SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
002336 POLITICAL SOCIOLOGY IN LOCAL GOVERNMENT
       สังคมวิทยาการเมืองในการปกครองส่วนท้องถิ่น
ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของปัญหาความขัดแย้ง



 บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาเดิมอยู่ในประเทศยูโกสลาเวีย ตั้งอยู่ทางภาค
 ตะวันออกเฉียงใต้ของยุโรปตรงกลางคาบสมุทรบอลข่าน (Balkan
 Peninsula) เนื่องจากบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาเคยเป็นส่วนหนึ่งของ
 ประเทศยูโกสลาเวียและเหตุการณ์ทั้งหลายที่เกิดขึ้นก็มีส่วนเกี่ยวพัน
 กับรัฐต่างๆในอดีตยูโกสลาเวียด้วย
ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของปัญหาความขัดแย้ง(ต่อ)
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง นายพลโจเซฟบรอส ตีโต้ ต่อสู้กับ
เยอรมันและอิตาลีจนชนะ จึงขับไล่ชาวเยอรมันและอิตาลีออก
จากดินแดน แล้วก่อตั้ง สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ใน
ปี 1946 อันประกอบไปด้วย 6 สาธารณรัฐกับอีก 2 จังหวัด
ได้แก่  เซอร์เบีย (Serbia)
         โครเอเชีย (Croatia)
         สโลวีเนีย (Slovenia)
         บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา (Bosnia and Herzegovina)
         มอนเตเนโกร (Montenegro)
         มาซีโดเนีย (Macedonia)
         และอีก 2 จังหวัด คือ วอยวอดินา (Vojvodina) และโคโซโว (Kosovo)
ค.ศ.1946
                            วิวัฒนาการความขัดแย้ง
                  • หลังสงครามโลกครั้งที2 ก่อตั้งสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย
                                        ่
                  • พรรคความมิวนิสต์ยูโกสลาเวียเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ค.ศ.1948
                  • นายพลตีโต้สามารถสยบการลุกฮือของชนชาติต่างๆ ไว้ได้
        ค.ศ.      • เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของยุโรปตะวันออก พรรคคอมมิวนิสต์ยูโกสลาเวียถูกกดดันจากประชาชนให้
    1980 – 1990     ยุติบทบาทการครอบครองประเทศและยินยอมให้มีการเลือกตั้ง
                  • พรรคคอมมิวนิสต์ชนะการเลือกตั้งเฉพาะใน เซอร์เบีย และมอนเตเนโกร เท่านั้น
                  • สาธารณรัฐอื่นๆแยกตัวจากรัฐบาลกลางที่กรุงเบลเกรด
ค.ศ. 1992
                  • บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา ๆได้รับความเห็นชอบจาก ปชช.ส่วนมาก ให้แยกตัวเป็นเอกราช เป็นจุดเริ่มต้นของ
       ค.ศ.         การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
    1991-1995     • เกิดการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยชาวเซิร์บเข่นฆ่าชาวบอสเนียที่นับถือ มุสลิม ทาให้สหประชาชาติ
                    ต้องเข้ามายุติและทาสนธิสัญญาเดย์ตันรวมกันของชาวบอสเนีย
ปัญหาความขัดแย้งและการแตกแยกของกลุ่มชนเชื้อชาติต่างๆ ได้แก่

              เซิร์บ   นับถือศาสนาคริสต์นิกายออโธดอกซ์


                        นับถือศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิก
             โครแอท


                            นับถือศาสนาเป็นมุสลิม
             บอสเนีย
แผนที่ยูโกสลาเวีย ปี 1991
ดินแดนที่เป็นยูโกสลาเวียประกอบด้วย


    ๏ เซอร์เบีย

    ๏ มอนเตรนิโกร

    ๏ วอยวอดินา
รายละเอียดความรุนแรงจานวนผูเสียชีวิต
                                            ้
                  และผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจ
           จากการพยายามแบ่งแยกดินแดงเพื่อตั้งตัวเป็นเอกราช ประชากรส่วนที่มี
อานาจในฐานะผู้นาต้องเข้าห่าหั่นปราบปรามกระทั้งนามาสู่การฆ่าอย่างโหดเหี้ยม การ
ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ครั้งนี้ มีผู้เสียชีวิตอนับแสนคน และกลายเป็นอีกหนึ่งตัวแบบแห่งปัญหา
ที่พยายามหาทางออกอย่างสันติวิธี เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อด้านต่างๆดังนี้คือ
                                                                            รัตโก มลาดิก
                                                              ผู้ต้องหาคดีอาชญากรรมสงครามบอสเนีย
 ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจ
1. บอสเนียฯ เป็นประเทศยากจนเป็นอันดับสองรองจากมาซิโดเนีย ในอดีต
   บอสเนียฯ เป็นแหล่งผลิตอุตสาหกรรมทางทหารของยูโกสลาเวีย ปัจจุบัน
   บอสเนียฯ ต้องนาเข้าอาหาร โดยเฉพาะเขตมุลลิมยังต้องอาศัยความช่วยเหลือ
   ด้านมนุษยธรรมจากองค์การระหว่างประเทศเป็นหลัก
2. ภาคการเกษตรส่วนใหญ่แม้จะเป็นของเอกชนแล้วแต่ขนาดของกิจการค่อนข้าง
   เล็กและไม่มีประสิทธิภาพ ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมมีการจ้างงานเกินความ
   ต้องการ สาหรับภาคเกษตรกรรมที่สาคัญ ได้แก่ การผลิตข้าวสาลี ข้าวโพด
   ผลไม้ ผัก ปศุสัตว์ ส่วนภาคอุตสาหกรรมที่สาคัญ ได้แก่ อุตสาหกรรมไม้ แร่และ
   โลหะ เคมีภัณฑ์และยา ผลิตภัณฑ์สิ่งทอหนัง การแปรรูปอาหารและเครื่องดื่ม
 ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจ(ต่อ)
3. หลังจากการสู้รบได้ยุติลง เศรษฐกิจบอสเนียฯ
ได้รับการพัฒนาอย่างมาก อย่างไรก็ตาม อัตรา
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจยังคงมีความผัน
ผวน ภาระที่เร่งด่วนของรัฐบาลยังคงเป็นเรื่องการ
ฟื้นฟูเศรษฐกิจ ซึ่งจาเป็นต้องมีสภาวะแวดล้อม
ทางเศรษฐกิจที่เอื้ออานวยต่อการลงทุนของ และ
เป็นระบบเศรษฐกิจแบบการตลาด ซึ่งปัจจุบัน
การแปรรูปรัฐวิสาหกิจเป็นไปอย่างล่าช้า อัตรา
การว่างงานยังคงสูง
 วิธีการแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการแก้ไขปัญหา
                            ทางสหประชาชาติได้ลงมติคว่าบาตรยูโกสลาเวีย
                             และดาเนินการระงับการสู้รบ โดยจัดตั้งกองกาลัง
                             ป้องกันสหประชาชาติหรืออันโพรฟอร์ (United
                             Nations Protection Force - UNPROFOR) มี
                             ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยช่วยเหลือประชาชนที่ลี้ภัย

                            สหรัฐฯจึงทาหน้าที่เป็นตัวกลางไกล่เกลี่ยปัญหา
                             เชิญทุกฝ่ายมาเจรจาตกลงกันที่เมืองเดย์ตัน รัฐ
                             โอไฮโอ โดยมี รัฐมนตรีกระทรวงการ
                             ต่างประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ ไกล่เกลี่ยกรณี
                             พิพาท ข้อตกลงมีดังนี้
 วิธีการแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการแก้ไขปัญหา(ต่อ)
1. ดินแดนบอสเนีย- เฮอร์เซโกวีนายังคงเป็นประเทศเดียว มีกรุงซาราเจโวเป็นเมืองหลวง อยู่ภายใต้
   รัฐบาลกลางดาเนินนโยบายต่างประเทศ การคลังและประชากร มีประธานาธิบดีเป็นฝ่ายบริหาร
   สูงสุด
2. ห้ามกลุ่มชนชาติใดชนชาติหนึ่งที่ประกอบเป็นประชากรบอสเนียแยกตัวเป็นเอกราช (กลุ่มชน
   เซิร์บ ชาวมุสลิม และชาวโคแอต)
3. กาหนดเขตแดนภายในรัฐให้แน่นอน ย้ายประชากรตามเขตต่างๆมารวมไว้ตามเขต เชื้อชาติ
   ของตนทางภูมิศาสตร์และประชากรศาสตร์แยกเป็น 2 ส่วน สหพันธุ์บอสเนีย- โคแอต (มุสลิมรวม
   กับโคแอต) ครอบครองพื้นที่ 51 % สาธารณรัฐบอสเนีย- เซิร์บ (กลุ่มชาวเซิร์บ)ครอบครองพื้นที่
   49% ให้ผู้ลี้ภัยเดินทางกลับถิ่นฐานเดิมของตนและสามารถเดินทางไป มาอย่างเสรีทั่ว
   ราชอาณาจักร
4. กาหนดเลือกตั้งประธานาธิบดีภายในทั้ง 2 รัฐรวมทั้งสภาระดับชาติภายใน 14 ก.ย. 1996 ผู้ที่
   ได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีคือ นายอาลิยา อิเซ็ต เบโกวิชเป็นมุสลิมบอสเนีย
 อุปสรรคในการแก้ไขปัญหา
• ปัญหาที่เกิดขึ้นอาจเป็นผลมาจากมิติทาง
  ด้านศาสนา เนื่องจากสาธารณรัฐ
  บอสเนีย- เฮอร์เซโกวินา มีประชากร
  นับถือศาสนาที่ต่างกันได้แก่
  ศาสนาคริสต์นิกายออโธดอกซ์
  ศาสนามุสลิม และศาสนาคริสต์นิกาย
  คาทอลิก ทาให้อาจจะมีความคิดเห็นด้านศาสนาที่ไม่ตรงกัน ทาให้เป็นอุปสรรคในการ แก้ไขปัญหา
• โครงสร้างทางการเมืองของบอสเนียฯ ยังคงแบ่งตามกลุ่มเชื้อชาติอยู่ โดยมีคณะประธานาธิบดี
  ประเทศบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาจะมีการผลัดเปลี่ยนกันขึ้นดารงตาแหน่งประธานทุกๆ 8 เดือน
  ระหว่างตัวแทนชาวเซิร์บ ชาวบอสเนีย และชาวโครแอท มีเพียงศาลสูงและธนาคารกลางที่ใช้
  ร่วมกันร่วมกัน
 ความสาเร็จและความล้มเหลว
 ความสาเร็จ
องค์การสหประชาชาติเข้ามาช่วยไกล่เกลียโดยมี สหรัฐอเมริกา เป็นเจ้าภาพในการไกล่เกลีย
                                       ่                                        ่
และได้บันทึกข้อตกลงร่วมกัน เรียกว่า ข้อตกลงเดย์ตน ั
 ความล้มเหลว
1. ปัญหาสงครามกลางเมืองยังคงอยู่ กระทบต่อความสัมพันธ์ เพราะ ผู้นาประเทศเซอร์เบีย
     ยังคงฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวบอสเนีย มุสลิมในเมืองเซเบรนิกา อยู่
2. สาธารณรัฐเซิร์บในบอสเนียและเฮอร์เซโกวินาไม่ยอมรับการประกาศอิสรภาพของรัฐโคโซ
     โวที่แยกตัวออกจากเซอร์เบีย เพราะเป็นการต่อต้านข้อตกลงเดย์ตน ดังนั้น
                                                                  ั
     สาธารณรัฐเซิร์บจึงนาสถานการณ์ดังกล่าวมาเพื่อใช้แยกตัวออกจากบอสเนีย

More Related Content

What's hot

เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำMine Pantip
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMudmook Mvs
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีTheeraphisith Candasaro
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)Kornnicha Wonglai
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูSuwaraporn Chaiyajina
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Krusangworn
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3พัน พัน
 
Bài 1.những vấn đề cơ bản về nnpl new
Bài 1.những vấn đề cơ bản về nnpl newBài 1.những vấn đề cơ bản về nnpl new
Bài 1.những vấn đề cơ bản về nnpl newSang Doan
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกDraftfykung U'cslkam
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]siep
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 

What's hot (20)

ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็นความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
 
PLO Palestine Liberation Organization องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์
PLO Palestine Liberation Organization องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์PLO Palestine Liberation Organization องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์
PLO Palestine Liberation Organization องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
Bài 1.những vấn đề cơ bản về nnpl new
Bài 1.những vấn đề cơ bản về nnpl newBài 1.những vấn đề cơ bản về nnpl new
Bài 1.những vấn đề cơ bản về nnpl new
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 

More from ธิติพงศ์ กุลภา College of Local Administration,KhonKaen University

More from ธิติพงศ์ กุลภา College of Local Administration,KhonKaen University (15)

งานวิจัยบ้านหนองหลุบ(สมบูรณ์)
งานวิจัยบ้านหนองหลุบ(สมบูรณ์)งานวิจัยบ้านหนองหลุบ(สมบูรณ์)
งานวิจัยบ้านหนองหลุบ(สมบูรณ์)
 
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูลวิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
 
กลุ่มที่ ๔ กตัญญูกตเวที
กลุ่มที่ ๔ กตัญญูกตเวทีกลุ่มที่ ๔ กตัญญูกตเวที
กลุ่มที่ ๔ กตัญญูกตเวที
 
ข้อมูลทั่วไปบ้านหนองหลุบ
ข้อมูลทั่วไปบ้านหนองหลุบข้อมูลทั่วไปบ้านหนองหลุบ
ข้อมูลทั่วไปบ้านหนองหลุบ
 
สรุปรายงานการวิจัย
สรุปรายงานการวิจัยสรุปรายงานการวิจัย
สรุปรายงานการวิจัย
 
นำเสนอสหกิจศึกษาทางการปกครองท้องถิ่น
นำเสนอสหกิจศึกษาทางการปกครองท้องถิ่นนำเสนอสหกิจศึกษาทางการปกครองท้องถิ่น
นำเสนอสหกิจศึกษาทางการปกครองท้องถิ่น
 
การบริหารงาน สธ.ทน.ขอนแก่น
การบริหารงาน สธ.ทน.ขอนแก่นการบริหารงาน สธ.ทน.ขอนแก่น
การบริหารงาน สธ.ทน.ขอนแก่น
 
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
 
พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)
พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)
พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)
 
พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)
พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)
พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
การสำรวจขยะ
การสำรวจขยะการสำรวจขยะ
การสำรวจขยะ
 
สถิติการเกษตร
สถิติการเกษตรสถิติการเกษตร
สถิติการเกษตร
 
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศสกฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
 
การจัดระบบสาธารณูปโภค อบต.ศิลา
การจัดระบบสาธารณูปโภค อบต.ศิลาการจัดระบบสาธารณูปโภค อบต.ศิลา
การจัดระบบสาธารณูปโภค อบต.ศิลา
 

สงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์บอสเนีย

  • 1. 002336 POLITICAL SOCIOLOGY IN LOCAL GOVERNMENT สังคมวิทยาการเมืองในการปกครองส่วนท้องถิ่น
  • 2. ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของปัญหาความขัดแย้ง บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาเดิมอยู่ในประเทศยูโกสลาเวีย ตั้งอยู่ทางภาค ตะวันออกเฉียงใต้ของยุโรปตรงกลางคาบสมุทรบอลข่าน (Balkan Peninsula) เนื่องจากบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาเคยเป็นส่วนหนึ่งของ ประเทศยูโกสลาเวียและเหตุการณ์ทั้งหลายที่เกิดขึ้นก็มีส่วนเกี่ยวพัน กับรัฐต่างๆในอดีตยูโกสลาเวียด้วย
  • 3. ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของปัญหาความขัดแย้ง(ต่อ) หลังสงครามโลกครั้งที่สอง นายพลโจเซฟบรอส ตีโต้ ต่อสู้กับ เยอรมันและอิตาลีจนชนะ จึงขับไล่ชาวเยอรมันและอิตาลีออก จากดินแดน แล้วก่อตั้ง สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ใน ปี 1946 อันประกอบไปด้วย 6 สาธารณรัฐกับอีก 2 จังหวัด ได้แก่  เซอร์เบีย (Serbia)  โครเอเชีย (Croatia)  สโลวีเนีย (Slovenia)  บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา (Bosnia and Herzegovina)  มอนเตเนโกร (Montenegro)  มาซีโดเนีย (Macedonia)  และอีก 2 จังหวัด คือ วอยวอดินา (Vojvodina) และโคโซโว (Kosovo)
  • 4. ค.ศ.1946 วิวัฒนาการความขัดแย้ง • หลังสงครามโลกครั้งที2 ก่อตั้งสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ่ • พรรคความมิวนิสต์ยูโกสลาเวียเปลี่ยนแปลงการปกครอง ค.ศ.1948 • นายพลตีโต้สามารถสยบการลุกฮือของชนชาติต่างๆ ไว้ได้ ค.ศ. • เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของยุโรปตะวันออก พรรคคอมมิวนิสต์ยูโกสลาเวียถูกกดดันจากประชาชนให้ 1980 – 1990 ยุติบทบาทการครอบครองประเทศและยินยอมให้มีการเลือกตั้ง • พรรคคอมมิวนิสต์ชนะการเลือกตั้งเฉพาะใน เซอร์เบีย และมอนเตเนโกร เท่านั้น • สาธารณรัฐอื่นๆแยกตัวจากรัฐบาลกลางที่กรุงเบลเกรด ค.ศ. 1992 • บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา ๆได้รับความเห็นชอบจาก ปชช.ส่วนมาก ให้แยกตัวเป็นเอกราช เป็นจุดเริ่มต้นของ ค.ศ. การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ 1991-1995 • เกิดการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยชาวเซิร์บเข่นฆ่าชาวบอสเนียที่นับถือ มุสลิม ทาให้สหประชาชาติ ต้องเข้ามายุติและทาสนธิสัญญาเดย์ตันรวมกันของชาวบอสเนีย
  • 5. ปัญหาความขัดแย้งและการแตกแยกของกลุ่มชนเชื้อชาติต่างๆ ได้แก่ เซิร์บ นับถือศาสนาคริสต์นิกายออโธดอกซ์ นับถือศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิก โครแอท นับถือศาสนาเป็นมุสลิม บอสเนีย
  • 7. ดินแดนที่เป็นยูโกสลาเวียประกอบด้วย ๏ เซอร์เบีย ๏ มอนเตรนิโกร ๏ วอยวอดินา
  • 8. รายละเอียดความรุนแรงจานวนผูเสียชีวิต ้ และผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจ จากการพยายามแบ่งแยกดินแดงเพื่อตั้งตัวเป็นเอกราช ประชากรส่วนที่มี อานาจในฐานะผู้นาต้องเข้าห่าหั่นปราบปรามกระทั้งนามาสู่การฆ่าอย่างโหดเหี้ยม การ ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ครั้งนี้ มีผู้เสียชีวิตอนับแสนคน และกลายเป็นอีกหนึ่งตัวแบบแห่งปัญหา ที่พยายามหาทางออกอย่างสันติวิธี เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อด้านต่างๆดังนี้คือ รัตโก มลาดิก ผู้ต้องหาคดีอาชญากรรมสงครามบอสเนีย
  • 9.  ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจ 1. บอสเนียฯ เป็นประเทศยากจนเป็นอันดับสองรองจากมาซิโดเนีย ในอดีต บอสเนียฯ เป็นแหล่งผลิตอุตสาหกรรมทางทหารของยูโกสลาเวีย ปัจจุบัน บอสเนียฯ ต้องนาเข้าอาหาร โดยเฉพาะเขตมุลลิมยังต้องอาศัยความช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมจากองค์การระหว่างประเทศเป็นหลัก 2. ภาคการเกษตรส่วนใหญ่แม้จะเป็นของเอกชนแล้วแต่ขนาดของกิจการค่อนข้าง เล็กและไม่มีประสิทธิภาพ ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมมีการจ้างงานเกินความ ต้องการ สาหรับภาคเกษตรกรรมที่สาคัญ ได้แก่ การผลิตข้าวสาลี ข้าวโพด ผลไม้ ผัก ปศุสัตว์ ส่วนภาคอุตสาหกรรมที่สาคัญ ได้แก่ อุตสาหกรรมไม้ แร่และ โลหะ เคมีภัณฑ์และยา ผลิตภัณฑ์สิ่งทอหนัง การแปรรูปอาหารและเครื่องดื่ม
  • 10.  ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจ(ต่อ) 3. หลังจากการสู้รบได้ยุติลง เศรษฐกิจบอสเนียฯ ได้รับการพัฒนาอย่างมาก อย่างไรก็ตาม อัตรา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจยังคงมีความผัน ผวน ภาระที่เร่งด่วนของรัฐบาลยังคงเป็นเรื่องการ ฟื้นฟูเศรษฐกิจ ซึ่งจาเป็นต้องมีสภาวะแวดล้อม ทางเศรษฐกิจที่เอื้ออานวยต่อการลงทุนของ และ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบการตลาด ซึ่งปัจจุบัน การแปรรูปรัฐวิสาหกิจเป็นไปอย่างล่าช้า อัตรา การว่างงานยังคงสูง
  • 11.  วิธีการแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการแก้ไขปัญหา  ทางสหประชาชาติได้ลงมติคว่าบาตรยูโกสลาเวีย และดาเนินการระงับการสู้รบ โดยจัดตั้งกองกาลัง ป้องกันสหประชาชาติหรืออันโพรฟอร์ (United Nations Protection Force - UNPROFOR) มี ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยช่วยเหลือประชาชนที่ลี้ภัย  สหรัฐฯจึงทาหน้าที่เป็นตัวกลางไกล่เกลี่ยปัญหา เชิญทุกฝ่ายมาเจรจาตกลงกันที่เมืองเดย์ตัน รัฐ โอไฮโอ โดยมี รัฐมนตรีกระทรวงการ ต่างประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ ไกล่เกลี่ยกรณี พิพาท ข้อตกลงมีดังนี้
  • 12.  วิธีการแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการแก้ไขปัญหา(ต่อ) 1. ดินแดนบอสเนีย- เฮอร์เซโกวีนายังคงเป็นประเทศเดียว มีกรุงซาราเจโวเป็นเมืองหลวง อยู่ภายใต้ รัฐบาลกลางดาเนินนโยบายต่างประเทศ การคลังและประชากร มีประธานาธิบดีเป็นฝ่ายบริหาร สูงสุด 2. ห้ามกลุ่มชนชาติใดชนชาติหนึ่งที่ประกอบเป็นประชากรบอสเนียแยกตัวเป็นเอกราช (กลุ่มชน เซิร์บ ชาวมุสลิม และชาวโคแอต) 3. กาหนดเขตแดนภายในรัฐให้แน่นอน ย้ายประชากรตามเขตต่างๆมารวมไว้ตามเขต เชื้อชาติ ของตนทางภูมิศาสตร์และประชากรศาสตร์แยกเป็น 2 ส่วน สหพันธุ์บอสเนีย- โคแอต (มุสลิมรวม กับโคแอต) ครอบครองพื้นที่ 51 % สาธารณรัฐบอสเนีย- เซิร์บ (กลุ่มชาวเซิร์บ)ครอบครองพื้นที่ 49% ให้ผู้ลี้ภัยเดินทางกลับถิ่นฐานเดิมของตนและสามารถเดินทางไป มาอย่างเสรีทั่ว ราชอาณาจักร 4. กาหนดเลือกตั้งประธานาธิบดีภายในทั้ง 2 รัฐรวมทั้งสภาระดับชาติภายใน 14 ก.ย. 1996 ผู้ที่ ได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีคือ นายอาลิยา อิเซ็ต เบโกวิชเป็นมุสลิมบอสเนีย
  • 13.  อุปสรรคในการแก้ไขปัญหา • ปัญหาที่เกิดขึ้นอาจเป็นผลมาจากมิติทาง ด้านศาสนา เนื่องจากสาธารณรัฐ บอสเนีย- เฮอร์เซโกวินา มีประชากร นับถือศาสนาที่ต่างกันได้แก่ ศาสนาคริสต์นิกายออโธดอกซ์ ศาสนามุสลิม และศาสนาคริสต์นิกาย คาทอลิก ทาให้อาจจะมีความคิดเห็นด้านศาสนาที่ไม่ตรงกัน ทาให้เป็นอุปสรรคในการ แก้ไขปัญหา • โครงสร้างทางการเมืองของบอสเนียฯ ยังคงแบ่งตามกลุ่มเชื้อชาติอยู่ โดยมีคณะประธานาธิบดี ประเทศบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาจะมีการผลัดเปลี่ยนกันขึ้นดารงตาแหน่งประธานทุกๆ 8 เดือน ระหว่างตัวแทนชาวเซิร์บ ชาวบอสเนีย และชาวโครแอท มีเพียงศาลสูงและธนาคารกลางที่ใช้ ร่วมกันร่วมกัน
  • 14.  ความสาเร็จและความล้มเหลว  ความสาเร็จ องค์การสหประชาชาติเข้ามาช่วยไกล่เกลียโดยมี สหรัฐอเมริกา เป็นเจ้าภาพในการไกล่เกลีย ่ ่ และได้บันทึกข้อตกลงร่วมกัน เรียกว่า ข้อตกลงเดย์ตน ั  ความล้มเหลว 1. ปัญหาสงครามกลางเมืองยังคงอยู่ กระทบต่อความสัมพันธ์ เพราะ ผู้นาประเทศเซอร์เบีย ยังคงฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวบอสเนีย มุสลิมในเมืองเซเบรนิกา อยู่ 2. สาธารณรัฐเซิร์บในบอสเนียและเฮอร์เซโกวินาไม่ยอมรับการประกาศอิสรภาพของรัฐโคโซ โวที่แยกตัวออกจากเซอร์เบีย เพราะเป็นการต่อต้านข้อตกลงเดย์ตน ดังนั้น ั สาธารณรัฐเซิร์บจึงนาสถานการณ์ดังกล่าวมาเพื่อใช้แยกตัวออกจากบอสเนีย