SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
บทที่   1
                                       บทนําสมการเชิงอนุพันธ


1.1 บทนํา
        โดยนิยาม สมการเชิงอนุพันธ (differential equation) คือ สมการที่ประกอบดวยตัวแปร
ตามไมทราบคาหนึ่งตัว และอนุพันธตาง ๆ ของตัวแปรดังกลาว สมการเชิงอนุพันธจัดวาเปน
คณิตศาสตรแขนงหนึ่งที่มีความสําคัญอยางมากกับการประยุกตใชงานในทางวิศวกรรมไฟฟา
วิทยาศาสตร และในสาขาคณิตศาสตรประยุกต ปญหาตาง ๆ ในสาขาวิขาเหลานี้สามารถจําลองได
ในรูป ของสมการเชิ ง อนุพั น ธ เช น การวิ เ คราะหว งจรไฟฟ า การทํ า นายอัต ราการเติบ โตของ
ประชากร กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ปญหาของการนําความรอนในแทงโลหะ เปนตน สมการเชิง
อนุพันธสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ที่มีความสําคัญในทางปฏิบัติ ไดแก
    •   สมการเชิงอนุพันธสามัญ (Ordinary Differential Equation: ODE)
    •   สมการเชิงอนุพันธยอย (Partial Differential Equation: PDE)
เกณฑที่ใชในการแบงประเภทของสมการเชิงอนุพันธเปนดังนี้ ถาสมการเชิงอนุพันธประกอบดวย
อนุพันธแบบสามัญ (ordinary derivative) เทานั้น เราจะเรียกสมการดังกลาววา สมการเชิงอนุพันธ
2      สมการเชิงอนุพนธสามัญ
                    ั


สามัญ หรือ ODE แตถาสมการเชิงอนุพันธประกอบดวยอนุพันธยอย (partial derivative) ดวย เรา
จะเรียกสมการดังกลาววา สมการเชิงอนุพันธยอย หรือ PDE ในหนังสือเลมนี้เราจะกลาวถึงเฉพาะ
สมการเชิงอนุพนธสามัญ
             ั


1.2 การจําลองระบบดวยสมการเชิงอนุพันธ

      หัวขอนี้กลาวถึงตัวอยางการประยุกตใชสมการเชิงอนุพันธเพื่อจําลองระบบที่เราสนใจ
โดยในที่นี้จะขอยกตัวอยางปญหางาย ๆ 2 ตัวอยางไดแก ปญหาการทํานายการเพิ่มขึ้นของจํานวน
ประชากรในหมูบานแหงหนึ่ง และปญหาการเย็นตัวของนิวตัน
           1.2.1 การทํานายอัตราการเติบโตของจํานวนประชากร

         พิจารณาการทํานายอัตราการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรในหมูบานแหงหนึ่ง กําหนดให
P (t ) แทนจํ า นวนประชากรในหมู บ า นดั ง กล า ว ซึ่ ง ได เ ขี ย นเป น ฟ ง ก ชั น ที่ แ ปรผั น ตามเวลา t
คํ า ถามที่ เ ราอาจสนใจได คื อ จํ า นวนประชากรของหมู บ า นในอี ก 5 ป ข า งหน า ในที่ นี้ จ ะใช
แบบจําลองพื้นฐานที่มีชื่อเรียกวา แบบจําลองเลขชี้กําลัง (the exponential model) ซึ่งมีขอสมมุติ
วา อัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรในหมูบานแปรผันตรงกับจํานวนประชากรที่มีอยู ดังนั้น เราจึง
สามารถจําลองพฤติกรรมการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรไดในรูปสมการเชิงอนุพันธไดดังนี้
                                       d
                                          P(t ) = kP (t )                                              (1.1)
                                       dt

โดย k เปนคาคงที่ (คาบวก) ซึ่งเรียกวาคาคงที่ของการแปรผัน เราสามารถหาผลเฉลยของสมการ
เชิงอนุพันธดังกลาวไดเปน
                                       P (t ) = P0 e kt                                                (1.2)

โดย   P0   แทนจํานวนประชากรเริ่มตน กลาวคือ P(0) = P         0


ถา ณ เวลาปจ จุ บัน ในหมูบ า นมี ป ระชากรทั้ง หมด 1000 คน และให               k = 0.1   จะได ว าจํ า นวน
ประชากรในอีก 5 ปขางหนามีคาเทากับ
                                       P (5) = 1000e0.1×5 ≈ 1649    คน
บทที่ 1 บทนําสมการเชิงอนุพันธ    3

หากนําสมการที่ (1.2) มาวาดเปนกราฟจะไดผลดังแสดงในรูปที่ 1.1 สังเกตวาจํานวนประชากรมี
แตเพิ่มสูงขึ้นตามเวลาไปเรื่อย ๆ แตในสภาพความเปนจริงพฤติกรรมการเพิ่มขึ้นของประชากรอาจ
แตกตางไปจากนี้ เพราะมีปจจัยอื่น ๆ เชน สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ปริมาณอาหารที่มีอยูจํากัด
คาครองชีพ พื้นที่ทํากิน และที่อยูอาศัย ที่อาจจํากัดอัตราการเติบโตของประชากร หากตองการให
การทํ า นายประชากรสอดคล อ งกั บ สภาพความเป น จริ ง มากขึ้ น จะต อ งสร า งแบบจํ า ลองทาง
คณิตศาสตรท่ซับซอนมากขึ้น
               ี
                 จํานวนประชากร




                    รูปที่ 1.1 ลักษณะการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรในหมูบาน
          1.2.2 กฎการเย็นตัวของนิวตัน

         พิจารณาจากกฎการเย็นตัวของนิวตัน (Newton's law of cooling) เราพบวาอุณหภูมิบนผิว
ของวัตถุหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลงดวยอัตราที่แปรผันตรงกับผลตางระหวางอุณหภูมิบนผิวของวัตถุ
นั้นกับอุณหภูมิของสิ่งแวดลอม กําหนดให T (t ) แทนอุณหภูมิบนพื้นผิวของวัตถุซึ่งเปนฟงกชัน
ของเวลา t เราสามารถจําลองอุณหภูมิบนพื้นผิวของวัตถุในรูปของสมการเชิงอนุพันธสามัญ
อันดับหนึ่งไดดังนี้
                                 d
                                    T (t ) = − k [T (t ) − Ts ]                                    (1.3)
                                 dt

โดย T เปนอุณหภูมิของสิ่งแวดลอม (สมมุติวามีคาคงที่) และ k เปนคาคงที่ (คาบวก)
      s


สมการเชิงอนุพันธนี้สามารถหาผลเฉลยไดไมยากนักดังตอไปนี้
4         สมการเชิงอนุพนธสามัญ
                       ั

                                      dT (t )
                                                  = − kdt
                                   [T (t ) − Ts ]

                                ln[T (t ) − Ts ] = −kt + c

                                     T (t ) − Ts = e (
                                                         − kt + c )



                                            T (t ) = Ts + c1e − kt

พิจารณาที่ t = 0 จะได T (0) = T            s   + c1   ฉะนั้น         c1 = T (0) − Ts   เมื่อแทนคา       c1   กลับลงในสมการ
จะไดผลเฉลยดังนี้
                                T (t ) = Ts + [T (0) − Ts ]e − kt                                                       (1.4)

เราสามารถหาคา k ไดโดยเริ่มตนจากการพิจารณาคา T (t ) ที่เวลา t และ t ดังนี้              1          2


                    T (t1 ) = Ts + [T (0) − Ts ]e − kt1

                    T (t2 ) = Ts + [T (0) − Ts ]e − kt2

นําสมการทั้งสองมาหารกัน (ยายขางคาของ T กอน) จะได          s


                    T (t1 ) − Ts
                                 = e − k ( t1 −t2 )                                                                     (1.5)
                    T (t2 ) − Ts

ดังนั้น
                             1      T (t1 ) − Ts
                    k=           ln                                                                                     (1.6)
                          t2 − t1 T (t2 ) − Ts


ตัวอยาง 1.1 ■■
สมมุติวามีผูพบศพผูเสียชีวิตจากการฆาตกรรมในโรงแรมแหงหนึ่งในชวงเชาเวลา 09.00 นาฬิกา
ตรวจพบวารางกายของศพมีอุณหภูมิเทากับ 33 องศาเซลเซียส และอีกสองชั่วโมงตอมาพบวาศพ
มีอุณหภูมิลดลงเหลือเปน 30 องศาเซลเซียส ทั้งนี้ อุณหภูมิภายในหองมีคาคงที่เทากับ 25 องศา
จงหาวาผูเสียชีวิตถูกฆาตกรรมเวลากี่นาฬิกา
วิธีทํา
ใชสมการที่ 1.6 เพื่อคํานวณคาคงที่ k
บทที่ 1 บทนําสมการเชิงอนุพันธ       5

                             1      T (t1 ) − Ts
                     k=          ln
                          t2 − t1 T (t2 ) − Ts

จากโจทย t1      = 9 t2 = 11 T (t1 ) = 33 T (t2 ) = 30      และ T    s   = 25    ฉะนั้น
                        1 33 − 25
                     k = ln       = 0.235
                        2 30 − 25

สมมุติวาผูเสียชีวิตกอนถูกฆาตกรรมมีอุณหภูมเิ ทาคนปกติคือ 37 องศาเซลเซียส จากสมการที่ 1.6
                                 1 T (t1 ) − Ts
                     t2 − t1 =    ln
                                 k T (t2 ) − Ts

จากโจทย t   2   = 9 T (t1 ) = 37 T (t2 ) = 33 k = 0.235         และ T     s   = 25   ฉะนั้น
                                   1     37 − 25
                     9 − t1 =         ln
                                 0.235 33 − 25
                     t1 = 7.2746

ดังนั้น เราประมาณไดวาฆาตกรรมเกิดขึ้นเวลา 07.16 นาฬิกา


1.3 สมการเชิงอนุพนธสามัญ
                 ั
       สมการเชิงอนุพันธสามัญ (Ordinary Differential Equation: ODE) คือ สมการที่แสดง
ความสัมพันธระหวางฟงกชันไมทราบคาฟงกชันหนึ่งกับคาอนุพันธอันดับตาง ๆ ของมัน โดย
สมการเชิ งอนุ พั นธสามั ญอั น ดับที่ n หรือเรีย กโดยยอวา ODE อั น ดับที่ n สามารถเขีย นเป น
สมการไดดังนี้
                                         F ( x, y, y ′,K , y ( n ) ) = 0                                           (1.7)

                                                                                                                   dny
โดย y เปนฟงกชันของ            x,   y′ =
                                             dy
                                                  คืออนุพันธอันดับที่หนึ่งเมื่อเทียบกับ x และ            y(n) =
                                             dx                                                                    dx n
คืออนุพันธอันดับที่ n เมื่อเทียบกับ x จะเห็นวา อันดับ (order) ของสมการเชิงอนุพันธคืออันดับ
สูงสุดของอนุพันธที่กระทํากับฟงกชัน y และนอกเหนือจากคําวา อันดับของสมการเชิงอนุพันธ
แลว เรายังมีการนิย ามคํ าวา ระดับขั้น (degree) เพื่อใชระบุวาพจนของสมการเชิงอนุพันธที่มี
อันดับสูงสุดมีคายกกําลังเทาใด
6          สมการเชิงอนุพนธสามัญ
                        ั


             1.3.1 สมการเชิงอนุพันธเชิงเสน

       สมการเชิงอนุพันธสามัญจะจัดวา เปน สมการเชิงอนุพันธเชิงเสน (linear differential
equation) ที่มีอนดับเทากับ n ไดหากสามารถเขียนไดในรูปตอไปนี้
                ั
                                     dny              d n −1 y           dy
                           an ( x)      n
                                          + an −1 ( x) n −1 + K + a1 ( x) + a0 ( x) y = f ( x)                                                 (1.8)
                                     dx               dx                 dx

หรือจะเขียนในอีกรูปหนึ่งไดคือ
                           an ( x) y ( n ) + an −1 ( x) y ( n −1) + K + a1 ( x) y′ + a0 ( x) y = f ( x)                                        (1.9)

             ใหสงเกตวาในสมการเชิงอนุพันธเชิงเสนนั้นจะตองมีคุณลักษณะดังตอไปนี้
                 ั
      1.     ฟงกชัน y และอนุพันธอันดับตาง ๆ ของ y จะมีคายกกําลังเปน 1 เสมอ
      2.     ตองไมปรากฏมีพจนที่เปนคาการคูณกันของฟงกชัน y หรืออนุพันธอันดับตาง ๆ ของ                                                            y
             แตอยางใด ตัวอยางเชน ตองไมมี yy′ ในสมการ เปนตน
      3.     ตองไมปรากฏมีฟงกชันอดิศัย1 (transcendental function) ของฟงกชัน y หรืออนุพันธ
             อันดับตาง ๆ ของ y ตัวอยางเชน ตองไมมี sin( y ) log( y) หรือ e ปรากฏอยูในสมการ                     y




  ตัวอยาง 1.2 ■■
จงพิจารณาวาสมการเชิงอนุพันธสามัญตอไปนี้จัดเปนสมการเชิงอนุพันธเชิงเสนหรือไมเชิงเสน
จากนั้นระบุอันดับ และระดับขั้นของสมการดังกลาว
       d2y
(ก)
                 dy
          2
            + 4 x + 2 y = sin( x)
       dx        dx

(ข) ( y ′′ ) + 2 x 2 yy ′′′ + x 2 y = 0
             2




                 1
               ฟงกชันอดิสัย (transcendental function) หมายถึงฟงกชันที่ไมใชฟงกชันพีชคณิต (algebraic function) กลาวคือ เปนฟงกชันที่ไมสามารถ
                                                                                  
เขียนในรูปพีชคณิต ตัวอยางของฟงกชันอดิสัย ไดแก ฟงกชันเลขชี้กําลัง (exponential function) และฟงกชันตรีโกณมิติ (trigonometric function)
บทที่ 1 บทนําสมการเชิงอนุพันธ      7

วิธีทํา
(ก) จัดเปนสมการเชิงอนุพันธเชิงเสน เพราะมีรูปแบบตรงตามนิยามในสมการ 1.8          สังเกตวา แม
สมการนี้จะมีฟงกชันอดิศัยปรากฏอยู คือ sin( x ) แตยังจัดวาเปนสมการเชิงเสนไดเพราะฟงกชัน
อดิศัยนี้มิไดเปนฟงกชนของตัวแปร y สมการนี้มีอันดับเทากับ 2 และระดับขั้นเทากับ 1
                        ั
(ข) จัดเปนสมการเชิงอนุพันธไมเชิงเสน เพราะมีทั้งพจนยกกําลังสองของ y ′′           และการคูณกันของ
 y และ y ′′′ ซึ่ ง ไม ส อดคล อ งตามนิ ย ามในสมการ 1.8 สมการนี้ มี อั น ดั บ เท า กั บ 3 และระดั บ ขั้ น
เทากับ 1

 ตัวอยาง 1.3 ■■
พิจารณาตัวอยางสมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับหนึ่งที่เรียบงายตอไปนี้
                            y′ = 6 x

จงหาผลเฉลยของสมการพรอมวาดกราฟประกอบ
วิธีทํา
จัดรูปสมการใหมเปน
                            dy = 6 x ⋅ dx

หาคาปริพันธของสมการทั้งสองดานจะได
                            ∫ dy = ∫ 6 x ⋅ dx
                            y = 3x 2 + c

พิจารณาจากผลเฉลยที่ไดจะเห็นวามี c ซึ่งเปนคาคงตัวที่ยังไมไดเจาะจงปรากฏอยู ดังนั้น เมื่อนํา
ผลเฉลยไปวาดเปนกราฟจะไดเปนกราฟพาราโบลาที่มีจุดตัดแกน y ที่แตกตางกันตามคาของ c
8         สมการเชิงอนุพนธสามัญ
                       ั


                                                                y
                                                          80

                                                          60
                                                                        c = 20
                                                          40
                                                                              c=0
                                                          20                         c = −20

                            -5                              0                                x
                                     -4   -3   -2    -1         0   1     2      3   4   5
                                                          -20



                        รูปที่ 1.2 เสนกราฟ         y = 3x 2 + c    สําหรับคา c ตาง ๆ กัน

 ตัวอยาง 1.4 ■■
พิจารณาตัวอยางสมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับหนึ่งตอไปนี้
                             y′ = 5 y

จงหาผลเฉลยของสมการพรอมวาดกราฟประกอบ
วิธีทํา
จัดรูปสมการใหมเปน
                             dy
                                = 5dx
                              y

หาคาปริพันธของสมการทั้งสองดานจะได
                                 1
                             ∫ y dy = 5∫ dx
                             ln y = 5 x + ln c

เราสามารถเขียนผลเฉลยของสมการนี้ไดในรูป
                             y = ce5 x
บทที่ 1 บทนําสมการเชิงอนุพันธ       9

ผลเฉลยที่ไดแสดงใหเห็นวาเปนฟงกชันเลขชี้กําลังที่ถูกคูณดวยคาคงตัวไมเจาะจง c และเมื่อ
นํามาวาดเปนกราฟจะเปนเสนที่มีความโคงมากนอยตางกัน ดังแสดงในรูปที่ 1.3 จากตัวอยางนี้เรา
สามารถขยายผลตอไดวาสมการ y′ = ky จะมีผลเฉลยในรูป y = ce โดย k เปนคาคงตัว      kx




                                                      y
                                                             c = 20
                                                80
                                                60
                                                                    c = 10
                                                40
                                                                      c=5
                                                20

                    -5   -4   -3   -2      -1     00         1        2       3    4   5
                                                                                           x
                                                -20
                                                                      c = −5
                                                -40
                                                                    c = −10
                                                -60
                                                -80       c = −20


                     รูปที่ 1.3 เสนกราฟ   y = ce5 x        สําหรับคา c ตาง ๆ กัน

         คําตอบของผลเฉลยที่ไดในตัวอยางทั้งสองตัวอยางแสดงอยูในรูปของ ผลเฉลยทั่วไป
(general solution) กลาวคือ ผลเฉลยจะตองมีคาคงตัวไมเจาะจงปรากฏอยูในผลเฉลยอยางนอย
หนึ่งตัวเสมอ แตเมื่อมีการแทนคาคงตัวไมเจาะจงดวยตัวเลขคาหนึ่งแลว ผลเฉลยที่ไดจะเรียกวา
ผลเฉลยเฉพาะราย (particular solution) วิธีการหนึ่งที่สามารถนํามาใชในการกําหนดคาตัวเลข
ใหกับคาคงตัวไมเจาะจงคือ การระบุความตองการเพิ่มเติมวาใหผลเฉลยตองตัดผานจุด ( x , y )                 0       0

จุดหนึ่งที่กาหนด หรือมักจะกําหนดในรูปของเงื่อนไขคาตั้งตน (initial condition) ของระบบก็ได
            ํ
       1.3.2 การทวนสอบวาฟงกชันเปนผลเฉลยจริงของสมการเชิงอนุพันธ

         หากเรารูผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธสามัญสมการหนึ่งแลว เราสามารถทวนสอบ
(verify) ไดวาฟงกชันดังกลาวเปนผลเฉลยที่แทจริงของสมการเชิงอนุพันธสามัญดังกลาวหรือไม
โดยวิธีการงาย ๆ คือ หาอนุพันธอันดับตาง ๆ ของฟงกชันนั้น แลวแทนคากลับลงในพจนตาง ๆ
ของสมการเชิงอนุพันธที่จะทวนสอบ หากพบวาคาของสมการทั้งสองดานมีคาเทากันก็แสดงวา
ฟงกชันดังกลาวเปนผลเฉลยจริง
10        สมการเชิงอนุพันธสามัญ


 ตัวอยาง 1.5 ■■
จงทวนสอบ (verify) ดูวา                 y = c1e − x + c2 e 2 x   เปนผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับสอง
ตอไปนี้
                       y ′′ − y ′ − 2 y = 0

สําหรับคาคงตัว c และ c ใด ๆ
                       1            2


วิธีทํา
จากฟงกชัน      y = c1e − x + c2 e 2 x     ที่โจทยกําหนดให เราหาอนุพันธอันดับหนึ่งและอันดับสองไดเปน
                       y ′ = − c1e − x + 2c2 e 2 x

                       y ′′ = c1e − x + 4c2 e 2 x

เมื่อแทน    y′   และ       y′′   ลงในสมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับสองดานซายมือของสมการจะได
                       c1e − x + 4c2 e 2 x − ( − c1e − x + 2c2 e 2 x ) − 2 ( c1e − x + c2 e 2 x )

                                    = ( c1 + c1 − 2c2 ) e − x + ( 4c2 − 2c2 − 2c2 ) e 2 x

                                    =0

ซึ่งมีคาเปนศูนย ดังนั้น เราจึงสรุปไดวา
                        y = c1e − x + c2 e 2 x     เปนผลเฉลยของสมการ               y ′′ − y ′ − 2 y = 0   จริง
โจทยตัวอยางขอนี้แสดงใหเห็นวาถาเรารูผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธสามัญสมการหนึ่งแลว
เราสามารถทวนสอบวาฟงกชันดังกลาวเปนผลเฉลยที่แทจริงของสมการเชิงอนุพันธสามัญดังกลาว
หรือไม เปนเรื่องที่งายและเปนประโยชนในการตรวจสอบคําตอบ
        ใหสังเกตวาสมการในตัวอยาง 1.3 และ 1.4 ซึ่งเปนสมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับหนึ่ง
ใหผลเฉลยที่มีคาคงตัวไมเจาะจง 1 ตัว และสมการในตัวอยาง 1.5 ซึ่งเปนสมการเชิงอนุพันธสามัญ
อันดับสองใหผลเฉลยที่มคาคงตัวไมเจาะจง 2 ตัว เราพบวาในกรณีทั่วไปสมการเชิงอนุพันธสามัญ
                        ี
อันดับ n จะใหผลเฉลยที่มีคาคงตัวไมเจาะจงจํานวน n ตัว
บทที่ 1 บทนําสมการเชิงอนุพันธ   11

             1.3.3 การหาสมการเชิงอนุพันธจากฟงกชันผลเฉลย
          นอกจากการทวนสอบวาผลเฉลยสอดคลองกับสมการเชิงอนุพันธสามัญที่กําหนดมาให
เปนเรื่องงายแลว เรายังพบอีกวาถารูผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงอนุพันธ เราจะสามารถหาสมการ
เชิงอนุพันธไดดวยเชนกัน วิธีการคือใหหาอนุพันธอันดับตาง ๆ ของฟงกชันผลเฉลยที่ได แลว
พยายามกําจัดคาคงตัวไมเจาะจงออกไปจากสมการ

ตัวอยาง 1.6 ■■
จงหาสมการเชิงอนุพันธอันดับสองที่มผลเฉลยดังตอไปนี้
                                  ี
                     y = ae x + b cos x

โดยที่ a และ b เปนคาคงตัวไมเจาะจง
วิธีทํา
หาอนุพันธอันดับหนึ่งและอันดับสองไดผลดังนี้
                     y ′ = ae x − b sin x

                     y ′′ = ae x − b cos x

กําจัดคาคงตัว b โดยนํา y และ             y ′′   มาบวกกันและจัดพจนเพื่อหาคา a
                            ( y + y ′′)
                    a=
                               2e x

กําจัดคาคงตัว a โดยนํา y และ             y ′′   มาลบกันและจัดพจนเพื่อหาคา b
                         ( y − y ′′)
                    b=
                          2 cos x

แทนค า      a  และ b ที่ ไ ด ล งในสมการผลเฉลย               y = ae x + b cos x   และนํ า ไปแทนลงในสมการ
y ′ = ae x   − b sin x ผลที่ไดคือ

                            ( y + y ′′) x ( y − y ′′)
                     y′ =              e −            sin x
                               2e x        2cos x
12      สมการเชิงอนุพันธสามัญ

                          1              1
                      =     ( y + y ′′) − ( y − y ′′) tan x
                          2              2

จัดรูปสมการใหมได
                   [1 + tan x ] y ′′ − 2 y ′ + [1 − tan x ] y = 0



         1.3.4 แนวทางการหาผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธ
            สมการเชิงอนุพันธสามัญมีรูปแบบที่เปนไปไดจํานวนมากทั้งที่เปนเชิงเสนและไมเปนเชิง
เสน มีอันดับที่แตกตางกันไดมากมายตั้งแตอันดับหนึ่ง อันดับสอง ไปจนถึงอันดับที่สูงกวานี้
ดั ง นั้ น การหาผลเฉลยของสมการเชิ ง อนุ พั น ธ ส ามั ญ จึ ง เป น เรื่ อ งยุ ง ยากซั บ ซ อ นมาก ดั ง นั้ น
โดยทั่วไปจึงมั ก จะแบ งพิ จารณาสมการเชิงอนุพั น ธ สามัญออกเปนประเภทยอย และแยกการ
วิเคราะหสมการเชิงอนุพันธสามัญแตละประเภทดวยวิธีหรือเทคนิคที่แตกตางกัน ในที่นี้ไดแบง
ประเภทของปญหาสมการเชิงอนุพันธสามัญโดยใชเกณฑตามอันดับของสมการ กลาวคือ จะ
เริ่มตนจากการพิจารณาสมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับหนึ่งกอน ซึ่งเปนเนื้อหาที่บรรจุไวในบทที่
2 จากนั้ น จะได ศึ ก ษาถึ ง สมการเชิ ง อนุ พั น ธ ส ามั ญ อั น ดั บ สองในบทที่ 3 และสํ า หรั บ สมการเชิ ง
อนุพันธสามัญที่มีอันดับสูงขึ้นไปจะไดกลาวถึงในบทที่ 4

More Related Content

What's hot

ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docbenjawankokonz
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพPattamaporn Kheawfu
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 KruPa Jggdd
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3Khunnawang Khunnawang
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนkanjana2536
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอสมการและประโยคภาษา
ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอสมการและประโยคภาษา ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอสมการและประโยคภาษา
ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอสมการและประโยคภาษา ืีืnunthiya kriangsamorn
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 

What's hot (20)

กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอสมการและประโยคภาษา
ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอสมการและประโยคภาษา ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอสมการและประโยคภาษา
ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอสมการและประโยคภาษา
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 

Similar to 9789740328896

Thermal Wave Interference
Thermal Wave InterferenceThermal Wave Interference
Thermal Wave Interferenceoznilzo
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005CUPress
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005CUPress
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์adriamycin
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 
สรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็นสรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็นkrulerdboon
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
การอินทีเกรต
การอินทีเกรตการอินทีเกรต
การอินทีเกรตANNRockART
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
Ch3 high order_od_es
Ch3 high order_od_esCh3 high order_od_es
Ch3 high order_od_esWk Kal
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 

Similar to 9789740328896 (20)

Thermal Wave Interference
Thermal Wave InterferenceThermal Wave Interference
Thermal Wave Interference
 
Contraction Mapping
Contraction MappingContraction Mapping
Contraction Mapping
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
 
Stability
StabilityStability
Stability
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
Phy1
Phy1Phy1
Phy1
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
สรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็นสรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็น
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
การอินทีเกรต
การอินทีเกรตการอินทีเกรต
การอินทีเกรต
 
เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
Ch3 high order_od_es
Ch3 high order_od_esCh3 high order_od_es
Ch3 high order_od_es
 
Pat1 53-10+key
Pat1 53-10+keyPat1 53-10+key
Pat1 53-10+key
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740328896

  • 1. บทที่ 1 บทนําสมการเชิงอนุพันธ 1.1 บทนํา โดยนิยาม สมการเชิงอนุพันธ (differential equation) คือ สมการที่ประกอบดวยตัวแปร ตามไมทราบคาหนึ่งตัว และอนุพันธตาง ๆ ของตัวแปรดังกลาว สมการเชิงอนุพันธจัดวาเปน คณิตศาสตรแขนงหนึ่งที่มีความสําคัญอยางมากกับการประยุกตใชงานในทางวิศวกรรมไฟฟา วิทยาศาสตร และในสาขาคณิตศาสตรประยุกต ปญหาตาง ๆ ในสาขาวิขาเหลานี้สามารถจําลองได ในรูป ของสมการเชิ ง อนุพั น ธ เช น การวิ เ คราะหว งจรไฟฟ า การทํ า นายอัต ราการเติบ โตของ ประชากร กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ปญหาของการนําความรอนในแทงโลหะ เปนตน สมการเชิง อนุพันธสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ที่มีความสําคัญในทางปฏิบัติ ไดแก • สมการเชิงอนุพันธสามัญ (Ordinary Differential Equation: ODE) • สมการเชิงอนุพันธยอย (Partial Differential Equation: PDE) เกณฑที่ใชในการแบงประเภทของสมการเชิงอนุพันธเปนดังนี้ ถาสมการเชิงอนุพันธประกอบดวย อนุพันธแบบสามัญ (ordinary derivative) เทานั้น เราจะเรียกสมการดังกลาววา สมการเชิงอนุพันธ
  • 2. 2 สมการเชิงอนุพนธสามัญ ั สามัญ หรือ ODE แตถาสมการเชิงอนุพันธประกอบดวยอนุพันธยอย (partial derivative) ดวย เรา จะเรียกสมการดังกลาววา สมการเชิงอนุพันธยอย หรือ PDE ในหนังสือเลมนี้เราจะกลาวถึงเฉพาะ สมการเชิงอนุพนธสามัญ ั 1.2 การจําลองระบบดวยสมการเชิงอนุพันธ หัวขอนี้กลาวถึงตัวอยางการประยุกตใชสมการเชิงอนุพันธเพื่อจําลองระบบที่เราสนใจ โดยในที่นี้จะขอยกตัวอยางปญหางาย ๆ 2 ตัวอยางไดแก ปญหาการทํานายการเพิ่มขึ้นของจํานวน ประชากรในหมูบานแหงหนึ่ง และปญหาการเย็นตัวของนิวตัน 1.2.1 การทํานายอัตราการเติบโตของจํานวนประชากร พิจารณาการทํานายอัตราการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรในหมูบานแหงหนึ่ง กําหนดให P (t ) แทนจํ า นวนประชากรในหมู บ า นดั ง กล า ว ซึ่ ง ได เ ขี ย นเป น ฟ ง ก ชั น ที่ แ ปรผั น ตามเวลา t คํ า ถามที่ เ ราอาจสนใจได คื อ จํ า นวนประชากรของหมู บ า นในอี ก 5 ป ข า งหน า ในที่ นี้ จ ะใช แบบจําลองพื้นฐานที่มีชื่อเรียกวา แบบจําลองเลขชี้กําลัง (the exponential model) ซึ่งมีขอสมมุติ วา อัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรในหมูบานแปรผันตรงกับจํานวนประชากรที่มีอยู ดังนั้น เราจึง สามารถจําลองพฤติกรรมการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรไดในรูปสมการเชิงอนุพันธไดดังนี้ d P(t ) = kP (t ) (1.1) dt โดย k เปนคาคงที่ (คาบวก) ซึ่งเรียกวาคาคงที่ของการแปรผัน เราสามารถหาผลเฉลยของสมการ เชิงอนุพันธดังกลาวไดเปน P (t ) = P0 e kt (1.2) โดย P0 แทนจํานวนประชากรเริ่มตน กลาวคือ P(0) = P 0 ถา ณ เวลาปจ จุ บัน ในหมูบ า นมี ป ระชากรทั้ง หมด 1000 คน และให k = 0.1 จะได ว าจํ า นวน ประชากรในอีก 5 ปขางหนามีคาเทากับ P (5) = 1000e0.1×5 ≈ 1649 คน
  • 3. บทที่ 1 บทนําสมการเชิงอนุพันธ 3 หากนําสมการที่ (1.2) มาวาดเปนกราฟจะไดผลดังแสดงในรูปที่ 1.1 สังเกตวาจํานวนประชากรมี แตเพิ่มสูงขึ้นตามเวลาไปเรื่อย ๆ แตในสภาพความเปนจริงพฤติกรรมการเพิ่มขึ้นของประชากรอาจ แตกตางไปจากนี้ เพราะมีปจจัยอื่น ๆ เชน สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ปริมาณอาหารที่มีอยูจํากัด คาครองชีพ พื้นที่ทํากิน และที่อยูอาศัย ที่อาจจํากัดอัตราการเติบโตของประชากร หากตองการให การทํ า นายประชากรสอดคล อ งกั บ สภาพความเป น จริ ง มากขึ้ น จะต อ งสร า งแบบจํ า ลองทาง คณิตศาสตรท่ซับซอนมากขึ้น ี จํานวนประชากร รูปที่ 1.1 ลักษณะการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรในหมูบาน 1.2.2 กฎการเย็นตัวของนิวตัน พิจารณาจากกฎการเย็นตัวของนิวตัน (Newton's law of cooling) เราพบวาอุณหภูมิบนผิว ของวัตถุหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลงดวยอัตราที่แปรผันตรงกับผลตางระหวางอุณหภูมิบนผิวของวัตถุ นั้นกับอุณหภูมิของสิ่งแวดลอม กําหนดให T (t ) แทนอุณหภูมิบนพื้นผิวของวัตถุซึ่งเปนฟงกชัน ของเวลา t เราสามารถจําลองอุณหภูมิบนพื้นผิวของวัตถุในรูปของสมการเชิงอนุพันธสามัญ อันดับหนึ่งไดดังนี้ d T (t ) = − k [T (t ) − Ts ] (1.3) dt โดย T เปนอุณหภูมิของสิ่งแวดลอม (สมมุติวามีคาคงที่) และ k เปนคาคงที่ (คาบวก) s สมการเชิงอนุพันธนี้สามารถหาผลเฉลยไดไมยากนักดังตอไปนี้
  • 4. 4 สมการเชิงอนุพนธสามัญ ั dT (t ) = − kdt [T (t ) − Ts ] ln[T (t ) − Ts ] = −kt + c T (t ) − Ts = e ( − kt + c ) T (t ) = Ts + c1e − kt พิจารณาที่ t = 0 จะได T (0) = T s + c1 ฉะนั้น c1 = T (0) − Ts เมื่อแทนคา c1 กลับลงในสมการ จะไดผลเฉลยดังนี้ T (t ) = Ts + [T (0) − Ts ]e − kt (1.4) เราสามารถหาคา k ไดโดยเริ่มตนจากการพิจารณาคา T (t ) ที่เวลา t และ t ดังนี้ 1 2 T (t1 ) = Ts + [T (0) − Ts ]e − kt1 T (t2 ) = Ts + [T (0) − Ts ]e − kt2 นําสมการทั้งสองมาหารกัน (ยายขางคาของ T กอน) จะได s T (t1 ) − Ts = e − k ( t1 −t2 ) (1.5) T (t2 ) − Ts ดังนั้น 1 T (t1 ) − Ts k= ln (1.6) t2 − t1 T (t2 ) − Ts ตัวอยาง 1.1 ■■ สมมุติวามีผูพบศพผูเสียชีวิตจากการฆาตกรรมในโรงแรมแหงหนึ่งในชวงเชาเวลา 09.00 นาฬิกา ตรวจพบวารางกายของศพมีอุณหภูมิเทากับ 33 องศาเซลเซียส และอีกสองชั่วโมงตอมาพบวาศพ มีอุณหภูมิลดลงเหลือเปน 30 องศาเซลเซียส ทั้งนี้ อุณหภูมิภายในหองมีคาคงที่เทากับ 25 องศา จงหาวาผูเสียชีวิตถูกฆาตกรรมเวลากี่นาฬิกา วิธีทํา ใชสมการที่ 1.6 เพื่อคํานวณคาคงที่ k
  • 5. บทที่ 1 บทนําสมการเชิงอนุพันธ 5 1 T (t1 ) − Ts k= ln t2 − t1 T (t2 ) − Ts จากโจทย t1 = 9 t2 = 11 T (t1 ) = 33 T (t2 ) = 30 และ T s = 25 ฉะนั้น 1 33 − 25 k = ln = 0.235 2 30 − 25 สมมุติวาผูเสียชีวิตกอนถูกฆาตกรรมมีอุณหภูมเิ ทาคนปกติคือ 37 องศาเซลเซียส จากสมการที่ 1.6 1 T (t1 ) − Ts t2 − t1 = ln k T (t2 ) − Ts จากโจทย t 2 = 9 T (t1 ) = 37 T (t2 ) = 33 k = 0.235 และ T s = 25 ฉะนั้น 1 37 − 25 9 − t1 = ln 0.235 33 − 25 t1 = 7.2746 ดังนั้น เราประมาณไดวาฆาตกรรมเกิดขึ้นเวลา 07.16 นาฬิกา 1.3 สมการเชิงอนุพนธสามัญ ั สมการเชิงอนุพันธสามัญ (Ordinary Differential Equation: ODE) คือ สมการที่แสดง ความสัมพันธระหวางฟงกชันไมทราบคาฟงกชันหนึ่งกับคาอนุพันธอันดับตาง ๆ ของมัน โดย สมการเชิ งอนุ พั นธสามั ญอั น ดับที่ n หรือเรีย กโดยยอวา ODE อั น ดับที่ n สามารถเขีย นเป น สมการไดดังนี้ F ( x, y, y ′,K , y ( n ) ) = 0 (1.7) dny โดย y เปนฟงกชันของ x, y′ = dy คืออนุพันธอันดับที่หนึ่งเมื่อเทียบกับ x และ y(n) = dx dx n คืออนุพันธอันดับที่ n เมื่อเทียบกับ x จะเห็นวา อันดับ (order) ของสมการเชิงอนุพันธคืออันดับ สูงสุดของอนุพันธที่กระทํากับฟงกชัน y และนอกเหนือจากคําวา อันดับของสมการเชิงอนุพันธ แลว เรายังมีการนิย ามคํ าวา ระดับขั้น (degree) เพื่อใชระบุวาพจนของสมการเชิงอนุพันธที่มี อันดับสูงสุดมีคายกกําลังเทาใด
  • 6. 6 สมการเชิงอนุพนธสามัญ ั 1.3.1 สมการเชิงอนุพันธเชิงเสน สมการเชิงอนุพันธสามัญจะจัดวา เปน สมการเชิงอนุพันธเชิงเสน (linear differential equation) ที่มีอนดับเทากับ n ไดหากสามารถเขียนไดในรูปตอไปนี้ ั dny d n −1 y dy an ( x) n + an −1 ( x) n −1 + K + a1 ( x) + a0 ( x) y = f ( x) (1.8) dx dx dx หรือจะเขียนในอีกรูปหนึ่งไดคือ an ( x) y ( n ) + an −1 ( x) y ( n −1) + K + a1 ( x) y′ + a0 ( x) y = f ( x) (1.9) ใหสงเกตวาในสมการเชิงอนุพันธเชิงเสนนั้นจะตองมีคุณลักษณะดังตอไปนี้ ั 1. ฟงกชัน y และอนุพันธอันดับตาง ๆ ของ y จะมีคายกกําลังเปน 1 เสมอ 2. ตองไมปรากฏมีพจนที่เปนคาการคูณกันของฟงกชัน y หรืออนุพันธอันดับตาง ๆ ของ y แตอยางใด ตัวอยางเชน ตองไมมี yy′ ในสมการ เปนตน 3. ตองไมปรากฏมีฟงกชันอดิศัย1 (transcendental function) ของฟงกชัน y หรืออนุพันธ อันดับตาง ๆ ของ y ตัวอยางเชน ตองไมมี sin( y ) log( y) หรือ e ปรากฏอยูในสมการ y ตัวอยาง 1.2 ■■ จงพิจารณาวาสมการเชิงอนุพันธสามัญตอไปนี้จัดเปนสมการเชิงอนุพันธเชิงเสนหรือไมเชิงเสน จากนั้นระบุอันดับ และระดับขั้นของสมการดังกลาว d2y (ก) dy 2 + 4 x + 2 y = sin( x) dx dx (ข) ( y ′′ ) + 2 x 2 yy ′′′ + x 2 y = 0 2 1 ฟงกชันอดิสัย (transcendental function) หมายถึงฟงกชันที่ไมใชฟงกชันพีชคณิต (algebraic function) กลาวคือ เปนฟงกชันที่ไมสามารถ  เขียนในรูปพีชคณิต ตัวอยางของฟงกชันอดิสัย ไดแก ฟงกชันเลขชี้กําลัง (exponential function) และฟงกชันตรีโกณมิติ (trigonometric function)
  • 7. บทที่ 1 บทนําสมการเชิงอนุพันธ 7 วิธีทํา (ก) จัดเปนสมการเชิงอนุพันธเชิงเสน เพราะมีรูปแบบตรงตามนิยามในสมการ 1.8 สังเกตวา แม สมการนี้จะมีฟงกชันอดิศัยปรากฏอยู คือ sin( x ) แตยังจัดวาเปนสมการเชิงเสนไดเพราะฟงกชัน อดิศัยนี้มิไดเปนฟงกชนของตัวแปร y สมการนี้มีอันดับเทากับ 2 และระดับขั้นเทากับ 1 ั (ข) จัดเปนสมการเชิงอนุพันธไมเชิงเสน เพราะมีทั้งพจนยกกําลังสองของ y ′′ และการคูณกันของ y และ y ′′′ ซึ่ ง ไม ส อดคล อ งตามนิ ย ามในสมการ 1.8 สมการนี้ มี อั น ดั บ เท า กั บ 3 และระดั บ ขั้ น เทากับ 1 ตัวอยาง 1.3 ■■ พิจารณาตัวอยางสมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับหนึ่งที่เรียบงายตอไปนี้ y′ = 6 x จงหาผลเฉลยของสมการพรอมวาดกราฟประกอบ วิธีทํา จัดรูปสมการใหมเปน dy = 6 x ⋅ dx หาคาปริพันธของสมการทั้งสองดานจะได ∫ dy = ∫ 6 x ⋅ dx y = 3x 2 + c พิจารณาจากผลเฉลยที่ไดจะเห็นวามี c ซึ่งเปนคาคงตัวที่ยังไมไดเจาะจงปรากฏอยู ดังนั้น เมื่อนํา ผลเฉลยไปวาดเปนกราฟจะไดเปนกราฟพาราโบลาที่มีจุดตัดแกน y ที่แตกตางกันตามคาของ c
  • 8. 8 สมการเชิงอนุพนธสามัญ ั y 80 60 c = 20 40 c=0 20 c = −20 -5 0 x -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 -20 รูปที่ 1.2 เสนกราฟ y = 3x 2 + c สําหรับคา c ตาง ๆ กัน ตัวอยาง 1.4 ■■ พิจารณาตัวอยางสมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับหนึ่งตอไปนี้ y′ = 5 y จงหาผลเฉลยของสมการพรอมวาดกราฟประกอบ วิธีทํา จัดรูปสมการใหมเปน dy = 5dx y หาคาปริพันธของสมการทั้งสองดานจะได 1 ∫ y dy = 5∫ dx ln y = 5 x + ln c เราสามารถเขียนผลเฉลยของสมการนี้ไดในรูป y = ce5 x
  • 9. บทที่ 1 บทนําสมการเชิงอนุพันธ 9 ผลเฉลยที่ไดแสดงใหเห็นวาเปนฟงกชันเลขชี้กําลังที่ถูกคูณดวยคาคงตัวไมเจาะจง c และเมื่อ นํามาวาดเปนกราฟจะเปนเสนที่มีความโคงมากนอยตางกัน ดังแสดงในรูปที่ 1.3 จากตัวอยางนี้เรา สามารถขยายผลตอไดวาสมการ y′ = ky จะมีผลเฉลยในรูป y = ce โดย k เปนคาคงตัว kx y c = 20 80 60 c = 10 40 c=5 20 -5 -4 -3 -2 -1 00 1 2 3 4 5 x -20 c = −5 -40 c = −10 -60 -80 c = −20 รูปที่ 1.3 เสนกราฟ y = ce5 x สําหรับคา c ตาง ๆ กัน คําตอบของผลเฉลยที่ไดในตัวอยางทั้งสองตัวอยางแสดงอยูในรูปของ ผลเฉลยทั่วไป (general solution) กลาวคือ ผลเฉลยจะตองมีคาคงตัวไมเจาะจงปรากฏอยูในผลเฉลยอยางนอย หนึ่งตัวเสมอ แตเมื่อมีการแทนคาคงตัวไมเจาะจงดวยตัวเลขคาหนึ่งแลว ผลเฉลยที่ไดจะเรียกวา ผลเฉลยเฉพาะราย (particular solution) วิธีการหนึ่งที่สามารถนํามาใชในการกําหนดคาตัวเลข ใหกับคาคงตัวไมเจาะจงคือ การระบุความตองการเพิ่มเติมวาใหผลเฉลยตองตัดผานจุด ( x , y ) 0 0 จุดหนึ่งที่กาหนด หรือมักจะกําหนดในรูปของเงื่อนไขคาตั้งตน (initial condition) ของระบบก็ได ํ 1.3.2 การทวนสอบวาฟงกชันเปนผลเฉลยจริงของสมการเชิงอนุพันธ หากเรารูผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธสามัญสมการหนึ่งแลว เราสามารถทวนสอบ (verify) ไดวาฟงกชันดังกลาวเปนผลเฉลยที่แทจริงของสมการเชิงอนุพันธสามัญดังกลาวหรือไม โดยวิธีการงาย ๆ คือ หาอนุพันธอันดับตาง ๆ ของฟงกชันนั้น แลวแทนคากลับลงในพจนตาง ๆ ของสมการเชิงอนุพันธที่จะทวนสอบ หากพบวาคาของสมการทั้งสองดานมีคาเทากันก็แสดงวา ฟงกชันดังกลาวเปนผลเฉลยจริง
  • 10. 10 สมการเชิงอนุพันธสามัญ ตัวอยาง 1.5 ■■ จงทวนสอบ (verify) ดูวา y = c1e − x + c2 e 2 x เปนผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับสอง ตอไปนี้ y ′′ − y ′ − 2 y = 0 สําหรับคาคงตัว c และ c ใด ๆ 1 2 วิธีทํา จากฟงกชัน y = c1e − x + c2 e 2 x ที่โจทยกําหนดให เราหาอนุพันธอันดับหนึ่งและอันดับสองไดเปน y ′ = − c1e − x + 2c2 e 2 x y ′′ = c1e − x + 4c2 e 2 x เมื่อแทน y′ และ y′′ ลงในสมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับสองดานซายมือของสมการจะได c1e − x + 4c2 e 2 x − ( − c1e − x + 2c2 e 2 x ) − 2 ( c1e − x + c2 e 2 x ) = ( c1 + c1 − 2c2 ) e − x + ( 4c2 − 2c2 − 2c2 ) e 2 x =0 ซึ่งมีคาเปนศูนย ดังนั้น เราจึงสรุปไดวา y = c1e − x + c2 e 2 x เปนผลเฉลยของสมการ y ′′ − y ′ − 2 y = 0 จริง โจทยตัวอยางขอนี้แสดงใหเห็นวาถาเรารูผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธสามัญสมการหนึ่งแลว เราสามารถทวนสอบวาฟงกชันดังกลาวเปนผลเฉลยที่แทจริงของสมการเชิงอนุพันธสามัญดังกลาว หรือไม เปนเรื่องที่งายและเปนประโยชนในการตรวจสอบคําตอบ ใหสังเกตวาสมการในตัวอยาง 1.3 และ 1.4 ซึ่งเปนสมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับหนึ่ง ใหผลเฉลยที่มีคาคงตัวไมเจาะจง 1 ตัว และสมการในตัวอยาง 1.5 ซึ่งเปนสมการเชิงอนุพันธสามัญ อันดับสองใหผลเฉลยที่มคาคงตัวไมเจาะจง 2 ตัว เราพบวาในกรณีทั่วไปสมการเชิงอนุพันธสามัญ ี อันดับ n จะใหผลเฉลยที่มีคาคงตัวไมเจาะจงจํานวน n ตัว
  • 11. บทที่ 1 บทนําสมการเชิงอนุพันธ 11 1.3.3 การหาสมการเชิงอนุพันธจากฟงกชันผลเฉลย นอกจากการทวนสอบวาผลเฉลยสอดคลองกับสมการเชิงอนุพันธสามัญที่กําหนดมาให เปนเรื่องงายแลว เรายังพบอีกวาถารูผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงอนุพันธ เราจะสามารถหาสมการ เชิงอนุพันธไดดวยเชนกัน วิธีการคือใหหาอนุพันธอันดับตาง ๆ ของฟงกชันผลเฉลยที่ได แลว พยายามกําจัดคาคงตัวไมเจาะจงออกไปจากสมการ ตัวอยาง 1.6 ■■ จงหาสมการเชิงอนุพันธอันดับสองที่มผลเฉลยดังตอไปนี้ ี y = ae x + b cos x โดยที่ a และ b เปนคาคงตัวไมเจาะจง วิธีทํา หาอนุพันธอันดับหนึ่งและอันดับสองไดผลดังนี้ y ′ = ae x − b sin x y ′′ = ae x − b cos x กําจัดคาคงตัว b โดยนํา y และ y ′′ มาบวกกันและจัดพจนเพื่อหาคา a ( y + y ′′) a= 2e x กําจัดคาคงตัว a โดยนํา y และ y ′′ มาลบกันและจัดพจนเพื่อหาคา b ( y − y ′′) b= 2 cos x แทนค า a และ b ที่ ไ ด ล งในสมการผลเฉลย y = ae x + b cos x และนํ า ไปแทนลงในสมการ y ′ = ae x − b sin x ผลที่ไดคือ ( y + y ′′) x ( y − y ′′) y′ = e − sin x 2e x 2cos x
  • 12. 12 สมการเชิงอนุพันธสามัญ 1 1 = ( y + y ′′) − ( y − y ′′) tan x 2 2 จัดรูปสมการใหมได [1 + tan x ] y ′′ − 2 y ′ + [1 − tan x ] y = 0 1.3.4 แนวทางการหาผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธ สมการเชิงอนุพันธสามัญมีรูปแบบที่เปนไปไดจํานวนมากทั้งที่เปนเชิงเสนและไมเปนเชิง เสน มีอันดับที่แตกตางกันไดมากมายตั้งแตอันดับหนึ่ง อันดับสอง ไปจนถึงอันดับที่สูงกวานี้ ดั ง นั้ น การหาผลเฉลยของสมการเชิ ง อนุ พั น ธ ส ามั ญ จึ ง เป น เรื่ อ งยุ ง ยากซั บ ซ อ นมาก ดั ง นั้ น โดยทั่วไปจึงมั ก จะแบ งพิ จารณาสมการเชิงอนุพั น ธ สามัญออกเปนประเภทยอย และแยกการ วิเคราะหสมการเชิงอนุพันธสามัญแตละประเภทดวยวิธีหรือเทคนิคที่แตกตางกัน ในที่นี้ไดแบง ประเภทของปญหาสมการเชิงอนุพันธสามัญโดยใชเกณฑตามอันดับของสมการ กลาวคือ จะ เริ่มตนจากการพิจารณาสมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับหนึ่งกอน ซึ่งเปนเนื้อหาที่บรรจุไวในบทที่ 2 จากนั้ น จะได ศึ ก ษาถึ ง สมการเชิ ง อนุ พั น ธ ส ามั ญ อั น ดั บ สองในบทที่ 3 และสํ า หรั บ สมการเชิ ง อนุพันธสามัญที่มีอันดับสูงขึ้นไปจะไดกลาวถึงในบทที่ 4