SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
นางสาว ศุภรัสมิ์ สมบัติเพิ่ม
ม.6/1 เลขที่ 51
บทที่11
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ความหมายของค่าว่า "เทคโนโลยี
สารสนเทศ" จริงแล้วมาจากคาที่เรา
เรียกกันอยู่บ่อยครั้งว่า ไอที ( IT :
Information Technology ) ทั้งนี้ IT
ประกอบด้วย 2 คา คือ Technology
และ Information นิยามไว้ดังนี้.......
เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การ
ประยุกต์เอาความรู้ทางด้าน
วิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์
การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ต่างๆ ก็
เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของ
สิ่งต่างๆ และหาทางนามาประยุกต์ให้
เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นคาที่มี
ความหมายกว้าง
สารสนเทศ (Information) หมายถึง
ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล และเป็น
ประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์
มนุษย์แต่ละคนตั้งแต่เกิดมาได้เรียนรู้
สิ่งต่างๆ เป็นจานวนมาก เช่น เรียนรู้
สภาพสังคมความเป็นอยู่ กฎเกณฑ์
และวิชาการ เป็นต้น ลองจินตนาการดู
ว่าภายในสมองของเราเก็บข้อมูล
อะไรบ้าง เราคงตอบไม่ได้ แต่
สามารถเรียกเอาข้อมูลมาใช้ได้
ข้อมูลที่เก็บไว้ในสมอง เป็นสิ่งที่สะสม
กันมาเป็นเวลานาน ความรอบรู้ของ
แต่ละคนจึงขึ้นอยู่กับการเรียกใช้
ข้อมูลนั้น ดังนั้นจะเห็นได้ชัดว่า
ความรู้เกิดจากข้อมูลข่าวสารต่างๆ
ทุกวันนี้มีข้อมูลอยู่รอบตัวเรามาก
ข้อมูลเหล่านี้มาจากสื่อ เช่น วิทยุ
โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ อินเทอร์เน็ต
หรือแม้แต่การสื่อสารระหว่างบุคคล
จึงมีผู้กล่าวว่ายุคนี้เป็นยุคของ
สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information
Technology : IT) หมายถึง เทคโนโลยี
ที่ใช้จัดการ สารสนเทศ เป็น
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การ
รวบรวม การจัดเก็บข้อมูล การ
ประมวลผล การพิมพ์ การสร้าง
รายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ
เทคโนโลยีสารสนเทศยังรวมถึง
เทคโนโลยีที่ทำให้เกิดระบบกำรให้บริกำร กำรใช้ และ
กำรดูแลข้อมูลด้วย
เทคโนโลยีและสารสนเทศ
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ระบบสารสนเทศ (Information System)คือ ขบวนการประมวลผล
ข่าวสารที่มีอยู่ ให้อยู่ในรูปของข่าวสารที่ เป็นประโยชน์สูง สุด เพื่อ
เป็นข้อสรุปที่ใช้สนับสนุนการตัดสินใจของบุคคลระดับบริหาร
ขบวนการที่ทาให้เกิดข่าวสารสารสนเทศนี้ เรียกว่า การประมวลผล
ผลสารสนเทศ (Information Processing) และเรียกวิธีการประมวลผล
สารสนเทศด้วยเครื่องมือทางอีเล็กทรอนิกส์ว่า เทคโนโลยี
สารสนเทศ (Information Technology : IT)
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ประกอบขึ้นด้วยระบบ
จัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และ
อุปกรณ์สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการวางแผน
จัดการ และใช้ง่านร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีสารสนเทศ มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ
1. ระบบประมวลผล
ความซับซ้อนในการปฏิบัติงานและความต้องการสารสนเทศที่หลากหลาย ทาให้การ
จัดการและการประมวลผลข้อมูลด้วยมือ ไม่สะดวก ช้า และอาจผิดพลาด ปัจจุบัน
องค์การจึงต้องทาการจัดเก็บและการประมวลผลข้อมูลด้วยระบบอีเล็กทรอนิกส์ โดย
ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สนับสนุนในการจัดการข้อมูล เพื่อให้การทางานถูกต้อง
และรวดเร็วขึ้น
2. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
การสื่อสารข้อมูลเป็นเรื่องสาคัญสาหรับการจัดการและประมวลผล ตลอดจนการใช้
ข้อมูลในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศที่ดีต้องประยุกต์เทคโนโลยีอีเล็กทรอนิกส์ในการ
สื่อสารข้อมูลระหว่างระบบคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์อีเล็กทรอนิกส์ และผู้ใช้ที่อยู่ห่างกัน
ให้สามารถสื่อสารกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. การจัดการข้อมูล
ปกติบุคคลที่ให้ความสนใจกับเทคโนโลยีจะอธิบายความหมายของเทคโนโลยีสาร
สนเทศโดยให้ความสาคัญกับส่วนประกอบสองประการแรก แต่ผู้ที่สนใจด้านการ
จัดการข้อมูล (Data/Information Management) จะให้ความสาคัญกับส่วนประกอบที่
สาม ซึ่งมีความเป็นศิลปะ ในการจัดรูปแบบและการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
สามารถสรุปได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีทุกรูปแบบที่นามาประยุกต์ ใน
การประมวลผล การจัดเก็บ การสื่อสาร และการส่งผ่านสารสนเทศด้วยระบบ
อีเล็กทรอนิกส์ โดยที่ระบบทางกายภาพประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์
ติดต่อสื่อสาร และระบบเครือข่าย ขณะที่ระบบนามธรรมเกี่ยวข้องกับการจัดรูปแบบ
ของการปฏิสัมพันธ์ด้านสารสนทศ ทั้งภายในและภายนอกระบบ ให้สามารถดาเนิน
ร่วมกันอย่างประสิทธิภาพ
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศแบ่งตามลักษณะการบริหารจัดการได้ 3ระดับดังนี้
-ระดับสูง( Top Level Management) กลุ่มของผู้ใช้ระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับ
ผู้บริหารระดับสูง มีหน้าที่กาหนดและวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อนาไปสู่เป้ าหมาย
โดยมีทั้งสารสนเทศภายใน และสารสนเทศภายนอก เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์
โดยรวม ซึ่งระบบสารสนเทศในระดับนี้ต้องออกแบบให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน ไม่
มีความซับซ้อนหรือยุ่งยาก แสดงผลทางด้านกราฟฟิคบ้าง ต้องตอบสนองที่รวดเร็ว
และทันท่วงทีด้วยเช่นกัน
-ระดับกลาง( Middle Level Management) เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้งานระดับการ
บริหารและจัดการองค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายมาจากผู้บริหารระดับสูง นามาสาน
ต่อให้บรรลุตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ด้วยการใช้หลักบริหารและจัดการอย่างมี
ประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศที่ใช้มักได้มาจากแหล่งข้อมูลภายใน ระบบสารสนเทศจึง
ต้องมีการจัดอันดับทางเลือกแบบต่างๆไว้ โดยเลือกใช้ค่าทางสถิติช่วยพยากรณ์หรือ
ทานายทิศทางไว้ด้วย หากระดับของการตัดสินใจนั้นมีความซับซ้อนหรือยุ่งยากมาก
เกินไป
-ระดับปฏิบัติการ( Operation Level Management) ผู้ใช้กลุ่มนี้จะเกี่ยวข้องกับการ
ผลิตหรือการปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น การผลิตหรือประกอบสินค้า งานทั่วไปที่
ไม่จาเป็นต้องใช้การวางแผนหรือระดับการตัดสินใจมากนัก ข้อมูลหรือสารสนเทศใน
ระดับนี้ จะถูกนาไปประมวลผลในระดับกลางและระดับสูงต่อไป
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ปัจจุบันจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร กับระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยี
สารสนเทศชัดเจนมากขึ้น และเนื่องจากการบริหารงานในองค์กรมีหลายระดับ
กิจกรรมขององค์กรแต่ละประเภทอาจจะแตกต่างกัน ดังนั้นระบบสารสนเทศของแต่ละ
องค์กรอาจแบ่งประเภทแตกต่างกันออกไป
พิจารณาจาแนกระบบสารสนเทศตามการสนับสนุนระดับการทางานในองค์กร จะ
แบ่งระบบสารสนเทศได้เป็น 6 ประเภท ดังนี้ (Laudon & Laudon, 2001)
1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS) เป็นระบบ
ที่ทาหน้าที่ในการปฏิบัติงานประจา ทาการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้น
ในแต่ละวัน โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทางานแทนการทางานด้วยมือ ทั้งนี้เพื่อที่จะทา
การสรุปข้อมูลเพื่อสร้างเป็นสารสนเทศ ระบบประมวลผลรายการนี้ ส่วนใหญ่จะเป็น
ระบบที่เชื่อมโยงกิจการกับลูกค้า ตัวอย่าง เช่น ระบบการจองบัตรโดยสารเครื่องบิน
ระบบการฝากถอนเงินอัตโนมัติ เป็นต้น ในระบบต้องสร้างฐานข้อมูลที่จาเป็น ระบบนี้
มักจัดทาเพื่อสนองความต้องการของผู้บริหารระดับต้นเป็นส่วนใหญ่เพื่อให้สามารถ
ปฏิบัติงานประจาได้ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักจะอยู่ในรูปของ รายงานที่มีรายละเอียด
รายงานผลเบื้องต้น
2. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS) เป็นระบบที่
สนับสนุนงานในสานักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะประสานการทางาน
ของบุคลากรรวมทั้งกับบุคคลภายนอก หรือหน่วยงานอื่น ระบบนี้จะเกี่ยวข้องกับการ
จัดการเอกสาร โดยการใช้ซอฟท์แวร์ด้านการพิมพ์ การติดต่อผ่านระบบไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้นผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของเอกสาร กาหนดการ
สิ่งพิมพ์
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
3. ระบบงานสร้างความรู้ (Knowledge Work Systems - KWS) เป็นระบบที่ช่วย
สนับสนุน บุคลากรที่ทางานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น สร้าง
ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ ความรู้ใหม่เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน หน่วยงาน
ต้องนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนให้การพัฒนาเกิดขึ้นได้โดยสะดวก
สามารถแข่งขันได้ทั้งในด้านเวลา คุณภาพ และราคา ระบบต้องอาศัยแบบจาลองที่
สร้างขึ้น ตลอดจนการทดลองการผลิตหรือดาเนินการ ก่อนที่จะนาเข้ามาดาเนินการ
จริงในธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รูปแบบ เป็น
ต้น
4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems- MIS) เป็น
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้ปฏิบัติงานระดับกลาง ใช้ในการวางแผน การบริหารจัดการ
และการควบคุม ระบบจะเชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่ในระบบประมวลผลรายการเข้าด้วยกัน
เพื่อประมวลและสร้างสารสนเทศที่เหมาะสมและจาเป็นต่อการบริหารงาน ตัวอย่าง
เช่น ระบบบริหารงานบุคลากร ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของรายงานสรุป
รายงานของสิ่งผิดปกติ
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems – DSS) เป็นระบบที่ช่วย
ผู้บริหารในการตัดสินใจสาหรับปัญหา หรือที่มีโครงสร้างหรือขั้นตอนในการหา
คาตอบที่แน่นอนเพียงบางส่วน ข้อมูลที่ใช้ต้องอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและ
ภายนอกกิจการประกอบกัน ระบบยังต้องสามารถเสนอทางเลือกให้ผู้บริหารพิจารณา
เพื่อเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดสาหรับสถานการณ์นั้น หลักการของระบบ สร้างขึ้น
จากแนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการตัดสินใจ โดยให้ผู้ใช้โต้ตอบโดยตรงกับ
ระบบ ทาให้สามารถวิเคราะห์ ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขและกระบวนการพิจารณาได้ โดย
อาศัยประสบการณ์ และ ความสามารถของผู้บริหารเอง ผู้บริหารอาจกาหนดเงื่อนไข
และทาการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขต่างๆ ไปจนกระทั่งพบสถานการณ์ที่เหมาะสมที่สุด
แล้วใช้เป็นสารสนเทศที่ช่วยตัดสินใจ รูปแบบของผลลัพธ์ อาจจะอยู่ในรูปของ รายงาน
เฉพาะกิจ รายงานการวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ การทานาย หรือ พยากรณ์เหตุการณ์
6. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System - EIS)
เป็นระบบที่สร้างสารสนเทศเชิงกลยุทธ์สาหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทาหน้าที่กาหนด
แผนระยะยาวและเป้ าหมายของกิจการ สารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูงนี้จาเป็น
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ก่อนการปฏิวัติทางอุตสาหกรรมประชากรโลกส่วนใหญ่จะยึดอาชีพเกษตรกรรมเป็น
แกนหลัก มีเพียงบางส่วนยึดอาชีพบริการและทางานในโรงงานอุตสาหกรรม แต่เมื่อมี
การปฏิวัติอุตสาหกรรมพลเมืองในชนบทเป็นจานวนมากละทิ้งถิ่นฐานเดิมจากการทา
ไร่ไถนามาทางานในโรงงานอุตสาหกรรมทาให้เกิดการขยายตัวของประชากรใน
ภาคอุตสาหกรรมและการลดน้อยลงในภาคเกษตรกรรม ขณะที่ผู้ทางานด้านบริการจะ
ค่อยๆขยับสูงขึ้นอย่างช้าๆพร้อมๆกับการมีผู้ทางานด้านสารสนเทศที่ค่อยๆเพิ่ม
สูงขึ้นตลอดอย่างต่อเนื่อง
เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่งเกิดขึ้นและเริ่มเมื่อไม่นานมานี้เองเมื่อราว
พ .ศ. 2500 เทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่แพร่หลายนักจะมีเพียงการใช้โทรศัพท์เพื่อการ
ติดต่อสื่อสารและเริ่มมีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผลข้อมูลงานด้าน
สารสนเทศอื่นๆส่วนใหญ่ยังคงเป็นงานภายในสานักงานที่ยังไม่มีอุปกรณ์และ
เครื่องมือด้านเทคโนโลยีมาช่วยงานเท่าใดนัก
เมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศมากขึ้น เช่น เครื่องถ่าย
สาเนาเอกสาร เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้ า เครื่องโทรสาร และเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
อาชีพของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสู่งานด้านสารสนเทศมากขึ้น งานด้านสารสนเทศ
มีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส เพราะเทคโนโลยีด้านนี้ได้รับการส่งเสริมสนับสนุน
อย่างเต็มที่ด้วยการพัฒนาค้นคว้าวิจัยให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ออกมาตอบสนองความ
ต้องการของมนุษย์อยู่ตลอดเวลา
10
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีสารสนเทศต่อการพัฒนาประเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศจัดว่ามีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้ง
ประเทศที่พัฒนาแล้วหรือในประเทศที่กาลังพัฒนาแม้ว่าเทคโนโลยีนี้จะยังไม่มีบทบาท
โดยเด่นในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมและการค้าในกลุ่มประเทศที่กาลังพัฒนาทาง
เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมแต่ก็มีความสาคัญอย่างยิ่งยวดในด้านการพัฒนาสังคม
และคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการจัดให้บริการสังคมพื้นฐาน
ได้แก่การศึกษาและการสาธารณสุขเป็นต้นและในการบริหารประเทศรวมถึงการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนด้วย
11
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีสารสนเทศต่อการพัฒนาประเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศจัดว่ามีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้ง
ประเทศที่พัฒนาแล้วหรือในประเทศที่กาลังพัฒนาแม้ว่าเทคโนโลยีนี้จะยังไม่มีบทบาท
โดยเด่นในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมและการค้าในกลุ่มประเทศที่กาลังพัฒนาทาง
เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมแต่ก็มีความสาคัญอย่างยิ่งยวดในด้านการพัฒนาสังคม
และคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการจัดให้บริการสังคมพื้นฐาน
ได้แก่การศึกษาและการสาธารณสุขเป็นต้นและในการบริหารประเทศรวมถึงการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนด้วย
12
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ด้านเศรษฐกิจ
ในปัจจุบันอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศได้กลายเป็นอุตสาหกรรมผลิตที่มีขนาดใหญ่
ที่สุดในโลกมีการประมาณการว่าตลาดโลกสาหรับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และ
ซอฟต์แวร์โทรคมนาคมและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆจะมีขนาด 1,600 พันล้านเหรียญ
สหรัฐในปี 1994 ด้วยอัตราการเติบโตเฉลี่ยถึงร้อยละ 20 ต่อปีแม้ว่าในปัจจุบันจะมีเพียง
ไม่กี่ประเทศในโลกที่ได้ผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจจากการเป็นผู้ผลิตดังกล่าวแต่ด้วย
ศักยภาพของเทคโนโลยีดังที่กล่าวมานานาประเทศต่างสามารถรับผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจจากการเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งสิ้นในภาคอุตสาหกรรมผลิตทุกแขนง
เทคโนโลยีสารสนเทศไม่เพียงแต่ถูกนาไปใช้โดยตรงในกระบวนการผลิตสินค้าต่างๆที่
ส่งผลให้สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูงขึ้นด้วยต้นทุนที่ต่าลงเป็นต้นว่าการ
ออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-Aided Design or Drafting หรือ CAD)
สามารถจะลดความผิดพลาดเพิ่มความแม่นยา (accuracy) และย่นระยะเวลาการออกแบบ
ได้อย่างมหาศาลโดยเฉพาะในงานที่มีองค์ประกอบหรือชิ้นส่วนมาตรฐานหรือมีการ
คานวณเชิงวิศวกรรมซ้าซากจานวนมากผลงานออกแบบที่ได้แปรเปลี่ยนจากแบบและ
ข้อมูลบนแผ่นพิมพ์เขียวไปสู่ข้อมูลในรูปอิเล็กทรอนิกส์นั้นทาให้การแก้ไขหรือดัดแปลง
ผลิตภัณฑ์ในภายหลังสามารถทาได้อย่างง่ายดายและรวดเร็วที่สาคัญที่สุดเป็นข้อมูลที่
สามารถจะเชื่อมโยงป้ อนสู่กระบวนการ
13
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านด้านสังคม
ด้านสังคมช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์เช่นโครงการเทคโนโลยี
สารสนเทศตามพระราชดาริชองสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯเข้าไปช่วยเหลือ
ผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้เช่นโรงเรียนชนบทคนป่ วยเรื้อรังใน
โรงพยาบาลผู้ต้องขังและคนตาบอดที่สามารถอ่านหนังสือได้ด้วยระบบDAISY
( Digital Accessible Information System)
14
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษา
ทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา 5 ประเด็น คือ
1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) มีหลายรูปแบบ
เช่น Drill and Practice, Linear Program , Branching Program, Simulation, Game, Multimedia,
Intelligence CAI
2. การศึกษาทางไกล (Distance Learning) ซึ่งจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การใช้
วิทยุ โทรทัศน์ การสื่อสารโดยใช้ระบบแพร่ภาพผ่านดาวเทียม (Direct to Home : DTH) หรือ
ระบบการแระชุมทางไกล (Video Teleconference)
3. เครือข่ายการศึกษา (Education Network) ซึ่งเป็นการนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
มาใช้ ซึ่งมีบริการในหลายรูปแบบ เช่น Electronic Mail , File Transfer Protocol, Telnet , World
Wide Web เป็นต้น เครื่องข่ายคอมพิวเตอร์จะสามารถให้ผู้เรียนได้เข้าถึงแหล่งข้อมูล
สารสนเทศที่มีจานวนมากมายที่เชื่อมโยงในเครือข่ายทั่วโลก
4. การใช้งานในห้องสมุด (Electronic Library) เป็นการประยุกต์ใช้ในการสืบค้น
ข้อมูลหนังสือ วารสาร หรือบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ผลงานการวิจัย
5. การใช้งานในห้องปฏิบัติการ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจาลอง
สถานการณ์ (Simulation) การใช้ในงานประจาและงานบริหาร (Computer Manage
Instruction) เป็นการประยุกต์ใช้ในสานักงานเพื่อช่วยในการบริหาร จัดการ ทาให้เกิดความ
คล่องตัว รวดเร็วและแม่นยา การตัดสินใจในการดาเนินการต่างๆ ย่อมเกิดประสิทธิภาพ
สูงสุด
15
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม
เทคโนโลยีของการสื่อสารและโทรคมนาคมในปัจจุบันก้าวไกลไปมากมีบริการมากมายที่
ทันสมัยและตอบรับกับการนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจตัวอย่างการใช้โทรศัพท์
ในปัจจุบันนี้ก็มิไดมีไว้เพียงสาหรับคุยสนทนาเพียงอย่างเดียวอีกต่อไปแต่มันสามารถ
ช่วยงานได้มากขึ้นโดยอ้างอิงข้อมูลและการเปิดให้บริการของบริษัทมีติดต่อสื่อสาร
ผ่านดาวเทียมทั้งภาพและเสียงมีโทรศัพท์มือถือรุ่นต่างๆออกมามากมายพัฒนาทั้ง
หน่วยงานของภาครัฐและเอกชนเช่นเทเลคอมเอเชียคอร์ปอร์เรชั่นจากัด (มหาชน) ซึ่ง
เป็นผู้วางแผนการก่อสร้างและติดตั้งขยายบริการโทรศัพท์พื้นฐาน2.6ล้านเลขหมาย
ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุงเทพและปริมณฑลรวมถึงการซ่อมบารุงรักษาเป็นระยะเวลา
25ปีและเป็นหนึ่งในผู้ให้บริการในปัจจุบัน
16
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ด้านสาธารณสุข
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ ตั้งแต่การทาทะเบียนคนไข้ การ
รักษาพยาบาลทั่วไป การวินิจฉัยโรคได้อย่ารวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ใน
ห้องทดลอง การศึกษาและวิจัยทางการแพทย์งานทางการศึกษาค้นคว้า การรักษาคน
ใข้ด้วยระบบการรักษาทางไกล รวมถึงการทากิจกรรมต่างๆของโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศทางการแพทย์
1.บัททึกข้อมูลทางการพยาบาล เช่น
1. North American Nursing Diagnosis Association : NANDAสมาคมการวินิจฉัยทางการ
พยาบาลอเมริกาเหนือ
2. Nursing Intervention Classification : NIC ใช้ตัดสินว่าจะให้การบาบัดทางการพยาบาล
ให้แก่ผู้ป่ วยเพื่อแก้/บรรเทาปัญหาทางสุขภาพ
3. Nursing Outcome Classification : NOC ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลที่ช่วย
ประเมินว่าผู้ป่ วยได้รับการพยาบาลที่มีคุณภาพครบถ้วนและเท่าเทียมกันทุกคน
4. International Classification Nursing Practice : ICNP การใช้คามาตรฐานในการวินิจฉัย
ทางการพยาบาล
2.มีความยืดหยุ่นในการใช้ระบบเพื่อดูข้อมูลและเก็บรวบรวมสารสนเทศที่จาเป็นทาให้มี
การดูแลผู้ป่ วยที่มีคุณภาพ
17
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
การใช้เทคโนโลยีในการนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาใช้ให้เกิดประโยชน์
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมอย่างฉลาด โดยใช้ให้น้อย เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยคานึงถึง
ระยะเวลาในการใช้ให้ยาวนาน และก่อให้เกิดผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
รวมทั้งต้องมีการกระจายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างทั่วถึง อย่างไรก็ตาม ใน
สภาพปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความเสื่อมโทรมมากขึ้น ดังนั้น
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงมีความหมายรวมไปถึงการพัฒนา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมด้วย
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสามารถกระทาได้หลายวิธี ทั้ง
ทางตรงและทางอ้อม ดังนี้
1. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยทางตรง ซึ่งปฏิบัติได้ในระดับ
บุคคล องค์กร และระดับประเทศ ที่สาคัญ คือ
1) การใช้อย่างประหยัด คือ การใช้เท่าที่มีความจาเป็น เพื่อให้มีทรัพยากรไว้ใช้ได้นาน
และเกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่ามากที่สุด
2) การนากลับมาใช้ซ้าอีก สิ่งของบางอย่างเมื่อมีการใช้แล้วครั้งหนึ่งสามารถที่จะ
นามาใช้ซ้าได้อีก เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ เป็นต้น หรือสามารถที่จะนามาใช้ได้ใหม่โดย
ผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น การนากระดาษที่ใช้แล้วไปผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อทา
เป็นกระดาษแข็ง เป็นต้น ซึ่งเป็นการลดปริมาณการใช้ทรัพยากรและการทาลาย
สิ่งแวดล้อมได้
18
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เมื่อ 19 มีนาคม พ.ศ. 2545 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระยะ พ.ศ.2544 – 2553 ของประเทศไทยได้เสนอเป้ าหมาย ยุทธศาสตร์ และความ
เชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กับการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและ
การเรียนรู้เพื่อใช้และสร้างภูมิปัญญาของคนไทยที่จะทาให้ประเทศไทยมีความ
แข็งแกร่งและความสามารถเพื่อใช้และสร้างภูมิปัญญาของคนไทยที่จะทาให้ประเทศไทย
มีความแข็งแกร่งและความสามารถที่จะรับการท้าทายของการแข่งขันในระบบ
เศรษฐกิจใหม่ของสังคมโลกาภิวัฒน์ได้อย่างเต็มที่
กรอบนโยบายมี 3 เรื่อง คือ
1. ความท้าทายในยุคโลกาภิวัฒน์
2. สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
3. ประเทศไทยในทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 21
นโยบายฯ นี้มีสาระโดยรวมว่า เทคโนโลยีใหม่ที่รวมคอมพิวเตอร์
สารสนเทศ และการสื่อสาร (โทรคมนาคม) เรียกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร (Information and Communications Technology หรือ ICT) ได้ก่อให้เกิดกิจรรม
ใหม่ๆ ในทางเศรษฐกิจและสังคมอันส่งผลต่อการดารงอยู่และการพัฒนาของประเทศ
ต่างๆ ในโลกที่แตกต่างจากอดีตอย่างมาก จนเป็นที่ยอมรับกันว่าในศตวรรษที่ 21
(เริ่มจาก ค.ศ. 2001 หรือ พ.ศ. 2544 เป็นต้นไป) จะเกิดเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า
เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge – based Learning Economy) และ
จะมีผลทาให้ประเทศไทยซึ่งมีทรัพยากรบุคคล อันมีความรู้เป็นพื้นฐานสามารถจะ
พัฒนาล้าหน้าประเทศอื่นๆ ที่ด้อยในส่วนนี้อย่างมาก

More Related Content

What's hot

นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารthaweesaph baikwang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPatchara Akkaraprasit
 
work3_อชิรญา_34
work3_อชิรญา_34work3_อชิรญา_34
work3_อชิรญา_34achibeebee
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
Chapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologiesChapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologiesTeetut Tresirichod
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพรjunyapron
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnprave
 
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานSatapon Yosakonkun
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศtaenmai
 
Com onet ม.6
Com onet ม.6Com onet ม.6
Com onet ม.6greatncr
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 

What's hot (17)

นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
คอมมม
คอมมมคอมมม
คอมมม
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
work3_อชิรญา_34
work3_อชิรญา_34work3_อชิรญา_34
work3_อชิรญา_34
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
Chapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologiesChapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologies
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพร
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Com onet ม.6
Com onet ม.6Com onet ม.6
Com onet ม.6
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 

Similar to Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ

บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศDuangsuwun Lasadang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศmilk tnc
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1Sangduan12345
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1Nuttapoom Tossanut
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnut jpt
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารSirithorn609
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารwchai1334
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ kiwikiiwii
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAuraiwan Worrasiri
 
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารnamnpunch
 

Similar to Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Work3-45
Work3-45Work3-45
Work3-45
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
1
11
1
 
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 

Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved นางสาว ศุภรัสมิ์ สมบัติเพิ่ม ม.6/1 เลขที่ 51 บทที่11
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ความหมายของค่าว่า "เทคโนโลยี สารสนเทศ" จริงแล้วมาจากคาที่เรา เรียกกันอยู่บ่อยครั้งว่า ไอที ( IT : Information Technology ) ทั้งนี้ IT ประกอบด้วย 2 คา คือ Technology และ Information นิยามไว้ดังนี้....... เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การ ประยุกต์เอาความรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ต่างๆ ก็ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของ สิ่งต่างๆ และหาทางนามาประยุกต์ให้ เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นคาที่มี ความหมายกว้าง สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล และเป็น ประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แต่ละคนตั้งแต่เกิดมาได้เรียนรู้ สิ่งต่างๆ เป็นจานวนมาก เช่น เรียนรู้ สภาพสังคมความเป็นอยู่ กฎเกณฑ์ และวิชาการ เป็นต้น ลองจินตนาการดู ว่าภายในสมองของเราเก็บข้อมูล อะไรบ้าง เราคงตอบไม่ได้ แต่ สามารถเรียกเอาข้อมูลมาใช้ได้ ข้อมูลที่เก็บไว้ในสมอง เป็นสิ่งที่สะสม กันมาเป็นเวลานาน ความรอบรู้ของ แต่ละคนจึงขึ้นอยู่กับการเรียกใช้ ข้อมูลนั้น ดังนั้นจะเห็นได้ชัดว่า ความรู้เกิดจากข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทุกวันนี้มีข้อมูลอยู่รอบตัวเรามาก ข้อมูลเหล่านี้มาจากสื่อ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ อินเทอร์เน็ต หรือแม้แต่การสื่อสารระหว่างบุคคล จึงมีผู้กล่าวว่ายุคนี้เป็นยุคของ สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง เทคโนโลยี ที่ใช้จัดการ สารสนเทศ เป็น เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การ รวบรวม การจัดเก็บข้อมูล การ ประมวลผล การพิมพ์ การสร้าง รายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศยังรวมถึง เทคโนโลยีที่ทำให้เกิดระบบกำรให้บริกำร กำรใช้ และ กำรดูแลข้อมูลด้วย เทคโนโลยีและสารสนเทศ
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ระบบสารสนเทศ (Information System)คือ ขบวนการประมวลผล ข่าวสารที่มีอยู่ ให้อยู่ในรูปของข่าวสารที่ เป็นประโยชน์สูง สุด เพื่อ เป็นข้อสรุปที่ใช้สนับสนุนการตัดสินใจของบุคคลระดับบริหาร ขบวนการที่ทาให้เกิดข่าวสารสารสนเทศนี้ เรียกว่า การประมวลผล ผลสารสนเทศ (Information Processing) และเรียกวิธีการประมวลผล สารสนเทศด้วยเครื่องมือทางอีเล็กทรอนิกส์ว่า เทคโนโลยี สารสนเทศ (Information Technology : IT) เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ประกอบขึ้นด้วยระบบ จัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และ อุปกรณ์สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการวางแผน จัดการ และใช้ง่านร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีสารสนเทศ มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ 1. ระบบประมวลผล ความซับซ้อนในการปฏิบัติงานและความต้องการสารสนเทศที่หลากหลาย ทาให้การ จัดการและการประมวลผลข้อมูลด้วยมือ ไม่สะดวก ช้า และอาจผิดพลาด ปัจจุบัน องค์การจึงต้องทาการจัดเก็บและการประมวลผลข้อมูลด้วยระบบอีเล็กทรอนิกส์ โดย ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สนับสนุนในการจัดการข้อมูล เพื่อให้การทางานถูกต้อง และรวดเร็วขึ้น 2. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม การสื่อสารข้อมูลเป็นเรื่องสาคัญสาหรับการจัดการและประมวลผล ตลอดจนการใช้ ข้อมูลในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศที่ดีต้องประยุกต์เทคโนโลยีอีเล็กทรอนิกส์ในการ สื่อสารข้อมูลระหว่างระบบคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์อีเล็กทรอนิกส์ และผู้ใช้ที่อยู่ห่างกัน ให้สามารถสื่อสารกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การจัดการข้อมูล ปกติบุคคลที่ให้ความสนใจกับเทคโนโลยีจะอธิบายความหมายของเทคโนโลยีสาร สนเทศโดยให้ความสาคัญกับส่วนประกอบสองประการแรก แต่ผู้ที่สนใจด้านการ จัดการข้อมูล (Data/Information Management) จะให้ความสาคัญกับส่วนประกอบที่ สาม ซึ่งมีความเป็นศิลปะ ในการจัดรูปแบบและการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถสรุปได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีทุกรูปแบบที่นามาประยุกต์ ใน การประมวลผล การจัดเก็บ การสื่อสาร และการส่งผ่านสารสนเทศด้วยระบบ อีเล็กทรอนิกส์ โดยที่ระบบทางกายภาพประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ ติดต่อสื่อสาร และระบบเครือข่าย ขณะที่ระบบนามธรรมเกี่ยวข้องกับการจัดรูปแบบ ของการปฏิสัมพันธ์ด้านสารสนทศ ทั้งภายในและภายนอกระบบ ให้สามารถดาเนิน ร่วมกันอย่างประสิทธิภาพ
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศแบ่งตามลักษณะการบริหารจัดการได้ 3ระดับดังนี้ -ระดับสูง( Top Level Management) กลุ่มของผู้ใช้ระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับ ผู้บริหารระดับสูง มีหน้าที่กาหนดและวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อนาไปสู่เป้ าหมาย โดยมีทั้งสารสนเทศภายใน และสารสนเทศภายนอก เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ โดยรวม ซึ่งระบบสารสนเทศในระดับนี้ต้องออกแบบให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน ไม่ มีความซับซ้อนหรือยุ่งยาก แสดงผลทางด้านกราฟฟิคบ้าง ต้องตอบสนองที่รวดเร็ว และทันท่วงทีด้วยเช่นกัน -ระดับกลาง( Middle Level Management) เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้งานระดับการ บริหารและจัดการองค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายมาจากผู้บริหารระดับสูง นามาสาน ต่อให้บรรลุตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ด้วยการใช้หลักบริหารและจัดการอย่างมี ประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศที่ใช้มักได้มาจากแหล่งข้อมูลภายใน ระบบสารสนเทศจึง ต้องมีการจัดอันดับทางเลือกแบบต่างๆไว้ โดยเลือกใช้ค่าทางสถิติช่วยพยากรณ์หรือ ทานายทิศทางไว้ด้วย หากระดับของการตัดสินใจนั้นมีความซับซ้อนหรือยุ่งยากมาก เกินไป -ระดับปฏิบัติการ( Operation Level Management) ผู้ใช้กลุ่มนี้จะเกี่ยวข้องกับการ ผลิตหรือการปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น การผลิตหรือประกอบสินค้า งานทั่วไปที่ ไม่จาเป็นต้องใช้การวางแผนหรือระดับการตัดสินใจมากนัก ข้อมูลหรือสารสนเทศใน ระดับนี้ จะถูกนาไปประมวลผลในระดับกลางและระดับสูงต่อไป
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ประเภทของระบบสารสนเทศ ปัจจุบันจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร กับระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยี สารสนเทศชัดเจนมากขึ้น และเนื่องจากการบริหารงานในองค์กรมีหลายระดับ กิจกรรมขององค์กรแต่ละประเภทอาจจะแตกต่างกัน ดังนั้นระบบสารสนเทศของแต่ละ องค์กรอาจแบ่งประเภทแตกต่างกันออกไป พิจารณาจาแนกระบบสารสนเทศตามการสนับสนุนระดับการทางานในองค์กร จะ แบ่งระบบสารสนเทศได้เป็น 6 ประเภท ดังนี้ (Laudon & Laudon, 2001) 1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS) เป็นระบบ ที่ทาหน้าที่ในการปฏิบัติงานประจา ทาการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้น ในแต่ละวัน โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทางานแทนการทางานด้วยมือ ทั้งนี้เพื่อที่จะทา การสรุปข้อมูลเพื่อสร้างเป็นสารสนเทศ ระบบประมวลผลรายการนี้ ส่วนใหญ่จะเป็น ระบบที่เชื่อมโยงกิจการกับลูกค้า ตัวอย่าง เช่น ระบบการจองบัตรโดยสารเครื่องบิน ระบบการฝากถอนเงินอัตโนมัติ เป็นต้น ในระบบต้องสร้างฐานข้อมูลที่จาเป็น ระบบนี้ มักจัดทาเพื่อสนองความต้องการของผู้บริหารระดับต้นเป็นส่วนใหญ่เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติงานประจาได้ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักจะอยู่ในรูปของ รายงานที่มีรายละเอียด รายงานผลเบื้องต้น 2. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS) เป็นระบบที่ สนับสนุนงานในสานักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะประสานการทางาน ของบุคลากรรวมทั้งกับบุคคลภายนอก หรือหน่วยงานอื่น ระบบนี้จะเกี่ยวข้องกับการ จัดการเอกสาร โดยการใช้ซอฟท์แวร์ด้านการพิมพ์ การติดต่อผ่านระบบไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้นผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของเอกสาร กาหนดการ สิ่งพิมพ์
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 3. ระบบงานสร้างความรู้ (Knowledge Work Systems - KWS) เป็นระบบที่ช่วย สนับสนุน บุคลากรที่ทางานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น สร้าง ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ ความรู้ใหม่เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน หน่วยงาน ต้องนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนให้การพัฒนาเกิดขึ้นได้โดยสะดวก สามารถแข่งขันได้ทั้งในด้านเวลา คุณภาพ และราคา ระบบต้องอาศัยแบบจาลองที่ สร้างขึ้น ตลอดจนการทดลองการผลิตหรือดาเนินการ ก่อนที่จะนาเข้ามาดาเนินการ จริงในธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รูปแบบ เป็น ต้น 4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems- MIS) เป็น ระบบสารสนเทศสาหรับผู้ปฏิบัติงานระดับกลาง ใช้ในการวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม ระบบจะเชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่ในระบบประมวลผลรายการเข้าด้วยกัน เพื่อประมวลและสร้างสารสนเทศที่เหมาะสมและจาเป็นต่อการบริหารงาน ตัวอย่าง เช่น ระบบบริหารงานบุคลากร ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของรายงานสรุป รายงานของสิ่งผิดปกติ
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems – DSS) เป็นระบบที่ช่วย ผู้บริหารในการตัดสินใจสาหรับปัญหา หรือที่มีโครงสร้างหรือขั้นตอนในการหา คาตอบที่แน่นอนเพียงบางส่วน ข้อมูลที่ใช้ต้องอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและ ภายนอกกิจการประกอบกัน ระบบยังต้องสามารถเสนอทางเลือกให้ผู้บริหารพิจารณา เพื่อเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดสาหรับสถานการณ์นั้น หลักการของระบบ สร้างขึ้น จากแนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการตัดสินใจ โดยให้ผู้ใช้โต้ตอบโดยตรงกับ ระบบ ทาให้สามารถวิเคราะห์ ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขและกระบวนการพิจารณาได้ โดย อาศัยประสบการณ์ และ ความสามารถของผู้บริหารเอง ผู้บริหารอาจกาหนดเงื่อนไข และทาการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขต่างๆ ไปจนกระทั่งพบสถานการณ์ที่เหมาะสมที่สุด แล้วใช้เป็นสารสนเทศที่ช่วยตัดสินใจ รูปแบบของผลลัพธ์ อาจจะอยู่ในรูปของ รายงาน เฉพาะกิจ รายงานการวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ การทานาย หรือ พยากรณ์เหตุการณ์ 6. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System - EIS) เป็นระบบที่สร้างสารสนเทศเชิงกลยุทธ์สาหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทาหน้าที่กาหนด แผนระยะยาวและเป้ าหมายของกิจการ สารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูงนี้จาเป็น
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ ก่อนการปฏิวัติทางอุตสาหกรรมประชากรโลกส่วนใหญ่จะยึดอาชีพเกษตรกรรมเป็น แกนหลัก มีเพียงบางส่วนยึดอาชีพบริการและทางานในโรงงานอุตสาหกรรม แต่เมื่อมี การปฏิวัติอุตสาหกรรมพลเมืองในชนบทเป็นจานวนมากละทิ้งถิ่นฐานเดิมจากการทา ไร่ไถนามาทางานในโรงงานอุตสาหกรรมทาให้เกิดการขยายตัวของประชากรใน ภาคอุตสาหกรรมและการลดน้อยลงในภาคเกษตรกรรม ขณะที่ผู้ทางานด้านบริการจะ ค่อยๆขยับสูงขึ้นอย่างช้าๆพร้อมๆกับการมีผู้ทางานด้านสารสนเทศที่ค่อยๆเพิ่ม สูงขึ้นตลอดอย่างต่อเนื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่งเกิดขึ้นและเริ่มเมื่อไม่นานมานี้เองเมื่อราว พ .ศ. 2500 เทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่แพร่หลายนักจะมีเพียงการใช้โทรศัพท์เพื่อการ ติดต่อสื่อสารและเริ่มมีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผลข้อมูลงานด้าน สารสนเทศอื่นๆส่วนใหญ่ยังคงเป็นงานภายในสานักงานที่ยังไม่มีอุปกรณ์และ เครื่องมือด้านเทคโนโลยีมาช่วยงานเท่าใดนัก เมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศมากขึ้น เช่น เครื่องถ่าย สาเนาเอกสาร เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้ า เครื่องโทรสาร และเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ อาชีพของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสู่งานด้านสารสนเทศมากขึ้น งานด้านสารสนเทศ มีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส เพราะเทคโนโลยีด้านนี้ได้รับการส่งเสริมสนับสนุน อย่างเต็มที่ด้วยการพัฒนาค้นคว้าวิจัยให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ออกมาตอบสนองความ ต้องการของมนุษย์อยู่ตลอดเวลา
  • 10. 10 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีสารสนเทศต่อการพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศจัดว่ามีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้ง ประเทศที่พัฒนาแล้วหรือในประเทศที่กาลังพัฒนาแม้ว่าเทคโนโลยีนี้จะยังไม่มีบทบาท โดยเด่นในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมและการค้าในกลุ่มประเทศที่กาลังพัฒนาทาง เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมแต่ก็มีความสาคัญอย่างยิ่งยวดในด้านการพัฒนาสังคม และคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการจัดให้บริการสังคมพื้นฐาน ได้แก่การศึกษาและการสาธารณสุขเป็นต้นและในการบริหารประเทศรวมถึงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนด้วย
  • 11. 11 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีสารสนเทศต่อการพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศจัดว่ามีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้ง ประเทศที่พัฒนาแล้วหรือในประเทศที่กาลังพัฒนาแม้ว่าเทคโนโลยีนี้จะยังไม่มีบทบาท โดยเด่นในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมและการค้าในกลุ่มประเทศที่กาลังพัฒนาทาง เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมแต่ก็มีความสาคัญอย่างยิ่งยวดในด้านการพัฒนาสังคม และคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการจัดให้บริการสังคมพื้นฐาน ได้แก่การศึกษาและการสาธารณสุขเป็นต้นและในการบริหารประเทศรวมถึงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนด้วย
  • 12. 12 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ด้านเศรษฐกิจ ในปัจจุบันอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศได้กลายเป็นอุตสาหกรรมผลิตที่มีขนาดใหญ่ ที่สุดในโลกมีการประมาณการว่าตลาดโลกสาหรับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์โทรคมนาคมและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆจะมีขนาด 1,600 พันล้านเหรียญ สหรัฐในปี 1994 ด้วยอัตราการเติบโตเฉลี่ยถึงร้อยละ 20 ต่อปีแม้ว่าในปัจจุบันจะมีเพียง ไม่กี่ประเทศในโลกที่ได้ผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจจากการเป็นผู้ผลิตดังกล่าวแต่ด้วย ศักยภาพของเทคโนโลยีดังที่กล่าวมานานาประเทศต่างสามารถรับผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจจากการเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งสิ้นในภาคอุตสาหกรรมผลิตทุกแขนง เทคโนโลยีสารสนเทศไม่เพียงแต่ถูกนาไปใช้โดยตรงในกระบวนการผลิตสินค้าต่างๆที่ ส่งผลให้สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูงขึ้นด้วยต้นทุนที่ต่าลงเป็นต้นว่าการ ออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-Aided Design or Drafting หรือ CAD) สามารถจะลดความผิดพลาดเพิ่มความแม่นยา (accuracy) และย่นระยะเวลาการออกแบบ ได้อย่างมหาศาลโดยเฉพาะในงานที่มีองค์ประกอบหรือชิ้นส่วนมาตรฐานหรือมีการ คานวณเชิงวิศวกรรมซ้าซากจานวนมากผลงานออกแบบที่ได้แปรเปลี่ยนจากแบบและ ข้อมูลบนแผ่นพิมพ์เขียวไปสู่ข้อมูลในรูปอิเล็กทรอนิกส์นั้นทาให้การแก้ไขหรือดัดแปลง ผลิตภัณฑ์ในภายหลังสามารถทาได้อย่างง่ายดายและรวดเร็วที่สาคัญที่สุดเป็นข้อมูลที่ สามารถจะเชื่อมโยงป้ อนสู่กระบวนการ
  • 13. 13 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านด้านสังคม ด้านสังคมช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์เช่นโครงการเทคโนโลยี สารสนเทศตามพระราชดาริชองสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯเข้าไปช่วยเหลือ ผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้เช่นโรงเรียนชนบทคนป่ วยเรื้อรังใน โรงพยาบาลผู้ต้องขังและคนตาบอดที่สามารถอ่านหนังสือได้ด้วยระบบDAISY ( Digital Accessible Information System)
  • 14. 14 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษา ทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา 5 ประเด็น คือ 1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) มีหลายรูปแบบ เช่น Drill and Practice, Linear Program , Branching Program, Simulation, Game, Multimedia, Intelligence CAI 2. การศึกษาทางไกล (Distance Learning) ซึ่งจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การใช้ วิทยุ โทรทัศน์ การสื่อสารโดยใช้ระบบแพร่ภาพผ่านดาวเทียม (Direct to Home : DTH) หรือ ระบบการแระชุมทางไกล (Video Teleconference) 3. เครือข่ายการศึกษา (Education Network) ซึ่งเป็นการนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มาใช้ ซึ่งมีบริการในหลายรูปแบบ เช่น Electronic Mail , File Transfer Protocol, Telnet , World Wide Web เป็นต้น เครื่องข่ายคอมพิวเตอร์จะสามารถให้ผู้เรียนได้เข้าถึงแหล่งข้อมูล สารสนเทศที่มีจานวนมากมายที่เชื่อมโยงในเครือข่ายทั่วโลก 4. การใช้งานในห้องสมุด (Electronic Library) เป็นการประยุกต์ใช้ในการสืบค้น ข้อมูลหนังสือ วารสาร หรือบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ผลงานการวิจัย 5. การใช้งานในห้องปฏิบัติการ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจาลอง สถานการณ์ (Simulation) การใช้ในงานประจาและงานบริหาร (Computer Manage Instruction) เป็นการประยุกต์ใช้ในสานักงานเพื่อช่วยในการบริหาร จัดการ ทาให้เกิดความ คล่องตัว รวดเร็วและแม่นยา การตัดสินใจในการดาเนินการต่างๆ ย่อมเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด
  • 15. 15 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม เทคโนโลยีของการสื่อสารและโทรคมนาคมในปัจจุบันก้าวไกลไปมากมีบริการมากมายที่ ทันสมัยและตอบรับกับการนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจตัวอย่างการใช้โทรศัพท์ ในปัจจุบันนี้ก็มิไดมีไว้เพียงสาหรับคุยสนทนาเพียงอย่างเดียวอีกต่อไปแต่มันสามารถ ช่วยงานได้มากขึ้นโดยอ้างอิงข้อมูลและการเปิดให้บริการของบริษัทมีติดต่อสื่อสาร ผ่านดาวเทียมทั้งภาพและเสียงมีโทรศัพท์มือถือรุ่นต่างๆออกมามากมายพัฒนาทั้ง หน่วยงานของภาครัฐและเอกชนเช่นเทเลคอมเอเชียคอร์ปอร์เรชั่นจากัด (มหาชน) ซึ่ง เป็นผู้วางแผนการก่อสร้างและติดตั้งขยายบริการโทรศัพท์พื้นฐาน2.6ล้านเลขหมาย ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุงเทพและปริมณฑลรวมถึงการซ่อมบารุงรักษาเป็นระยะเวลา 25ปีและเป็นหนึ่งในผู้ให้บริการในปัจจุบัน
  • 16. 16 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ด้านสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ ตั้งแต่การทาทะเบียนคนไข้ การ รักษาพยาบาลทั่วไป การวินิจฉัยโรคได้อย่ารวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ใน ห้องทดลอง การศึกษาและวิจัยทางการแพทย์งานทางการศึกษาค้นคว้า การรักษาคน ใข้ด้วยระบบการรักษาทางไกล รวมถึงการทากิจกรรมต่างๆของโรงพยาบาล ระบบสารสนเทศทางการแพทย์ 1.บัททึกข้อมูลทางการพยาบาล เช่น 1. North American Nursing Diagnosis Association : NANDAสมาคมการวินิจฉัยทางการ พยาบาลอเมริกาเหนือ 2. Nursing Intervention Classification : NIC ใช้ตัดสินว่าจะให้การบาบัดทางการพยาบาล ให้แก่ผู้ป่ วยเพื่อแก้/บรรเทาปัญหาทางสุขภาพ 3. Nursing Outcome Classification : NOC ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลที่ช่วย ประเมินว่าผู้ป่ วยได้รับการพยาบาลที่มีคุณภาพครบถ้วนและเท่าเทียมกันทุกคน 4. International Classification Nursing Practice : ICNP การใช้คามาตรฐานในการวินิจฉัย ทางการพยาบาล 2.มีความยืดหยุ่นในการใช้ระบบเพื่อดูข้อมูลและเก็บรวบรวมสารสนเทศที่จาเป็นทาให้มี การดูแลผู้ป่ วยที่มีคุณภาพ
  • 17. 17 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ การใช้เทคโนโลยีในการนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างฉลาด โดยใช้ให้น้อย เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยคานึงถึง ระยะเวลาในการใช้ให้ยาวนาน และก่อให้เกิดผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด รวมทั้งต้องมีการกระจายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างทั่วถึง อย่างไรก็ตาม ใน สภาพปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความเสื่อมโทรมมากขึ้น ดังนั้น การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงมีความหมายรวมไปถึงการพัฒนา คุณภาพสิ่งแวดล้อมด้วย การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสามารถกระทาได้หลายวิธี ทั้ง ทางตรงและทางอ้อม ดังนี้ 1. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยทางตรง ซึ่งปฏิบัติได้ในระดับ บุคคล องค์กร และระดับประเทศ ที่สาคัญ คือ 1) การใช้อย่างประหยัด คือ การใช้เท่าที่มีความจาเป็น เพื่อให้มีทรัพยากรไว้ใช้ได้นาน และเกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่ามากที่สุด 2) การนากลับมาใช้ซ้าอีก สิ่งของบางอย่างเมื่อมีการใช้แล้วครั้งหนึ่งสามารถที่จะ นามาใช้ซ้าได้อีก เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ เป็นต้น หรือสามารถที่จะนามาใช้ได้ใหม่โดย ผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น การนากระดาษที่ใช้แล้วไปผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อทา เป็นกระดาษแข็ง เป็นต้น ซึ่งเป็นการลดปริมาณการใช้ทรัพยากรและการทาลาย สิ่งแวดล้อมได้
  • 18. 18 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อ 19 มีนาคม พ.ศ. 2545 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ.2544 – 2553 ของประเทศไทยได้เสนอเป้ าหมาย ยุทธศาสตร์ และความ เชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กับการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและ การเรียนรู้เพื่อใช้และสร้างภูมิปัญญาของคนไทยที่จะทาให้ประเทศไทยมีความ แข็งแกร่งและความสามารถเพื่อใช้และสร้างภูมิปัญญาของคนไทยที่จะทาให้ประเทศไทย มีความแข็งแกร่งและความสามารถที่จะรับการท้าทายของการแข่งขันในระบบ เศรษฐกิจใหม่ของสังคมโลกาภิวัฒน์ได้อย่างเต็มที่ กรอบนโยบายมี 3 เรื่อง คือ 1. ความท้าทายในยุคโลกาภิวัฒน์ 2. สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ 3. ประเทศไทยในทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 21 นโยบายฯ นี้มีสาระโดยรวมว่า เทคโนโลยีใหม่ที่รวมคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ และการสื่อสาร (โทรคมนาคม) เรียกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (Information and Communications Technology หรือ ICT) ได้ก่อให้เกิดกิจรรม ใหม่ๆ ในทางเศรษฐกิจและสังคมอันส่งผลต่อการดารงอยู่และการพัฒนาของประเทศ ต่างๆ ในโลกที่แตกต่างจากอดีตอย่างมาก จนเป็นที่ยอมรับกันว่าในศตวรรษที่ 21 (เริ่มจาก ค.ศ. 2001 หรือ พ.ศ. 2544 เป็นต้นไป) จะเกิดเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge – based Learning Economy) และ จะมีผลทาให้ประเทศไทยซึ่งมีทรัพยากรบุคคล อันมีความรู้เป็นพื้นฐานสามารถจะ พัฒนาล้าหน้าประเทศอื่นๆ ที่ด้อยในส่วนนี้อย่างมาก