยางการสงแบบดึงดูดบนปริภูมิ X ใดๆ


เมื่อพิจารณาเฉพาะกรณีที่      T :ℜ → ℜ     จากนิยามการสงแบบดึงดูดสามารถเขียนไดเปน
                                           T ( y ) − T (x )
                                                                ≤ α
                                               y−x

ซึ่งความหมายทางเรขาคณิตคือ เสนตรงที่เชื่อมระหวางสองจุดใดๆ ของฟงกชั่น T ( ⋅ ) จะตองมีความชัน

ไมเกิน α ( 0 < α < 1 หรือ 45 ) ดังรูปที่ 2
                                o
T(y)




                  T(x)                            α




                                     x                               y



                     รูปที่ 2 แสดงความหมายทางเรขาคณิตของคาคงที่การดึงดูด


    โดยอาศัยความรูทางแคลคูลัส ความชันของเสนโคงที่จุดใดๆ ก็คือคาอนุพันธของเสนโคงที่จุดนั้น
                                          dT ( x )
นั่นคือ                           0 <              ≤ α < 1
                                           dx

กลาวคือ เราสามารถกําหนดคา α ไดจากเงื่อนไขคาอนุพันธของฟงกชั่นขางตน



    ทฤษฎีบท 3 (Banach fixed point theorem หรือ Contraction Mapping Theorem)

    กําหนดปริภูมิเมตริกบริบูรณ   X = (X , d )   โดยที่   X ≠Ø   และสมมติใหการสง     T:X →X   เปนการ

สงแบบดึงดูดบนเซต    X   จะไดวาการสง    T   มีผลเฉลย   x*∈ X   เปนจุดตรึงเพียงคาเดียว
พิสูจน

   เริ่มตนโดยการกําหนดลําดับ { x }             n          และแสดงใหเห็นวา ลําดับดังกลาวเปนลําดับโคชี (Cauchy

sequence) ที่ลูเขาหาคา     x*   ซึ่งเปนจุดตรึงของการสง T ในปริภูมิเมตริกบริบูรณ                       X    และจุดตรึง   x*    ที่

ไดมีเพียงคาเดียว (uniqueness)

   โดยการเลือก      x0 ∈ X     พิจารณาการสง           x n +1 = T x n       สําหรับทุกจํานวนเต็ม n ≥ 0
            d (x x +1 , x n ) = d (T x n , Tx n −1 ) ≤ α d ( x n , x n −1 ) = α d (T x n −1 , T x n − 2 )


                            ≤ α 2 d ( x n −1 , x n − 2 ) = α 2 d (T x n − 2 , T x n −3 ) ≤ K ≤ α n d ( x1 , x0 )

   อาศัยอสมการสามเหลี่ยม (triangle inequality) และอนุกรมเรขาคณิตจํากัด (finite geometric series)

โดยกําหนดให       n<r

                      d ( x n , x r ) ≤ d ( x n , x n + 1 ) + d ( x n + 1 , x n + 2 ) + K + d ( x r −1 , x r )


                                           (                                    )
                                       ≤ α n + α n + 1 + K + α r −1 d ( x 0 , x 1 )


                                           ⎛ 1− α r−n            ⎞
                                       = α ⎜   n
                                           ⎜ 1−α                 ⎟ d ( x 0 , x1 )
                                                                 ⎟
                                           ⎝                     ⎠




เนื่องจาก   0 <α <1        จึงทําให 1 − α     r −n
                                                      <1   ดังนั้น

                                                            αn
                                         d ( xn , xr ) ≤        d ( x0 , x1 )                                                      (1)
                                                           1− α



   และพบวา      xn → xr ∈ X          เมื่อ n → ∞ ดังนั้น { x } เปนลําดับโคชี
                                                                        n



ตอไปจะแสดงใหเห็นวา ลําดับโคชีลูเขาสูคา x * ซึ่งเปนจุดตรึงของการสง T

จากอสมการสามเหลี่ยม                 d (x*, T x *) ≤ d (x*, xn ) + d ( xn , x *)


และพิจารณาการสง                 T x n −1 = x n       จะไดวา       d (x n , T x *) = d (T x n −1 , x *)
ดังนั้น                            d ( x*, T x *) ≤ d ( x*, x n ) + α d ( x n −1 , x *)

เมื่อ n มีคามากพอ จะทําใหดานขวาของอสมการมีคาเปนศูนย (Q x                          n   → x *)


แสดงวา d (x*, T x *) = 0 นั่นคือ x * = T x * เปนจุดตรึงของการสง T

     เพื่อที่จะพิสูจนวาจุดตรึงดังกลาวมีเพียงคาเดียว โดยการพิสูจนแบบขอขัดแยง (contradition)

สมมติใหมีจุดตรึงสองคา            x* = T x*    และ   y* = T y*


จะไดวา         d (x*, y *) = d (T x*, T y *) ≤ α d ( x*, y *)            เมื่อ   0 ≤α <1


นั่นคือ                  x* = y*           ซึ่งเกิดการขัดแยง ดังนันมีจุดตรึงคาเดียว
                                                                   ้                                                      □

หมายเหตุ         ทฤษฎีบท 3 ให เงื่ อ นไขเพี ย งพอที่จ ะบอกได เพีย งว า“ มี จุ ด ตรึ ง ถ า สอดคลอ งตาม
ขอกําหนดขางตน” แตเราไมสามารถใหขอสรุปเกี่ยวกับการมีอยูของจุดตรึงได หากไมสอดคลองกับ
เงื่อนไขดังกลาว

ตัวอยาง 1               จงพิจารณาวาฟงกชันที่กําหนดใหตอไปนี้เปนการสงแบบดึงดูดหรือไม ถาไมเปนให

พิจารณาตอไปวามีจุดตรึงหรือไม

                 1. ให F 1   :ℜ → ℜ    กําหนดโดย         F1 ( x ) = 2 x + 1


เนื่องจาก        F1 ( x ) − F1 ( y ) = 2 x − 2 y = 2 ⋅ x − y


พบวา     α = 2 >1       ดังนั้น   F1   ไมเปนการสงแบบดึงดูด แตเราไมสามารถใชทฤษฎีบท 3 สรุปวาฟงกชัน

F1   ไมมีมีจุดตรึง ( ดูหมายเหตุขางบน ) ตรวจสอบคาของจุดตรึงโดย สมมติให                                  x1 *       เปนจุดตรึงของ

ฟงกชัน F จะได
             1           F1 ( x1 *) = x1 * = 2 x1 * + 1    ซึ่งมี   x1 *    = -1 เปนจุดตรึงของฟงกชัน F             1



                 2. ให F 2   :ℜ → ℜ     กําหนดโดย        F2 ( x ) = x + 1


เนื่องจาก        F2 ( x ) − F2 ( y ) = x − y = 1 ⋅ x − y            พบวา     α = 1 ดังนั้น F2       ไมเปนการสงแบบดึงดูด

ดวยวิธีเดียวกัน ตรวจสอบคาของจุดตรึงโดย สมมติให                      x2 *        เปนจุดตรึงของฟงกชัน F       2
โดยบทนิยาม1 จะได            F2 (x 2 *) = x 2 * = x 2 * + 1        ซึ่งพบวาสมการขางตนไมเปนจริง

ดังนั้น   F2   จึงไมมีจุดตรึง

               3. ให   X = (0 , 1 ]
                                 4     และ    F3 : X → X           กําหนดโดย          F3 ( x ) = x 2


เนื่องจาก      F3 ( x ) − F3 ( y ) = x 2 − y 2 =           (x − y )( x + y )   ≤   ( x + y ) x+ y         ≤      1
                                                                                                                 2   x− y


   ดังนั้น F เปนการสงแบบดึงดูด แตการสงนี้ไมมีจุดตรึงเนื่องจากไมสอดคลองกับทฤษฎีบท 3
                3


โดยพิจารณาจาก 0 หรือ 1 ที่เราคิดเปนวาจุดตรึงของฟงกชัน F ไมไดเปนสมาชิกของ X ดังนั้น F ไม
                                                                                      3                                                3


บริบูรณ (not complete)                                                                     ■


บทแทรก 4 (Iteration and Error Bounds)

    ตามเงื่อนไขของทฤษฎีบท 3 ลําดับ { x } ของการคํานวณซ้ํา โดยคาเริ่มตน
                                                       n                                                    x0 ∈ X      จะลูเขาสู

จุดตรึง x * เพียงคาเดียวจากการสง T และสามารถประมาณคาความคลาดเคลื่อน (error estimates)

ไดจาก
                                                                                    αn
    การประมาณขั้นกอน (prior estimate) :                          d ( x n , x *) ≤      d ( x0 , x1 )                                      (2)
                                                                                   1− α

                                                                                           α
    การประมาณขั้นหลัง (posterior estimate) :                        d ( xn , x *) ≤            d ( xn−1 , xn )                             (3)
                                                                                          1− α




พิสูจน

    เห็นไดชัดวา จากสมการ (1) เมื่อกําหนดให                   r→∞       จะได x     r    → x*     ตามสมการ (2)

    เราจะพิสูจนสมการ (3) โดยแทนคา n = 1 ลงใน (2) และกําหนดให                                     y 0 = x0 , y1 = x1

                                  α
    จะได       d ( y1 , x ) ≤       d ( y 0 , y1 )   โปรดสังเกตวา            y 0 = x n −1     และ    y1 = T y 0 = x n                □
                                 1−α
จากบทแทรก 4 การประมาณขั้นกอน จะถูกใชในการตรวจสอบจํานวนรอบ (n) ของการคํานวณซ้ํา เมื่อ

กําหนดคาความผิดพลาด ( ε ) โดยประมาณมาให โดยพิจารณาจากผลตางของคาที่ไดจากการคํานวณซ้ําครั้ง

ที่ n (หรือ xn ) กับคาจุดตรึง (x*) กลาวคือ
                                                    αn
จากสมการ (2)                         d (xn , x ) ≤     d ( x0 , x1 ) ≤ ε
                                                   1−α

                                                ε (1 − α )                   ⎡ ε (1 − α ) ⎤
จะได                                αn ≤
                                                d (x0 , x1 )
                                                               ⇒ n ln α ≤ ln ⎢               ⎥
                                                                             ⎣ d ( x0 , x1 ) ⎦

                                              ⎡ ε (1 − α ) ⎤
                                           ln ⎢              ⎥
                                              ⎣ d ( x0 − x1 )⎦
(Q0 < α <1 ⇒    ln α < 0 )             n ≥
                                                  ln α
                                                                                                                       (2)

โดยทั่วไปคาความผิดพลาดจริง (actual error ; eact ) หาไดจาก

                                    eact =         คาจริง – คาที่คํานวณได                                           (3)

    สําหรับในทางปฏิบัติ หลายๆปญหาเราจะไมทราบคาความผิดพลาดจริง จึงจําเปนตองใชการประมาณ

คาความผิดพลาด (error estimate ; eest )ในระหวางการคํานวณซ้ํา โดยมี 2 วิธีดังนี้

    1. อาศัยวิธีการประมาณขั้นหลัง
                                                 α
                               d (x n , x ) ≤        d ( x n −1 , x n ) ≤   eest                                       (4)
                                                1− α

    2. อาศัยวิธีการประมาณโดยใชคาความผิดพลาดสัมพัทธ (relative error ; erel )

            เมื่อพิจารณาจากบทแทรก (4) พบวาการประมาณขั้นหลังจะใหคาความผิดพลาดนอยกวาการ

            ประมาณขั้นกอน
                                      α                         αn
            กลาวคือ                      d ( x n −1 , x n ) ≤      d ( x0 , x1 )
                                     1− α                      1− α

            ดังนั้น                        d ( x n −1 , x n ) ≤ α n −1 d ( x0 , x1 )                                   (5)

            สมการนี้บอกวาความผิดพลาดสัมพัทธครั้งที่ n-1 กับครั้งที่ n จะมีคาไมเกิน           α n−1 d ( x0 , x1 )
ตัวอยาง 2           ให      X =   { x ∈ℜ : x ≥ 1 } ⊂    ℜ      พิจารณาการสง     T:X →X


กําหนดโดย      Tx =
                            x 1
                             +      จงแสดงใหเห็นวา      T      เปนการสงแบบดึงดูด และประมาณรอบของการ
                            2 x

คํานวณซ้ํา เมื่อกําหนดเงื่อนไขคาเริ่มตน x0 = 1 และคาความผิดพลาดไมเกิน 10-3

วิธีทํา       ตรวจสอบวา T เปนการสงบนเซต               X    หรือไม

เนื่องจาก     1.5 ≤ T x ≤ ∞         ∀x∈ X       ดังนั้น      Tx    จึงเปนการสงบนเซต        X


หรือ T : X → X พิจารณาคาคงที่การดึงดูด                  α = sup T ′(x )          เมื่อ    T ′( x ) =
                                                                                                        1   1
                                                                                                          − 2
                                                                   x∈ X                                 2 x

                                                                                                  1   1   1
(หมายเหตุ : α พิจารณาจากคาขอบเขตบนของฟงกชั่น T ′ ) จะได                       α = sup           − 2 =
                                                                                                  2 x     2
                                                                                                            <1
                                                                                            x∈X



ดังนั้น   T   เปนการสงแบบดึงดูด

การประมาณจํานวนรอบการคํานวณซ้ํา อาศัยสมการ (2) เมื่อกําหนดเงื่อนไขคาเริ่มตน x0 = 1

และคาความผิดพลาดไมเกิน 10-3 ( ε           = 10 −3 )    เราจะได         x1 = T x0 =
                                                                                          1
                                                                                            + 1 = 1.5
                                                                                          2

ดังนั้น
                                                ⎡ ε (1 − α ) ⎤
                                             ln ⎢                ⎥
                                         n ≥    ⎣ d ( x 0 − x1 ) ⎦
                                                    ln α
                                                 ⎡10 −3 1 − 1
                                              ln ⎢
                                                             (2
                                                                      )⎤
                                                                       ⎥
                                                 ⎢ 1.5 − 1                ⎥
                                            ≥    ⎣                        ⎦
                                                      ln 2


                                            ≥ 9 .9



                                            ≈   10 ครั้ง

Note          เมื่อพิจารณาคาจุดตรึงของการสง           T x* = x* =
                                                                              x*
                                                                                 +
                                                                                   1
                                                                              2    x*

          จะได (x *)   2
                            = 2 ⇒ x * = ± 2 ซึ่งเปนรูปแบบการคํานวณหารากที่สองนั่นเอง                            ■
ตัวอยาง 3          พิจารณาฟงกชั่น f (x ) =        cos x   บนโดเมน          x ∈ [0 ,1]   จงแสดงใหเห็นวา   f   เปนการ

สงแบบดึงดูด และประมาณรอบของการคํานวณซ้ํา เมื่อกําหนดเงื่อนไขคาเริ่มตน x0 = 0 และคาความ

ผิดพลาดไมเกิน 5 × 10-7

วิธีทํา       ตรวจสอบวา f เปนการสงบนเซต [0 ,1] หรือไม

โดยพิจารณาจาก       0 ≤ cos1 ≤ cos x ≤ 1 ∀ x ∈ [0 ,1]         ดังนั้น    f   เปนการสงบนเซตเดิม

ตอไปหาคาคงที่การดึงดูด จาก      f ′(x ) = − sin x    เพราะวา         f ′( x ) ≤ sin 1 < 1 ∀ x ∈ [0 ,1]

ดังนั้น   f   เปนการสงแบบดึงดูด โดยเลือกคาคงที่การดึงดูด                  α = sin 1

จากสมการ (2) เมื่อ x0 = 0 และ ε       = 5 × 10 −7     เราจะได      x1 = f ( x0 ) = cos 0 = 1


ดังนั้น
                                            ⎡ ε (1 − α ) ⎤
                                         ln ⎢               ⎥
                                     n ≥    ⎣ d (x 0 − x1 ) ⎦
                                                ln α
                                             ⎡ 5 × 10 − 7 (1 − sin 1)⎤
                                          ln ⎢                       ⎥
                                             ⎣         1− 0          ⎦
                                        ≥
                                                   ln (sin 1)



                                        ≥ 94 .7



                                         ≈   95 ครั้ง                                                                ■



ตัวอยาง 4          พิจารณาขั้นตอนการคํานวณซ้ําของ f (x ) =                    x3 + x −1 = 0


ก) จงแสดงใหเห็นวา                              (
                            x n = g ( x n −1 ) = 1 + x n −1
                                                       2
                                                              ) และถากําหนดเงื่อนไขคาเริ่มตน x0 = 1
                                                              −1




จงคํานวณหาคําตอบออกมา 3 คา

ข) ประมาณคาความผิดพลาดจากคําตอบที่ไดจากขอ ก.
ค) ถากําหนดให f (x ) =                      0    ในรูปของ                x = 1 − x3            เราสามารถใชกระบวนการดังกลาวในการคํานวณซ้ํา

ไดหรือไม

วิธีทํา          ก)          จาก                                 (
                                              f (x ) = x x 2 +1 − 1 = 0        )                 จะได        x =
                                                                                                                           1
                                                                                                                         x +1
                                                                                                                            2




นั่นคือ x   n                        (
                = g ( x n −1 ) = 1 + x n −1
                                       2
                                                    ) เปนรูปแบบ (scheme) ของการคํานวณซ้ํา
                                                        −1




เมื่อกําหนดเงื่อนไขคาเริ่มตน x0 = 1

                                x1 = g ( x0 ) = 1 + 12       (             )   −1
                                                                                         = 0.5
จะได                           x 2 = g ( x 2 ) = (1 + 0.5)
                                                                                    −1
                                                                                         = 0.8
                                x3 = g (x3 ) = (1 + 0.8)
                                                                                   −1
                                                                                         = 0.609


                 ข)          พิจารณา              α = max g ′(x )                           (หมายเหตุ : α พิจารณาจากคาสูงสุดของฟงกชั่น g ′ )
                                                                 x∈ℜ



เมื่อ     g ′( x ) =
                     d
                            (
                        1+ x 2       )   −1
                                                  = −
                                                             2x
                                                                                          และ       g ′′( x ) =
                                                                                                                        (
                                                                                                                      − 2 1+ x2   )
                                                                                                                                  2
                                                                                                                                                  (    )
                                                                                                                                       + 2 x ⋅ 2 1+ x 2 ⋅ 2 x
                     dx                                 (1+ x )      2 2
                                                                                                                                      (1 + x )
                                                                                                                                            2 4




เนื่องจาก       g ′( x )   max   ⇔ g ′′( x ) = 0                           จะได                     (
                                                                                           8x 2 = 2 1+ x 2        )   ∴ x = 1
                                                                                                                                        3


ดังนั้น          α = max g ′(x ) =                           g ′⎛ 1 ⎞ =
                                                                ⎜    ⎟
                                                                        2 3
                                                                                                   = 0.64 < 0.65 < 1
                            x∈ℜ                                 ⎝   3⎠   16
                                                                            9



เราอาจเลือก        α = 0.65               เปนคาคงที่การดึงดูด

สําหรับปญหานี้ เราทราบคาที่แทจริงของรากสมการ คือ                                                 x1 = 0.6823 , x 2,3 = − 0.34 ± i1.16


คาความผิดพลาดจริง

การคํานวณซ้ํารอบที่ 1 :                                  eact        = 0.5 − 0.6823 = 0.18


การคํานวณซ้ํารอบที่ 2 :                                  eact         = 0.8 − 0.6823 = 0.12


การคํานวณซ้ํารอบที่ 3 :                                  eact         = 0.609 − 0.6823 = 0.07
α
    จาก การประมาณขั้นหลัง              d (x n , x ) ≤        d ( x n −1 , x n ) =       eest
                                                        1− α

                                                     α
การคํานวณซ้ํารอบที่ 1 :                eest    =        x0 − x1 =
                                                                    0.65
                                                                           0.5 − 1 = 0.93
                                                    1−α           1 − 0.65

                                                     α
การคํานวณซ้ํารอบที่ 2 :                eest    =        x1 − x 2 =
                                                                     0.65
                                                                            0.8 − 0.5 = 0.56
                                                    1−α            1 − 0.65

                                                     α
การคํานวณซ้ํารอบที่ 3 :                eest     =       x 2 − x3 =
                                                                     0.65
                                                                            0.609 − 0.8 = 0.36
                                                    1−α            1 − 0.65

              ค) จากรู ปแบบที่ กํ า หนด ส ม ม ติ ให                  h( x ) = 1 − x 3          พิ จารณาช ว งของ                   x   ที่ ทํ า ให
α = max h′( x ) < 1         ( ซึ่งเกิดการดึงดูดเขาสูจุดตรึง )
        x∈ℜ



เมื่อ   h′( x ) =
                    d
                    dx
                      (      )
                       1 − x 3 = − 3x 2       จะได   − 3x 2 < 1    หรือ    x∈ −    (      1
                                                                                            3
                                                                                                ,   1
                                                                                                     3
                                                                                                         )
กลาวคือ เราสามารถหาจุดตรึงไดจากการคํานวณซ้ํา โดยใชคาเริ่มตนภายในชวง                                    (−   1
                                                                                                                   3
                                                                                                                       ,   1
                                                                                                                            3
                                                                                                                                )               ■

    ในบทความนี้เราไดเห็นการนําทฤษฎีบทจุดตรึงของบานาค (Banach fixed point theorem)
มาประยุกตใชในการประมาณจํานวนรอบการคํานวณซ้ํา ซึ่งจะพบไดบอยในการแกสมการคณิตศาสตร
โดยการกําหนดรูปแบบ (scheme) ของฟงกชันที่เหมาะสม ทําใหเปนการสงแบบดึงดูด สามารถประมาณ
จํานวนรอบการคํานวณซ้ําได โดยปกติจะใหจํานวนรอบที่มากกวาความเปนจริง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการเลือก
คาคงที่การดึงดูด และสามารถบอกคาความผิดพลาดไดสองแบบ อยางไรก็ตามเนื้อหาของบทความนี้ตอง
อาศัยความรูในเรื่องปริภูมิเมตริก (metric space) ซึ่งไมไดกลาวไว นอกจากนั้นยังมีทฤษฎีบทจุดตรึง (fixed
point theorem) ในเวอรชั่นอื่นอีก เชน Brouwer , Leray-Schauder and Kakutani Fixed Point Theorem
เปนตน ซึ่งขึ้นอยูกับการนําไปประยุกตใช        โดยหัวเรื่องหลักที่มีการนําทฤษฎีบทจุดตรึงมาใช ไดแก
สมการพีชคณิตเชิงเสน (linear algebraic equations) สมการเชิงอนุพันธสามัญ (ordinary differential
equations) สมการอินทิกรัล (integral equations) และ Incremental Small Gain Theorem ในทฤษฎีระบบ
ควบคุมไมเชิงเสน (nonlinear control theory) เปนตน
    สําหรับผูอานที่สนใจในรายละเอียดเรื่อง ทฤษฎีบทการสงแบบดึงดูด (contraction mapping theorem)
หาอานไดจากหนังสือของ D.R. Smart. ˝Fixed Point Theorems.˝Cambridge University Press, 1973
เอกสารอางอิง

   1. E.Kreyszig. Introductory Functional Analysis with Applications. John Wiley, New York, 1978.
   2. J.T.Oden. Applied Functional Analysis. A First Course for Students of Mechanics and Engineering
      Science. Prentice Hall, Englewood Cliffs, NJ, 1979.
   3. S.Sastry. Nonlinear Systems. Analysis, Stability, and Control. Springer-Verlag, New York, 1999.
ขอมูล
         ชื่อบัญชี นายสมเกียรติ มูลมั่งมี เลขที่บัญชีฝากประจําธนาคารไทยพาณิชย 077-106204-2
         ที่อยูที่สามารถติดตอได 53/463 หมูบานสามัคคี (นวมินทร 105) ถนนนวมินทร
                                             
         ตําบลคลองกุม เขตบึงกุม กทม. 10240
         เบอรโทรศัพท 08-6579-4040 หรือ 02-5108103

More Related Content

What's hot

Rpp operasi hitung bentuk aljabar
Rpp operasi hitung bentuk aljabarRpp operasi hitung bentuk aljabar
Rpp operasi hitung bentuk aljabarvebrianrajab
 
Rpp kd 3.3 konsep matriks dan operasi aljabar
Rpp kd 3.3 konsep matriks dan operasi aljabarRpp kd 3.3 konsep matriks dan operasi aljabar
Rpp kd 3.3 konsep matriks dan operasi aljabarAZLAN ANDARU
 
Klasifikasi Persamaan Diferensial Orde-Pertama
Klasifikasi Persamaan Diferensial Orde-PertamaKlasifikasi Persamaan Diferensial Orde-Pertama
Klasifikasi Persamaan Diferensial Orde-PertamaSTKIP PGRI BANDAR LAMPUNG
 
Penerapan sifat kelinearan sigma untuk menentukan rumus jumlah bilangan asli ...
Penerapan sifat kelinearan sigma untuk menentukan rumus jumlah bilangan asli ...Penerapan sifat kelinearan sigma untuk menentukan rumus jumlah bilangan asli ...
Penerapan sifat kelinearan sigma untuk menentukan rumus jumlah bilangan asli ...BAIDILAH Baidilah
 
LKS MATEMATIKA BERBASIS PENDEKATAN CONTEXTUAL TEACHING AND LEARNING (CTL)
LKS MATEMATIKA BERBASIS PENDEKATAN CONTEXTUAL TEACHING AND LEARNING (CTL)LKS MATEMATIKA BERBASIS PENDEKATAN CONTEXTUAL TEACHING AND LEARNING (CTL)
LKS MATEMATIKA BERBASIS PENDEKATAN CONTEXTUAL TEACHING AND LEARNING (CTL)DianAnggreiniLestari
 
Matematika Diskrit part 1
Matematika Diskrit part 1Matematika Diskrit part 1
Matematika Diskrit part 1radar radius
 
Persamaan dan Pertidaksamaan Eksponen 2.pptx
Persamaan dan Pertidaksamaan Eksponen 2.pptxPersamaan dan Pertidaksamaan Eksponen 2.pptx
Persamaan dan Pertidaksamaan Eksponen 2.pptxYusSeptikaW
 
Tugas 2 kelompok 1 pemograman komputer
Tugas 2 kelompok 1 pemograman komputerTugas 2 kelompok 1 pemograman komputer
Tugas 2 kelompok 1 pemograman komputerphipin
 
RPP SMP Matematika Kelas VIII
RPP SMP Matematika Kelas VIIIRPP SMP Matematika Kelas VIII
RPP SMP Matematika Kelas VIIIDiva Pendidikan
 
11. regresi linier sederhana
11. regresi linier sederhana11. regresi linier sederhana
11. regresi linier sederhanaRivandi Archmage
 
Rpp relasi dan fungsi
Rpp relasi dan fungsiRpp relasi dan fungsi
Rpp relasi dan fungsilgede
 
Contoh lkpd kelas viii smp semester 1 (gradien)
Contoh lkpd kelas viii smp semester 1 (gradien)Contoh lkpd kelas viii smp semester 1 (gradien)
Contoh lkpd kelas viii smp semester 1 (gradien)Halimirna Inha
 
Kd 32 dan 42 kelas 8 sistem koordinat lkpd
Kd 32 dan 42 kelas 8 sistem koordinat lkpdKd 32 dan 42 kelas 8 sistem koordinat lkpd
Kd 32 dan 42 kelas 8 sistem koordinat lkpdarrinidittamargarani
 
jadwal perjalanan kereta api ekonomi bisnis eksekutif
jadwal perjalanan kereta api ekonomi bisnis eksekutifjadwal perjalanan kereta api ekonomi bisnis eksekutif
jadwal perjalanan kereta api ekonomi bisnis eksekutifsuga76rgl
 
Ppt statistik smp kelas ix
Ppt statistik smp kelas ixPpt statistik smp kelas ix
Ppt statistik smp kelas ixadhaidul
 
Makalah pendekatan apos dalam pembelajaran matematika
Makalah pendekatan apos dalam pembelajaran matematikaMakalah pendekatan apos dalam pembelajaran matematika
Makalah pendekatan apos dalam pembelajaran matematikaAgustin Tika Maya
 

What's hot (20)

Rpp operasi hitung bentuk aljabar
Rpp operasi hitung bentuk aljabarRpp operasi hitung bentuk aljabar
Rpp operasi hitung bentuk aljabar
 
Pola bilangan
Pola bilanganPola bilangan
Pola bilangan
 
Rpp kd 3.3 konsep matriks dan operasi aljabar
Rpp kd 3.3 konsep matriks dan operasi aljabarRpp kd 3.3 konsep matriks dan operasi aljabar
Rpp kd 3.3 konsep matriks dan operasi aljabar
 
Klasifikasi Persamaan Diferensial Orde-Pertama
Klasifikasi Persamaan Diferensial Orde-PertamaKlasifikasi Persamaan Diferensial Orde-Pertama
Klasifikasi Persamaan Diferensial Orde-Pertama
 
Penerapan sifat kelinearan sigma untuk menentukan rumus jumlah bilangan asli ...
Penerapan sifat kelinearan sigma untuk menentukan rumus jumlah bilangan asli ...Penerapan sifat kelinearan sigma untuk menentukan rumus jumlah bilangan asli ...
Penerapan sifat kelinearan sigma untuk menentukan rumus jumlah bilangan asli ...
 
LKS MATEMATIKA BERBASIS PENDEKATAN CONTEXTUAL TEACHING AND LEARNING (CTL)
LKS MATEMATIKA BERBASIS PENDEKATAN CONTEXTUAL TEACHING AND LEARNING (CTL)LKS MATEMATIKA BERBASIS PENDEKATAN CONTEXTUAL TEACHING AND LEARNING (CTL)
LKS MATEMATIKA BERBASIS PENDEKATAN CONTEXTUAL TEACHING AND LEARNING (CTL)
 
Matematika Diskrit part 1
Matematika Diskrit part 1Matematika Diskrit part 1
Matematika Diskrit part 1
 
Jawaban Soal Latihan
Jawaban Soal LatihanJawaban Soal Latihan
Jawaban Soal Latihan
 
Makalah Optimasi Numerik
Makalah Optimasi NumerikMakalah Optimasi Numerik
Makalah Optimasi Numerik
 
Persamaan dan Pertidaksamaan Eksponen 2.pptx
Persamaan dan Pertidaksamaan Eksponen 2.pptxPersamaan dan Pertidaksamaan Eksponen 2.pptx
Persamaan dan Pertidaksamaan Eksponen 2.pptx
 
Tugas 2 kelompok 1 pemograman komputer
Tugas 2 kelompok 1 pemograman komputerTugas 2 kelompok 1 pemograman komputer
Tugas 2 kelompok 1 pemograman komputer
 
RPP SMP Matematika Kelas VIII
RPP SMP Matematika Kelas VIIIRPP SMP Matematika Kelas VIII
RPP SMP Matematika Kelas VIII
 
11. regresi linier sederhana
11. regresi linier sederhana11. regresi linier sederhana
11. regresi linier sederhana
 
Rpp relasi dan fungsi
Rpp relasi dan fungsiRpp relasi dan fungsi
Rpp relasi dan fungsi
 
Contoh lkpd kelas viii smp semester 1 (gradien)
Contoh lkpd kelas viii smp semester 1 (gradien)Contoh lkpd kelas viii smp semester 1 (gradien)
Contoh lkpd kelas viii smp semester 1 (gradien)
 
Kd 32 dan 42 kelas 8 sistem koordinat lkpd
Kd 32 dan 42 kelas 8 sistem koordinat lkpdKd 32 dan 42 kelas 8 sistem koordinat lkpd
Kd 32 dan 42 kelas 8 sistem koordinat lkpd
 
jadwal perjalanan kereta api ekonomi bisnis eksekutif
jadwal perjalanan kereta api ekonomi bisnis eksekutifjadwal perjalanan kereta api ekonomi bisnis eksekutif
jadwal perjalanan kereta api ekonomi bisnis eksekutif
 
Ppt statistik smp kelas ix
Ppt statistik smp kelas ixPpt statistik smp kelas ix
Ppt statistik smp kelas ix
 
Kelompok 5 gasing lingkaran
Kelompok 5 gasing lingkaranKelompok 5 gasing lingkaran
Kelompok 5 gasing lingkaran
 
Makalah pendekatan apos dalam pembelajaran matematika
Makalah pendekatan apos dalam pembelajaran matematikaMakalah pendekatan apos dalam pembelajaran matematika
Makalah pendekatan apos dalam pembelajaran matematika
 

Similar to Contraction Mapping

Similar to Contraction Mapping (20)

Limit
LimitLimit
Limit
 
Thermal Wave Interference
Thermal Wave InterferenceThermal Wave Interference
Thermal Wave Interference
 
การอินทีเกรต
การอินทีเกรตการอินทีเกรต
การอินทีเกรต
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 
เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
Ch3 high order_od_es
Ch3 high order_od_esCh3 high order_od_es
Ch3 high order_od_es
 
บทที่ 2 อนุกรม
บทที่ 2 อนุกรมบทที่ 2 อนุกรม
บทที่ 2 อนุกรม
 
Calculus1
Calculus1Calculus1
Calculus1
 
สมดุลกล3
สมดุลกล3สมดุลกล3
สมดุลกล3
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
Intrigate(3)
Intrigate(3)Intrigate(3)
Intrigate(3)
 
สมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรงสมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรง
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
Dk
DkDk
Dk
 

More from อิทธิเดช มูลมั่งมี

Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์
Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์
Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์อิทธิเดช มูลมั่งมี
 
เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์อิทธิเดช มูลมั่งมี
 

More from อิทธิเดช มูลมั่งมี (20)

Peaking phenomenon
Peaking phenomenonPeaking phenomenon
Peaking phenomenon
 
Constructive nonlinear smc
Constructive nonlinear smcConstructive nonlinear smc
Constructive nonlinear smc
 
A contribution to the control of the non holonomic integrator including drift...
A contribution to the control of the non holonomic integrator including drift...A contribution to the control of the non holonomic integrator including drift...
A contribution to the control of the non holonomic integrator including drift...
 
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษวารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
 
Sliding Mode Control Stability (Jan 19, 2013)
Sliding Mode Control Stability (Jan 19, 2013)Sliding Mode Control Stability (Jan 19, 2013)
Sliding Mode Control Stability (Jan 19, 2013)
 
Stabilization of Inertia Wheel Pendulum using Multiple Sliding Surface Contro...
Stabilization of Inertia Wheel Pendulum using Multiple Sliding Surface Contro...Stabilization of Inertia Wheel Pendulum using Multiple Sliding Surface Contro...
Stabilization of Inertia Wheel Pendulum using Multiple Sliding Surface Contro...
 
In–Cylinder Air Estimation on Diesel Dual Fuel Engine Using Kalman Filter
In–Cylinder Air Estimation on Diesel Dual Fuel Engine Using Kalman FilterIn–Cylinder Air Estimation on Diesel Dual Fuel Engine Using Kalman Filter
In–Cylinder Air Estimation on Diesel Dual Fuel Engine Using Kalman Filter
 
Sliding Mode Control of Air-Path in Diesel Dual-Fuel Engine
Sliding Mode Control of Air-Path in Diesel Dual-Fuel EngineSliding Mode Control of Air-Path in Diesel Dual-Fuel Engine
Sliding Mode Control of Air-Path in Diesel Dual-Fuel Engine
 
Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์
Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์
Tricks ทางคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาฟิสิกส์
 
Sliding mode control (revised march, 2012)
Sliding mode control (revised march, 2012)Sliding mode control (revised march, 2012)
Sliding mode control (revised march, 2012)
 
Robust and quadratic stabilization of tora system via dsc technique
Robust and quadratic stabilization of tora system via dsc techniqueRobust and quadratic stabilization of tora system via dsc technique
Robust and quadratic stabilization of tora system via dsc technique
 
Lyapunov stability 1
Lyapunov  stability 1Lyapunov  stability 1
Lyapunov stability 1
 
Lyapunov stability 2
Lyapunov stability 2Lyapunov stability 2
Lyapunov stability 2
 
Sliding mode control (revised march, 2012)
Sliding mode control (revised march, 2012)Sliding mode control (revised march, 2012)
Sliding mode control (revised march, 2012)
 
Calculus of variation ตอนที่ 2
Calculus of variation ตอนที่ 2Calculus of variation ตอนที่ 2
Calculus of variation ตอนที่ 2
 
Calculus of variation ตอนที่ 3 (จบ)
Calculus of variation ตอนที่ 3 (จบ)Calculus of variation ตอนที่ 3 (จบ)
Calculus of variation ตอนที่ 3 (จบ)
 
เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
เรขาคณิตของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
 
Comparison Principle
Comparison PrincipleComparison Principle
Comparison Principle
 
สมการการแปลงพิกัด
สมการการแปลงพิกัดสมการการแปลงพิกัด
สมการการแปลงพิกัด
 
เรขาคณิตของการสะท้อนของแสง
เรขาคณิตของการสะท้อนของแสงเรขาคณิตของการสะท้อนของแสง
เรขาคณิตของการสะท้อนของแสง
 

Contraction Mapping

  • 1. นายอิทธิเดช มูลมั่งมี นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี แนวคิดของการหาจุดตรึง (fixed point) มาจากวิธีการหาผลเฉลยโดยประมาณที่เรียกวา Successive Approximation ซึ่งเปนวิธีการหาผลเฉลยโดยการคํานวณวนรอบซ้ํา (iteration) จากความสัมพันธ x = T ( x ) เมื่อ n = 0 ,1, 2 ,... เมื่อการกําหนดเงื่อนไขเริ่มตน x มาให กลาวคือผลลัพธที่ไดจากการ n +1 n 0 คํานวณในรอบกอน( n ) จะถูกสงคาไปยังรอบถัดๆไป( n + 1 ) จนกระทั่งคาของผลลัพธลูเขาสูคงที่คาหนึ่ง เราเรียกคาคงที่นี้วา จุดตรึง ทฤษฎีบทการสงแบบดึงดูด (contraction mapping theorem) หรือ ทฤษฎีบทจุดตรึงของบานาค (Banach fixed point theorem) เปนทฤษฎีบทที่อธิบายผลของการสงแบบดึงดูด (contraction mapping) เมื่อพิจารณาบนปริภูมิเมตริกบริบูรณ (complete metric space) ซึ่งจะใหเงื่อนไขเพียงพอ (sufficient condition) สําหรับการมีอยู (existence) และมีเพียงคาเดียว (uniqueness) ของจุดตรึง x * จากการสง T ขางตน การคํานวณซ้ําจะทําใหลําดับ { x } ลูเขาจุดตรึง x * ดังบทนิยามตอไปนี้ n บทนิยาม 1 (Fixed point) ให T เปนการสงบนปริภูมิเวกเตอร X กลาวคือ T : X → X เรานิยาม x * ∈ X วาเปนจุดตรึง (fixed point) ถา T (x *) = x * และนิยมเขียนแทนดวยสัญลักษณ T x* = x*
  • 2. บทนิยาม 2 (Contraction) ให X = (X , d ) เปนปริภูมิเมตริก เราจะกลาววา การสง T:X →X เปนการสงแบบดึงดูด (contraction mapping) ถามีจํานวนจริงบวก α < 1 ซึ่งทําให d (T x , T y ) ≤ α d ( x , y ) สําหรับทุกคา x , y∈ X โดยที่จํานวนจริงบวก α เรียกวา คาคงที่การดึงดูด (contraction constant) ของการสง T ปริภูมิ X x d(x,y) Tx d(Tx,Ty) y Ty รูปที่ 1 แสดงใหเห็นตัวอยางการสงแบบดึงดูดบนปริภูมิ X ใดๆ เมื่อพิจารณาเฉพาะกรณีที่ T :ℜ → ℜ จากนิยามการสงแบบดึงดูดสามารถเขียนไดเปน T ( y ) − T (x ) ≤ α y−x ซึ่งความหมายทางเรขาคณิตคือ เสนตรงที่เชื่อมระหวางสองจุดใดๆ ของฟงกชั่น T ( ⋅ ) จะตองมีความชัน ไมเกิน α ( 0 < α < 1 หรือ 45 ) ดังรูปที่ 2 o
  • 3. T(y) T(x) α x y รูปที่ 2 แสดงความหมายทางเรขาคณิตของคาคงที่การดึงดูด โดยอาศัยความรูทางแคลคูลัส ความชันของเสนโคงที่จุดใดๆ ก็คือคาอนุพันธของเสนโคงที่จุดนั้น dT ( x ) นั่นคือ 0 < ≤ α < 1 dx กลาวคือ เราสามารถกําหนดคา α ไดจากเงื่อนไขคาอนุพันธของฟงกชั่นขางตน ทฤษฎีบท 3 (Banach fixed point theorem หรือ Contraction Mapping Theorem) กําหนดปริภูมิเมตริกบริบูรณ X = (X , d ) โดยที่ X ≠Ø และสมมติใหการสง T:X →X เปนการ สงแบบดึงดูดบนเซต X จะไดวาการสง T มีผลเฉลย x*∈ X เปนจุดตรึงเพียงคาเดียว
  • 4. พิสูจน เริ่มตนโดยการกําหนดลําดับ { x } n และแสดงใหเห็นวา ลําดับดังกลาวเปนลําดับโคชี (Cauchy sequence) ที่ลูเขาหาคา x* ซึ่งเปนจุดตรึงของการสง T ในปริภูมิเมตริกบริบูรณ X และจุดตรึง x* ที่ ไดมีเพียงคาเดียว (uniqueness) โดยการเลือก x0 ∈ X พิจารณาการสง x n +1 = T x n สําหรับทุกจํานวนเต็ม n ≥ 0 d (x x +1 , x n ) = d (T x n , Tx n −1 ) ≤ α d ( x n , x n −1 ) = α d (T x n −1 , T x n − 2 ) ≤ α 2 d ( x n −1 , x n − 2 ) = α 2 d (T x n − 2 , T x n −3 ) ≤ K ≤ α n d ( x1 , x0 ) อาศัยอสมการสามเหลี่ยม (triangle inequality) และอนุกรมเรขาคณิตจํากัด (finite geometric series) โดยกําหนดให n<r d ( x n , x r ) ≤ d ( x n , x n + 1 ) + d ( x n + 1 , x n + 2 ) + K + d ( x r −1 , x r ) ( ) ≤ α n + α n + 1 + K + α r −1 d ( x 0 , x 1 ) ⎛ 1− α r−n ⎞ = α ⎜ n ⎜ 1−α ⎟ d ( x 0 , x1 ) ⎟ ⎝ ⎠ เนื่องจาก 0 <α <1 จึงทําให 1 − α r −n <1 ดังนั้น αn d ( xn , xr ) ≤ d ( x0 , x1 ) (1) 1− α และพบวา xn → xr ∈ X เมื่อ n → ∞ ดังนั้น { x } เปนลําดับโคชี n ตอไปจะแสดงใหเห็นวา ลําดับโคชีลูเขาสูคา x * ซึ่งเปนจุดตรึงของการสง T จากอสมการสามเหลี่ยม d (x*, T x *) ≤ d (x*, xn ) + d ( xn , x *) และพิจารณาการสง T x n −1 = x n จะไดวา d (x n , T x *) = d (T x n −1 , x *)
  • 5. ดังนั้น d ( x*, T x *) ≤ d ( x*, x n ) + α d ( x n −1 , x *) เมื่อ n มีคามากพอ จะทําใหดานขวาของอสมการมีคาเปนศูนย (Q x n → x *) แสดงวา d (x*, T x *) = 0 นั่นคือ x * = T x * เปนจุดตรึงของการสง T เพื่อที่จะพิสูจนวาจุดตรึงดังกลาวมีเพียงคาเดียว โดยการพิสูจนแบบขอขัดแยง (contradition) สมมติใหมีจุดตรึงสองคา x* = T x* และ y* = T y* จะไดวา d (x*, y *) = d (T x*, T y *) ≤ α d ( x*, y *) เมื่อ 0 ≤α <1 นั่นคือ x* = y* ซึ่งเกิดการขัดแยง ดังนันมีจุดตรึงคาเดียว ้ □ หมายเหตุ ทฤษฎีบท 3 ให เงื่ อ นไขเพี ย งพอที่จ ะบอกได เพีย งว า“ มี จุ ด ตรึ ง ถ า สอดคลอ งตาม ขอกําหนดขางตน” แตเราไมสามารถใหขอสรุปเกี่ยวกับการมีอยูของจุดตรึงได หากไมสอดคลองกับ เงื่อนไขดังกลาว ตัวอยาง 1 จงพิจารณาวาฟงกชันที่กําหนดใหตอไปนี้เปนการสงแบบดึงดูดหรือไม ถาไมเปนให พิจารณาตอไปวามีจุดตรึงหรือไม 1. ให F 1 :ℜ → ℜ กําหนดโดย F1 ( x ) = 2 x + 1 เนื่องจาก F1 ( x ) − F1 ( y ) = 2 x − 2 y = 2 ⋅ x − y พบวา α = 2 >1 ดังนั้น F1 ไมเปนการสงแบบดึงดูด แตเราไมสามารถใชทฤษฎีบท 3 สรุปวาฟงกชัน F1 ไมมีมีจุดตรึง ( ดูหมายเหตุขางบน ) ตรวจสอบคาของจุดตรึงโดย สมมติให x1 * เปนจุดตรึงของ ฟงกชัน F จะได 1 F1 ( x1 *) = x1 * = 2 x1 * + 1 ซึ่งมี x1 * = -1 เปนจุดตรึงของฟงกชัน F 1 2. ให F 2 :ℜ → ℜ กําหนดโดย F2 ( x ) = x + 1 เนื่องจาก F2 ( x ) − F2 ( y ) = x − y = 1 ⋅ x − y พบวา α = 1 ดังนั้น F2 ไมเปนการสงแบบดึงดูด ดวยวิธีเดียวกัน ตรวจสอบคาของจุดตรึงโดย สมมติให x2 * เปนจุดตรึงของฟงกชัน F 2
  • 6. โดยบทนิยาม1 จะได F2 (x 2 *) = x 2 * = x 2 * + 1 ซึ่งพบวาสมการขางตนไมเปนจริง ดังนั้น F2 จึงไมมีจุดตรึง 3. ให X = (0 , 1 ] 4 และ F3 : X → X กําหนดโดย F3 ( x ) = x 2 เนื่องจาก F3 ( x ) − F3 ( y ) = x 2 − y 2 = (x − y )( x + y ) ≤ ( x + y ) x+ y ≤ 1 2 x− y ดังนั้น F เปนการสงแบบดึงดูด แตการสงนี้ไมมีจุดตรึงเนื่องจากไมสอดคลองกับทฤษฎีบท 3 3 โดยพิจารณาจาก 0 หรือ 1 ที่เราคิดเปนวาจุดตรึงของฟงกชัน F ไมไดเปนสมาชิกของ X ดังนั้น F ไม 3 3 บริบูรณ (not complete) ■ บทแทรก 4 (Iteration and Error Bounds) ตามเงื่อนไขของทฤษฎีบท 3 ลําดับ { x } ของการคํานวณซ้ํา โดยคาเริ่มตน n x0 ∈ X จะลูเขาสู จุดตรึง x * เพียงคาเดียวจากการสง T และสามารถประมาณคาความคลาดเคลื่อน (error estimates) ไดจาก αn การประมาณขั้นกอน (prior estimate) : d ( x n , x *) ≤ d ( x0 , x1 ) (2) 1− α α การประมาณขั้นหลัง (posterior estimate) : d ( xn , x *) ≤ d ( xn−1 , xn ) (3) 1− α พิสูจน เห็นไดชัดวา จากสมการ (1) เมื่อกําหนดให r→∞ จะได x r → x* ตามสมการ (2) เราจะพิสูจนสมการ (3) โดยแทนคา n = 1 ลงใน (2) และกําหนดให y 0 = x0 , y1 = x1 α จะได d ( y1 , x ) ≤ d ( y 0 , y1 ) โปรดสังเกตวา y 0 = x n −1 และ y1 = T y 0 = x n □ 1−α
  • 7. จากบทแทรก 4 การประมาณขั้นกอน จะถูกใชในการตรวจสอบจํานวนรอบ (n) ของการคํานวณซ้ํา เมื่อ กําหนดคาความผิดพลาด ( ε ) โดยประมาณมาให โดยพิจารณาจากผลตางของคาที่ไดจากการคํานวณซ้ําครั้ง ที่ n (หรือ xn ) กับคาจุดตรึง (x*) กลาวคือ αn จากสมการ (2) d (xn , x ) ≤ d ( x0 , x1 ) ≤ ε 1−α ε (1 − α ) ⎡ ε (1 − α ) ⎤ จะได αn ≤ d (x0 , x1 ) ⇒ n ln α ≤ ln ⎢ ⎥ ⎣ d ( x0 , x1 ) ⎦ ⎡ ε (1 − α ) ⎤ ln ⎢ ⎥ ⎣ d ( x0 − x1 )⎦ (Q0 < α <1 ⇒ ln α < 0 ) n ≥ ln α (2) โดยทั่วไปคาความผิดพลาดจริง (actual error ; eact ) หาไดจาก eact = คาจริง – คาที่คํานวณได (3) สําหรับในทางปฏิบัติ หลายๆปญหาเราจะไมทราบคาความผิดพลาดจริง จึงจําเปนตองใชการประมาณ คาความผิดพลาด (error estimate ; eest )ในระหวางการคํานวณซ้ํา โดยมี 2 วิธีดังนี้ 1. อาศัยวิธีการประมาณขั้นหลัง α d (x n , x ) ≤ d ( x n −1 , x n ) ≤ eest (4) 1− α 2. อาศัยวิธีการประมาณโดยใชคาความผิดพลาดสัมพัทธ (relative error ; erel ) เมื่อพิจารณาจากบทแทรก (4) พบวาการประมาณขั้นหลังจะใหคาความผิดพลาดนอยกวาการ ประมาณขั้นกอน α αn กลาวคือ d ( x n −1 , x n ) ≤ d ( x0 , x1 ) 1− α 1− α ดังนั้น d ( x n −1 , x n ) ≤ α n −1 d ( x0 , x1 ) (5) สมการนี้บอกวาความผิดพลาดสัมพัทธครั้งที่ n-1 กับครั้งที่ n จะมีคาไมเกิน α n−1 d ( x0 , x1 )
  • 8. ตัวอยาง 2 ให X = { x ∈ℜ : x ≥ 1 } ⊂ ℜ พิจารณาการสง T:X →X กําหนดโดย Tx = x 1 + จงแสดงใหเห็นวา T เปนการสงแบบดึงดูด และประมาณรอบของการ 2 x คํานวณซ้ํา เมื่อกําหนดเงื่อนไขคาเริ่มตน x0 = 1 และคาความผิดพลาดไมเกิน 10-3 วิธีทํา ตรวจสอบวา T เปนการสงบนเซต X หรือไม เนื่องจาก 1.5 ≤ T x ≤ ∞ ∀x∈ X ดังนั้น Tx จึงเปนการสงบนเซต X หรือ T : X → X พิจารณาคาคงที่การดึงดูด α = sup T ′(x ) เมื่อ T ′( x ) = 1 1 − 2 x∈ X 2 x 1 1 1 (หมายเหตุ : α พิจารณาจากคาขอบเขตบนของฟงกชั่น T ′ ) จะได α = sup − 2 = 2 x 2 <1 x∈X ดังนั้น T เปนการสงแบบดึงดูด การประมาณจํานวนรอบการคํานวณซ้ํา อาศัยสมการ (2) เมื่อกําหนดเงื่อนไขคาเริ่มตน x0 = 1 และคาความผิดพลาดไมเกิน 10-3 ( ε = 10 −3 ) เราจะได x1 = T x0 = 1 + 1 = 1.5 2 ดังนั้น ⎡ ε (1 − α ) ⎤ ln ⎢ ⎥ n ≥ ⎣ d ( x 0 − x1 ) ⎦ ln α ⎡10 −3 1 − 1 ln ⎢ (2 )⎤ ⎥ ⎢ 1.5 − 1 ⎥ ≥ ⎣ ⎦ ln 2 ≥ 9 .9 ≈ 10 ครั้ง Note เมื่อพิจารณาคาจุดตรึงของการสง T x* = x* = x* + 1 2 x* จะได (x *) 2 = 2 ⇒ x * = ± 2 ซึ่งเปนรูปแบบการคํานวณหารากที่สองนั่นเอง ■
  • 9. ตัวอยาง 3 พิจารณาฟงกชั่น f (x ) = cos x บนโดเมน x ∈ [0 ,1] จงแสดงใหเห็นวา f เปนการ สงแบบดึงดูด และประมาณรอบของการคํานวณซ้ํา เมื่อกําหนดเงื่อนไขคาเริ่มตน x0 = 0 และคาความ ผิดพลาดไมเกิน 5 × 10-7 วิธีทํา ตรวจสอบวา f เปนการสงบนเซต [0 ,1] หรือไม โดยพิจารณาจาก 0 ≤ cos1 ≤ cos x ≤ 1 ∀ x ∈ [0 ,1] ดังนั้น f เปนการสงบนเซตเดิม ตอไปหาคาคงที่การดึงดูด จาก f ′(x ) = − sin x เพราะวา f ′( x ) ≤ sin 1 < 1 ∀ x ∈ [0 ,1] ดังนั้น f เปนการสงแบบดึงดูด โดยเลือกคาคงที่การดึงดูด α = sin 1 จากสมการ (2) เมื่อ x0 = 0 และ ε = 5 × 10 −7 เราจะได x1 = f ( x0 ) = cos 0 = 1 ดังนั้น ⎡ ε (1 − α ) ⎤ ln ⎢ ⎥ n ≥ ⎣ d (x 0 − x1 ) ⎦ ln α ⎡ 5 × 10 − 7 (1 − sin 1)⎤ ln ⎢ ⎥ ⎣ 1− 0 ⎦ ≥ ln (sin 1) ≥ 94 .7 ≈ 95 ครั้ง ■ ตัวอยาง 4 พิจารณาขั้นตอนการคํานวณซ้ําของ f (x ) = x3 + x −1 = 0 ก) จงแสดงใหเห็นวา ( x n = g ( x n −1 ) = 1 + x n −1 2 ) และถากําหนดเงื่อนไขคาเริ่มตน x0 = 1 −1 จงคํานวณหาคําตอบออกมา 3 คา ข) ประมาณคาความผิดพลาดจากคําตอบที่ไดจากขอ ก.
  • 10. ค) ถากําหนดให f (x ) = 0 ในรูปของ x = 1 − x3 เราสามารถใชกระบวนการดังกลาวในการคํานวณซ้ํา ไดหรือไม วิธีทํา ก) จาก ( f (x ) = x x 2 +1 − 1 = 0 ) จะได x = 1 x +1 2 นั่นคือ x n ( = g ( x n −1 ) = 1 + x n −1 2 ) เปนรูปแบบ (scheme) ของการคํานวณซ้ํา −1 เมื่อกําหนดเงื่อนไขคาเริ่มตน x0 = 1 x1 = g ( x0 ) = 1 + 12 ( ) −1 = 0.5 จะได x 2 = g ( x 2 ) = (1 + 0.5) −1 = 0.8 x3 = g (x3 ) = (1 + 0.8) −1 = 0.609 ข) พิจารณา α = max g ′(x ) (หมายเหตุ : α พิจารณาจากคาสูงสุดของฟงกชั่น g ′ ) x∈ℜ เมื่อ g ′( x ) = d ( 1+ x 2 ) −1 = − 2x และ g ′′( x ) = ( − 2 1+ x2 ) 2 ( ) + 2 x ⋅ 2 1+ x 2 ⋅ 2 x dx (1+ x ) 2 2 (1 + x ) 2 4 เนื่องจาก g ′( x ) max ⇔ g ′′( x ) = 0 จะได ( 8x 2 = 2 1+ x 2 ) ∴ x = 1 3 ดังนั้น α = max g ′(x ) = g ′⎛ 1 ⎞ = ⎜ ⎟ 2 3 = 0.64 < 0.65 < 1 x∈ℜ ⎝ 3⎠ 16 9 เราอาจเลือก α = 0.65 เปนคาคงที่การดึงดูด สําหรับปญหานี้ เราทราบคาที่แทจริงของรากสมการ คือ x1 = 0.6823 , x 2,3 = − 0.34 ± i1.16 คาความผิดพลาดจริง การคํานวณซ้ํารอบที่ 1 : eact = 0.5 − 0.6823 = 0.18 การคํานวณซ้ํารอบที่ 2 : eact = 0.8 − 0.6823 = 0.12 การคํานวณซ้ํารอบที่ 3 : eact = 0.609 − 0.6823 = 0.07
  • 11. α จาก การประมาณขั้นหลัง d (x n , x ) ≤ d ( x n −1 , x n ) = eest 1− α α การคํานวณซ้ํารอบที่ 1 : eest = x0 − x1 = 0.65 0.5 − 1 = 0.93 1−α 1 − 0.65 α การคํานวณซ้ํารอบที่ 2 : eest = x1 − x 2 = 0.65 0.8 − 0.5 = 0.56 1−α 1 − 0.65 α การคํานวณซ้ํารอบที่ 3 : eest = x 2 − x3 = 0.65 0.609 − 0.8 = 0.36 1−α 1 − 0.65 ค) จากรู ปแบบที่ กํ า หนด ส ม ม ติ ให h( x ) = 1 − x 3 พิ จารณาช ว งของ x ที่ ทํ า ให α = max h′( x ) < 1 ( ซึ่งเกิดการดึงดูดเขาสูจุดตรึง ) x∈ℜ เมื่อ h′( x ) = d dx ( ) 1 − x 3 = − 3x 2 จะได − 3x 2 < 1 หรือ x∈ − ( 1 3 , 1 3 ) กลาวคือ เราสามารถหาจุดตรึงไดจากการคํานวณซ้ํา โดยใชคาเริ่มตนภายในชวง (− 1 3 , 1 3 ) ■ ในบทความนี้เราไดเห็นการนําทฤษฎีบทจุดตรึงของบานาค (Banach fixed point theorem) มาประยุกตใชในการประมาณจํานวนรอบการคํานวณซ้ํา ซึ่งจะพบไดบอยในการแกสมการคณิตศาสตร โดยการกําหนดรูปแบบ (scheme) ของฟงกชันที่เหมาะสม ทําใหเปนการสงแบบดึงดูด สามารถประมาณ จํานวนรอบการคํานวณซ้ําได โดยปกติจะใหจํานวนรอบที่มากกวาความเปนจริง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการเลือก คาคงที่การดึงดูด และสามารถบอกคาความผิดพลาดไดสองแบบ อยางไรก็ตามเนื้อหาของบทความนี้ตอง อาศัยความรูในเรื่องปริภูมิเมตริก (metric space) ซึ่งไมไดกลาวไว นอกจากนั้นยังมีทฤษฎีบทจุดตรึง (fixed point theorem) ในเวอรชั่นอื่นอีก เชน Brouwer , Leray-Schauder and Kakutani Fixed Point Theorem เปนตน ซึ่งขึ้นอยูกับการนําไปประยุกตใช โดยหัวเรื่องหลักที่มีการนําทฤษฎีบทจุดตรึงมาใช ไดแก สมการพีชคณิตเชิงเสน (linear algebraic equations) สมการเชิงอนุพันธสามัญ (ordinary differential equations) สมการอินทิกรัล (integral equations) และ Incremental Small Gain Theorem ในทฤษฎีระบบ ควบคุมไมเชิงเสน (nonlinear control theory) เปนตน สําหรับผูอานที่สนใจในรายละเอียดเรื่อง ทฤษฎีบทการสงแบบดึงดูด (contraction mapping theorem) หาอานไดจากหนังสือของ D.R. Smart. ˝Fixed Point Theorems.˝Cambridge University Press, 1973
  • 12. เอกสารอางอิง 1. E.Kreyszig. Introductory Functional Analysis with Applications. John Wiley, New York, 1978. 2. J.T.Oden. Applied Functional Analysis. A First Course for Students of Mechanics and Engineering Science. Prentice Hall, Englewood Cliffs, NJ, 1979. 3. S.Sastry. Nonlinear Systems. Analysis, Stability, and Control. Springer-Verlag, New York, 1999.
  • 13. ขอมูล ชื่อบัญชี นายสมเกียรติ มูลมั่งมี เลขที่บัญชีฝากประจําธนาคารไทยพาณิชย 077-106204-2 ที่อยูที่สามารถติดตอได 53/463 หมูบานสามัคคี (นวมินทร 105) ถนนนวมินทร  ตําบลคลองกุม เขตบึงกุม กทม. 10240 เบอรโทรศัพท 08-6579-4040 หรือ 02-5108103